You are on page 1of 34

บทที่ 11 : กระแสไฟฟ้ าและวงจรไฟฟ้ า

SCPY 155 Basic physics for medical


and health science

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 1
scpy155_12.htm
เนื้อหา
• กระแสไฟฟ้า
• ความต้ านทานและกฎของโอห์ม
• วงจรไฟฟ้า
• วงจรไฟฟ้าที่มีตวั ต้ านทานหลายตัว
• พลังงานและกาลังในวงจรไฟฟ้า
• ไฟฟ้ากระแสสลับ
• ความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้ ไฟฟ้า

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 2
scpy155_12.htm
กระแสไฟฟ้ า
• กระแสไฟฟ้า (electric current) เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
ในตัวกลางหรื อตัวนาไฟฟ้าที่อยู่ภายใต้ อิทธิพลของสนามไฟฟ้า
– ซึง่ แตกต่างจากไฟฟ้าสถิตตรงที่ประจุไฟฟ้าไม่มีการเคลื่อนที่
– การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในตัวนาไฟฟ้าจะมีลกั ษณะที่มีการชนกันของอะตอม
และระหว่างอิเล็กตรอนเองทาให้ เกิดความต้ านทานขึ ้น ดังนันความต้
้ านทานของ
ตัวนาจะขึ ้นอยู่กบั ชนิดของวัสดุ
• กระแสไฟฟ้ามีได้ สองแบบ คือ แบบ กระแสตรง และ กระแสสลับ
• ไฟฟ้ากระแสตรงขึ ้นอยู่กบั ทิศทางของอิเล็กตรอนในตัวนา ซึง่ ถ้ าอิเล็กตรอนมี
การเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวและไม่ขึ ้นอยู่กบั เวลา
• ไฟฟ้ากระแสสลับคือกระแสไฟฟ้าที่ขึ ้นอยู่กบั เวลาที่อิเล็กตรอนเคลือ่ นที่ไปมา
ตลอดเวลา
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 3
scpy155_12.htm
• นิยามของกระแสไฟฟ้า (I) คือปริ มาณ
ของประจุที่เคลื่อนที่ผ่านพื ้นที่หน้ าตัดของ
ตัวนาในหนึง่ หน่วยเวลา อีกความหมาย
หนึง่ ก็คือ อัตราการไหลของประจุผ่านพื ้นที่
ของตัวนา
– เช่น ถ้ ามีประจุทงหมด
ั้ Q เคลื่อนที่ผ่าน
พื ้นที่หน้ าตัด A ในช่วงเวลา t ทาให้
กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนานี ้มีคา่ เป็ น

Q
I
t

หน่วยของกระแสไฟฟ้าคือหน่วยของประจุตอ่
เวลา คูลอมบ์ตอ่ วินาที หรื อ แอมแปร์ (A) ซึง่
อังเดร-แมรี่ แอมแปร์ นักฟิ สิกส์ชาวฝรั่งเศส 1 A = 1 C/s
(1777-1836)
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 4
scpy155_12.htm
• กระแสไฟฟ้าจะเกิดได้ ก็ตอ่ เมื่อมีความต่างศักย์ให้ กบั ตัวนานัน้ เพราะ
ความต่างศักย์ไฟฟ้าทาให้ เกิดสนามไฟฟ้าขึ ้นในตัวนา
– ประจุบวกจะเคลือ่ นที่ไปตามทิศทางของกระแสไฟฟ้ า
– ประจุลบจะเคลือ่ นที่สวนทางกับทิศทางของกระแสไฟฟ้ า

กระแสไฟฟ้าและความต่ างศักย์ ท่ ใี ช้ ในเครื่องใช้ ไฟฟ้า


ชนิดต่ างๆ
อุปกรณ์ กระแสไฟฟ้ า (A) ความต่างศักย์ (V)
เครื่ องคิดเลข 0.0003 3
เครื่ องกระตุ้นหัวใจ 10-20 10,000
เครื่ องปิ ง้ ขนมปั ง 10 120
ไฟฉาย 0.1 3
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 5
scpy155_12.htm
สภาพการนาไฟฟ้ าของสสาร
• ความสามารถในการเคลื่อนที่ของ
อิเล็กตรอนในการนาไฟฟ้าจะบอกถึง
ลักษณะของตัวกลาง
– ตัวนาไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ าจะเคลือ่ นผ่าน
ได้ ดี เช่น โลหะ
– ฉนวนไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้าจะไม่สามารถ
ไหลผ่านได้
– ข้ อแตกต่างระหว่าง ตัวนาและ
ฉนวนไฟฟ้ าคือจานวนอิเล็กตรอนอิสระที่
ไม่ได้ อยูภ่ ายใต้ อิทธิพลของศักย์ไฟฟ้ า
09/09/56 ของนิวเคลียส
http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/
scpy155_12.htm
6
• ตัวอย่างที่ 1 จงหาจานวนอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ผา่ นเครื่ องคิดเลขที่ใช้
กระแสไฟฟ้า 0.2 mA เมื่อเราใช้ เครื่ องคิดเลขนี ้เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง
(กาหนดให้ อิเล็กตรอนมีประจุเป็ น 1.6x10^-19 C)

– วิธีคิด ให้ หาจาก I=Q/t และจานวนอิเล็กตรอนหาได้ จาก N=Q/e


คาตอบคือ N=4.5x10^18 ตัว

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 7
scpy155_12.htm
ความต้านทานและกฏของโอห์ม

• ความต้ านทานไฟฟ้าเป็ นคุณสมบัติเฉพาะของตัวกลางหนึง่ ๆซึง่ บ่งบอกถึง


ประสิทธิภาพในการนาไฟฟ้า
• ความต้ านทานไฟฟ้าเกิดขึ ้นจากการที่อิเล็กตรอนอิสระมีการเคลื่อนที่ไม่เป็ น
ระเบียบ ซึง่ ถ้ าตัวกลางมีความต้ านทานมากหมายความว่าอิเล็กตรอน
เคลื่อนที่ไปข้ างหน้ าได้ ลาบากมาก จึงทาให้ มีกระแสผ่านไปได้ น้อย
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/
scpy155_12.htm
8
• ทังนี
้ ้ความต้ านทานไฟฟ้า ใช้ สญ
ั ลักษณ์ R หาได้ จากความสัมพันธ์
ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์ที่ตกคร่อม (V) บนตัวกลาง
นันๆ
้ ดังนี ้
V
I
R

• ตัวต้ านทานมีหน่วยเป็ นโอห์ม () หรื อ โวลต์ตอ่ แอมแปร์ และสมการ


ที่ได้ กล่าวไว้ ข้างต้ นเรี ยกว่ากฎของโอห์ม เพื่อเป็ นเกียรติให้ แก่ จอร์ จ ไซ
มอนด์ โอห์ม
• อย่างไรก็ตามในแต่ละตัวกลางจะมีความต้ านทานแตกต่างกันไปขึ ้นอยู่
กับลักษณะเรขาคณิต และอุณหภูมิของสิ่งแวดล้ อมด้ วย
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 9
scpy155_12.htm
• เราสามารถหาความต้ านทานของตัวกลางตามรูปทรงเรขาคณิตได้ จาก
ความสัมพันธ์ระหว่างความยาว (L) และ พื ้นที่หน้ าตัด (A) ดังนี ้
L
R
A

• ยังคงมีหน่วยเป็ นโอห์ม โดยที่ โรห์ เป็ นค่าคงที่ซงึ่ ขึ ้นอยูก่ บั เนื ้อของ


วัสดุ เรี ยกว่า สภาพความต้ านทานไฟฟ้า (resistivity) ซึง่ มีหน่วย
เป็ น   m

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 10
scpy155_12.htm
สภาพความต้ านทานไฟฟ้าของตัวกลางต่ างๆ
เงิน 1.59x10^-8
ทอง 2.44x10^-8
อลูมิเนียม 2.82x10^-8
ทองแดง 1.7x10^-8
คาร์ บอน 3.5x10^-5
แก้ ว 10^10 – 10^14
ยาง 10^13

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 11
scpy155_12.htm
• ตัวอย่างที่ 2 เส้ นลวดทองแดงเส้ นหนึง่ ยาว 0.5 เมตรมีเส้ นผ่าน
ศูนย์กลาง 1 มิลลิเมตร จะมีความต้ านทานเท่าไร

– วิธีคิด เราสามารถหาความต้ านทานของเส้ นลวดทองแดงได้ จาก

L
R
A

– โดยใช้ คา่   1.7 10 8   m โดยที่ A  r 2 เป็ น


พื ้นที่หน้ าตัดของเส้ นลวดที่มีรัศมีเป็ น r

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 12
scpy155_12.htm
• ตัวอย่างที่ 3 มีตวั นาไฟฟ้าที่เหมือนกันสองชิ ้น แต่ไม่ทราบชนิดของวัสดุ
ที่นามาทาเป็ นตัวนา โดยขนาดและความยาวของตัวนาทังสองไม่ ้
เท่ากัน ซึง่ ตัวแรกมีความยาว 50 cm รัศมี 2 cm และมีความ
ต้ านทานเท่ากับ 500 โอห์ม ตัวนาชิ ้นที่สองมีความยาวเป็ นสองเท่าแต่
มีรัศมีเท่ากับ ¼ ของตัวนาชิ ้นแรก จงหาความต้ านทานของตัวนาชิ ้นที่
สองนี ้

– คาตอบคือ 16 กิโลโอห์ม ซึง่ หาได้ จากความสัมพันธ์ระหว่าง

L
R
A
แล้ วทาอัตราส่วนเพราะเป็ นวัสดุเดียวกันจึงทาให้ มีคา่ เท่ากัน
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 13
scpy155_12.htm
วงจรไฟฟ้ า
แหล่งจ่ายไฟกระแสตรง
• วงจรไฟฟ้าประกอบด้ วยแหล่งจ่ายไฟ
เช่น แบตเตอรี่ รถยนต์ ถ่านไฟฉาย
และปลัก๊ ไฟตามบ้ านเรื อน โดยในสอง
กรณีแรกจะให้ ความต่างศักย์ตอ่ เนื่อง
คงที่ซงึ่ เป็ นไฟฟ้ากระแสตรง
(direct current, DC)ที่มี
ขัวไฟฟ
้ ้ าบวกลบ
• ในกรณีของปลัก๊ ไฟจะให้ ความต่าง
ศักย์แบบ ไฟฟ้ากระแสสลับ
(alternating current, AC)
09/09/56
ที่มีการสลับขัวไปมาตามเวลา

http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 14
scpy155_12.htm
สัญลักษณ์ในแผนภาพวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 15
scpy155_12.htm
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย

เมื่อมีแหล่งจ่ายไฟ (อาจเป็ นแบตเตอรี่ ) ให้ ความต่างศักย์ตกคร่อมตัวต้ านทาน R


จะทาให้ เกิดกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรโดยมีทิศทางออกจากขัวบวกเข้ ้ าสูข่ วลบ
ั้
กระแสที่เกิดขึ ้นคานวณได้ จาก V=IR
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 16
scpy155_12.htm
• ตัวอย่างที่ 4 คานวณหากระแสที่ไหลในกระบอกไฟฉาย ถ้ ากาหนดให้
หลอดไฟฉายมีความต้ านทาน 15 โอห์ม และใช้ แบตเตอรี่ ที่มีความต่าง
ศักย์ 3 V

– วิธีคิด กระแสไฟฟ้ าคานวณได้ จากกฎของโอห์ม V=IR คาตอบคือ 0.2 A

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 17
scpy155_12.htm
• ตัวอย่างที่ 5 จงหาความต้ านทานในเครื่ องคิดเลขที่ใช้ แบตเตอรี่ 3 V
และมีกระแสในวงจรรวม เท่ากับ 0.3 mA

– คาตอบคือ R=10 k

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 18
scpy155_12.htm
วงจรไฟฟ้ าที่มีตวั ต้านทานหลายตัว

• ในทางปฏิบตั วิ งจรไฟฟ้าส่วน
ใหญ่ประกอบด้ วยตัวต้ านทาน
หลายๆตัวต่อกัน อย่างเช่น
แผงวงจรไฟฟ้าภายในโทรศัพท์
หรื อเครื่ องใช้ ไฟฟ้าต่างๆ

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 19
scpy155_12.htm
ต่อตัวต้ านทานแบบอนุกรมกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวต้ านทานมีคา่ คงที่

• การหาความต้ านทานรวมในแผงวงจร
ไฟฟ้าที่มีการต่อตัวต้ านทานแบบอนุกรม
• ความต้ านทานรวมหรือเรียกว่าความต้ านทาน
สมมูล (equivalent resistance) มี
ค่าเท่ากับ Req = R1+R2

• เนื่องจากกระแสที่ไหลผ่านตัวต้ านทาน R1 และ


R2 มีคา่ คงที่ ดังนันความต่
้ างศักย์ที่ตกคร่อม
V หาได้ จาก Vab+Vbc =IR1+IR2

โดยที่ V = IReq
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 20
scpy155_12.htm
ต่อตัวต้ านทานแบบขนานศักย์ไฟฟ้ าที่ตกคร่อมบนตัวต้ านทานมีคา่ คงที่

• การหาความต้ านทานรวมในแผงวงจร
ไฟฟ้าที่มีการต่อตัวต้ านทานแบบขนาน
• ความต้ านทานรวมในกรณีนี ้จะมีคา่ เท่ากับ
1/Req = 1/R1+1/R2

• เนื่องจากกระแสที่ไหลผ่านตัวต้ านทาน R1 และ R2 มีคา่ ไม่เท่ากัน แต่ความ


ต่างศักย์ที่ตกคร่อม V บนตัวต้ านทานมีคา่ เท่ากัน โดยที่ Itotal =I1+I2=
09/09/56 V /R1+V /R 2=Vscpy155_12.htm
/Req
http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 21
กฎของเคอร์ ชอฟฟ์ (Kirchoff’s rules)
• การไหลของกระแสไฟฟ้าภายในวงจรไฟฟ้าสามารถเปรี ยบได้ กบั การ
ไหลของน ้า ซึง่ ปริมาณน ้าที่ไหลเข้ ามาที่จดุ ๆหนึง่ ต้ องมีคา่ เท่ากับ
ปริมาณน ้าที่ไหลออก เช่นเดียวกับผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ าสู่
จุดๆหนึง่ จะมีคา่ เท่ากับผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากจุดๆนัน้

จากรูhttp://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/
ป ก จะได้ วา่ I1= I2+I3
09/09/56 22
scpy155_12.htm
• ตัวอย่างที่ 6 พิจารณาวงจรไฟฟ้าตามรูป โดยให้ แบตเตอรี่ มีความต่าง
ศักย์ 6 V และความต้ านทาน R1, R2, และ R3 มีคา่ เท่ากับ 8, 8,
และ 4 โอห์มตามลาดับ

ให้ คานวณหา ความต้ านทานรวม, กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านวงจร, ความต่างศักย์


ตกคร่อมความต้ านทานแต่ละตัว, และกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านความต้ านทานแต่
ละตัว
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 23
scpy155_12.htm
การหาความต้านทานรวมที่ถกู ต่อแบบผสม
• ต้ องพิจารณาการรวมความต้ านทานแบบขนานและอนุกรมทีละขันดั
้ งนี ้
2 1

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 24
scpy155_12.htm
ตัวอย่างที่ 7 ตามรูปจงหา I, I1, และ I2

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 25
scpy155_12.htm
• ตัวอย่างที่ 8 ตามรูปจงหาความต้ านทาน
รวมของวงจร ถ้ า R = 5 โอห์ม

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 26
scpy155_12.htm
พลังงานและกาลังในวงจรไฟฟ้ า
• จากรูปกระแสไฟฟ้าเกิดจากไหลของ
ประจุอนั เนื่องมาจากความต่างศักย์ที่
ตกคร่อมยังตัวต้ านทาน R จาก a 
b จึงเกิดการสูญเสียพลังงานให้ กบั ตัว
ต้ านทาน เนื่องจากมีจานวนประจุ Q
เคลื่อนที่ในตัวต้ านทาน
• พลังงานที่เกิดขึ ้นมีคา่ เป็ น
U  QV
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 27
scpy155_12.htm
• ถ้ าการพิจารณาการเคลื่อนที่ของประจุในช่วงหนึง่ หน่วยเวลา t
พลังงานที่เกิดขึ ้นจะเปลี่ยนเป็ นกาลัง (P) มีหน่วยเป็ นวัตต์ (W) ดังนี ้

 U 
P 
 t 
U QV Q
– แต่เนื่องจาก t  t และ I
t จึงทาให้
กาลังไฟฟ้ าเปลีย่ นไปเป็ น
 U 
P   IV  I R
2

 t 
หรื อเขียนได้ เป็ น P V 2 / R
09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 28
scpy155_12.htm
• ตัวอย่างที่เห็นได้ ชดั คือการระบุกาลังในโหลดไฟที่ใช้ กนั ในบ้ านเรื อน
โดยทัว่ ไป เช่นจะระบุกาลังของหลอดไฟว่าเป็ น 40 W, 60W หรื อ
100 W และใช้ กบั ไฟฟ้ากระแสสลับที่มีคา่ 220 V
– จากข้ อมูลดังกล่าวทาให้ เราหาค่าของกระแสได้ เป็ น 0.18 A สาหรับ
หลอดไฟกาลัง 40 W และเรายังสามารถหาความต้ านทานของหลอดไฟได้
อีกด้ วย คือ R= 40 W/(0.18 A)^2 = ??

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 29
scpy155_12.htm
• ตัวอย่างที่ 8 ให้ หากาลังของเครื่ องใช้ ไฟฟ้าชนิดหนึง่ โดยใช้ แบตเตอรี่
ขนาด 9 V เป็ นแหล่งจ่ายไฟ และ มีกระแสไหลผ่านเครื่ องใช้ ไฟฟ้า
ดังกล่าว เป็ น 0.5mA

คาตอบ P = 4.5 mW

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 30
scpy155_12.htm
ไฟฟ้ ากระแสสลับ
• คือไฟฟ้าที่มีการสลับขัวของความต่
้ างศักย์ไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลาด้ วย
ความถี่คา่ หนึง่ เช่น 50 Hz
• ผลของการที่มีการสลับขัวความต่
้ างศักย์ (Vac) ตลอดเวลาทาให้
กระแสไฟฟ้า (Iac) สลับทิศไปมาตลอดเวลาด้ วยเช่นกัน
• ค่าเฉลี่ยของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้ามีคา่ เป็ นศูนย์

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 31
scpy155_12.htm
วงจรไฟฟ้ ากระแสสลับ
• การใช้ ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC)
คล้ ายกับการใช้ ไฟฟ้ากระแสตรง
(DC) ที่ต้องต่อเข้ ากับโหลด หรื อ
อุปกรณ์เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ถกู
พิจารณาให้ เหมือนกับตัวต้ านทาน
• ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับที่
ทาให้ เกิดกาลังไฟฟ้าที่มีคา่ เท่ากับที่
ทาให้ เกิดจากไฟฟ้ากระแสตรง
เรี ยกว่า ความต่างศักย์ยงั ผล Veff
09/09/56
scpy155_12.htm
(effective voltage)
http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 32
• เมื่อมีความต่างศักย์ไฟฟ้าต่อกับตัวต้ านทานทาให้ เกิดกระแสไฟฟ้าที่เรี ยกว่า
กระแสไฟฟ้ายังผล (effective current) ซึง่ เป็ นไปตามกฎของโอห์ม
เช่นเดียวกับไฟฟ้ากระแสตรงดังนี ้ P  I eff Veff

• โดยที่คา่ ความต่างศักย์ยงั ผล
และกระแสไฟฟ้ายังผลมีคา่ น้ อย
กว่าค่าสูงสุดดังนี ้ V  V0
eff
2
และ
I0
I eff 
09/09/56
2 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 33
scpy155_12.htm
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้ า
• ในหัวข้ อนี ้ ให้ นกั ศึกษาไปอ่านเองครับ

09/09/56 http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/courses/ 34
scpy155_12.htm

You might also like