You are on page 1of 14

1

บทที่ 2
กฎของโอห์ มและวงจรไฟฟ้าเบือ้ งต้ น
ก่อนที่จะศึกษาในเรื่ องของวงจรไฟฟ้ าจาเป็ นต้องมีความรู ้ในกฎของโอห์ม เพื่อที่นาไปใช้ในการ
คานวณค่าต่างๆในเบื้องต้นของวงจรไฟฟ้ า

1. กฎของโอห์ม

พื้นฐานของวงจรไฟฟ้ าจะใช้กฎของโอห์ม โดยมีส่วนที่ตอ้ งศึกษา 3 ประการคือ

 กระแสไฟฟ้ า
 แรงเคลื่อนไฟฟ้ า
 ความต้านทาน

กระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้ า คือ ประจุไฟฟ้ าที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดของตัวนาต่อหน่วยเวลา โดยสมการเป็ น
ดังนี้
𝑞
𝐼=
𝑡

เมื่อ I = กระแสไฟฟ้ า หน่วยเป็ น แอมแปร์ (A)


q = ประจุไฟฟ้ า หน่วยเป็ น คูลอมบ์ (C)
t = เวลา หน่วยเป็ น วินาที (S)
ดังนั้นนิยามของกระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร์ คือ ประจุไฟฟ้ าขนาด 1 คูลอมบ์ ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดของ
ตัวนาไฟฟ้ า 1 จุดซึ่งใช้เวลา 1 วินาที

แรงดันไฟฟ้ า
แรงดันไฟฟ้ าหรื อแรงเคลื่อนไฟฟ้ าซึ่ งบางครั้งจะเรี ยกทับศัพท์วา่ “โวลต์เตจ” (Voltage) ในการ
เคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้ าจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้น้ นั เพราะมีค่าความแตกต่างของระดับศักย์ไฟฟ้ า

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
2

ของทั้ง 2 จุดนั้น หากไม่มีความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้ าจะไม่มีการไหลของกระแสไฟฟ้ าเช่นเดียวกับการ


ไหลของน้ าใน 2 ถังที่ต่อท่อถึงกันดังรู ป

รู ปที่ 2.1 ความสูงของน้ าต่างกัน(พลังงานศักย์จึงมีค่าต่างกัน) ทาให้มีการไหลของน้ าจากถังที่สูงไปยังถังที่ต่ากว่า

รู ปที่ 2.2 ความสูงของน้ าเท่ากัน(พลังงานศักย์จึงเท่ากัน) ทาให้ไม่มีการไหลของน้ า

นิยามของแรงดันไฟฟ้ า 1 โวลต์ คือค่าความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้ าระหว่างประจุ 1 คูลอมบ์ทาให้เกิด


พลังงาน 1 จูล

ความต้ านทาน
ความต้านทานคือสิ่ งที่ทาการต้านการไหลของกระแสไฟฟ้ าในวงจร หน่วยของการวัดความ
ต้านทานคือ “โอห์ม” โดยใช้สัญลักษณ์เป็ นภาษากรี กคือ  แทน นิยามของความต้านทาน 1 โอห์มคือ ค่า
ความต้านทานของวัสดุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน 1 แอมแปร์ แล้วทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 1
โวลต์

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
3

กฎของโอห์ ม
เป็ นความสัมพันธ์กนั ระหว่างทั้ง 3 ปริ มาณซึ่งเขียนเป็ นรู ปได้ดงั รู ปที่ 2.3

รู ปที่ 2.3 แสดงความสัมพันธ์ท้ งั 3 ปริ มาณ E


I R
ดังรู ปสามารถเขียนสมการได้ 3 สมการดังนี้

1. สมการหาค่าแรงดัน E
=

2. สมการหาค่ากระแส I
=
3. สมการหาค่าความต้านทาน R
=

2. วงจรไฟฟ้ าเบื้องต้น

วงจรไฟฟ้ าประกอบด้วยแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้ ากับตัวใช้พลังงาน ซึ่ งในการศึกษาเรื่ องวงจร


ไฟฟ้ ากระแสตรงตัวใช้พลังงานจะใช้ตวั ต้านทานดังรู ป 2.4

V1=12V R1=2

รู ปที่ 2.4 แสดงวงจรไฟฟ้ าเบื้องต้น

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
4

จากวงจรเป็ นวงจรปิ ด (วงจรที่มีการเชื่อมต่อครบลูป) ทาให้มีกระแสไหลในวงจร โดยค่าของ


กระแสสามารถใช้กฎของโอห์มหาค่าได้ดงั นี้

จากรู ป 2.4 แรงดันตกคร่ อมตัวต้านทานคือ V1 = 12V และ ค่าความต้านทานคือ R1=2


I =
= =6A

วงจรไฟฟ้ าที่ต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม

วงจรที่ต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมแรงดันที่ตกคร่ อมตัวต้านทานในแต่ละตัวเมื่อนามารวมกันจะมีค่า
เท่ากับแรงดันของแหล่งจ่าย

R1=2 R2=4 R3=6

I V1=12V

รู ปที่ 2.5 แสดงวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม

ในวงจรอนุกรมกระแสไฟฟ้ าจะมีค่าเท่ากันตลอดวงจร การหาค่ากระแสของวงจรจาเป็ นต้องหาค่าความ


ต้านทานรวมของวงจรก่อนซึ่ งจากวงจรเป็ นวงจรอนุกรมค่าความต้านทานหาได้จากสู ตร

RT = R1+R2+R3
=2 +4 +6 =12
IT =
= =1

V R1 = IT×R1
= 1A×2 = 2V
V R2 = IT×R2
= 1A×4 = 4V

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
5

V R3 = IT×R3
= 1A×6 = 6V
แรงดันตกคร่ อมตัวต้านทานที่ต่ออนุกรมรวมกันจะมีค่าเท่ากับค่าแรงดันของแหล่งจ่าย

V1 = VR1+VR2+VR3
12V = 2V+4V+6V
12V = 12V

วงจรแบ่ งแรงดัน (Voltage Divider Circuit) เป็ นวงจรที่จดั รู ปแบบเป็ นแบบวงจรอนุกรมเพื่อให้ได้


แรงดันตกคร่ อมตามต้องการ
I

R1=2

Vs=12V
R2=4

รู ปที่ 2.6 แสดงวงจรแบ่งแรงดันจากตัวต้านทาน 2 ตัวที่ต่ออนุกรม

RT = R1+R2
IT =

V R1 = IT ×R1
= ×R1

= ×R1

เขียนใหม่เพื่อง่ายต่อการจา V R1 = ×Vs

ดังนั้น V R2 = ×Vs

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
6

ตัวอย่างที่ 2.1 ในกรณี ที่เป็ นวงจรอนุกรมที่ไม่ใช่การอนุกรมของตัวต้านทาน 2 ตัว ให้จดั การให้เหลือ


เพียง 2 ตัวที่อนุกรมดังรู ป 2.7
I I

R1=2 R1=2

RA

Vs=12V Vs=12V
R2=4 R2=4 R3=6
R3=6

รู ปที่ 2.7 แสดงวงจรแบ่งแรงดันที่ไม่ใช่การต่ออนุกรมของตัวต้านทาน 2 ตัว

จากรู ปตัวต้านทาน R2 และ R3 ต่อขนานกัน ในขั้นตอนการคานวณต้องคิดเป็ นตัวต้านทานตัวเดียวที่ต่อ


อนุกรมกับ R1 ในที่น้ ีคิดเป็ นตัวต้านทาน RA ดังรู ปที่ 2.7 ค่าแรงดันตกคร่ อม R1 จึงมีค่าเป็ นดังสมการ

V R1 = ×Vs

และ V R2 = VRA

= ×Vs

โดยที่ RA = R2//R3

= 4 //6 = 2.4

ดังนั้น V R1 = ×12V
= 5.455 V

V R2 = ×12V

= 6.545 V

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
7

ตัวอย่างที่ 2.2 วงจรแบ่งแรงดันอีกรู ปแบบหนึ่งดังรู ป 2.8

R1=2 R2=4 R3=6

I V1=12V

RA
R1=2 R2=4 R3=6

I V1=12V

รู ปที่ 2.8 แสดงวงจรแบ่งแรงดันที่ไม่ใช่การต่ออนุกรมของตัวต้านทาน 2 ตัว

จากรู ปจะได้

V R1 = ×Vs

โดยที่ RA = R2+R3

= 4+6 = 10

ดังนั้น V R1 = ×12V

=2V

V RA = ×12V

= 10 V

V R2 = ×10V =4V

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
8

วงจรแบ่ งกระแส (Current Divider Circuit) เป็ นวงจรที่จดั รู ปแบบเป็ นแบบวงจรขนานเพื่อเป็ นการ
แบ่งการไหลของกระแสไฟฟ้ า
Is

I1 I2

R1=2 R2=4

Is=5A

รู ปที่ 2.9 แสดงวงจรแบ่งกระแสจากตัวต้านทาน 2 ตัว

จากกฎของโอห์ม กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R1 (I1) หาได้จากสมการ

I1 =

โดยที่ V R1 = VRT

V RT =Is×RT

RT =R1//R2

ดังนั้น VR1 = Is×

I1 = ×Is×

= Is×

จัดรู ปแบบให้ง่ายต่อการจา I1 = ×Is

และ I2 = ×Is

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
9

แทนค่าจะได้
I1 =

=3.333 A

I1 =

=1.667 A

ตัวอย่างที่ 2.3 วงจรแบ่งกระแสที่มีตวั ต้านทานมากกว่า 2 ตัว


Is Is

I1 I2 I1 I2

R2=4 R2=4

R1=2 R1=2 RA
Is=5A R3=6 Is=5A R3=6

รู ปที่ 2.10 แสดงวงจรแบ่งกระแสจากตัวต้านทานมากกว่า 2 ตัว

จากวงจรเมื่อรวมตัวต้านทาน R2 และ R3 (มองเป็ นตัวต้านทาน 1 ตัว) จะพบว่าเป็ นวงจรแบ่งกระแส


ระหว่างตัวต้านทาน R1 กับ RA ดังนั้นค่าของกระแส I1 จึงได้เป็ น

I1 = ×Is

โดยที่ RA = R2+R3

= 4 +6
     

ดังนั้น I1 =
= 4.167A

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
10

และ I2 =

= 0.8333A

ตัวอย่างที่ 2.4 วงจรแบ่งกระแสที่มีตวั ต้านทานมากกว่า 2 ตัว

Is

I1

R1=2 R2=4 R3=6

Is=5A

Is

I1
RA
R1=2 R2=4 R3=6

Is=5A

รู ปที่ 2.11 แสดงวงจรแบ่งกระแสจากตัวต้านทานมากกว่า 2 ตัว

I1 = ×Is

โดยที่ RA = R2//R3

= 4 //6
     

ดังนั้น I1 =

= 2.727A

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
11

ปัญหาโจทย์เพิ่มเติม

1. จากรู ปที่ 2.12 จงหาค่าแรงดันตกคร่ อมตัวต้านทาน R2


R1=3 R2=5

Vs=24V

รู ปที่ 2.12
2. จากรู ปที่ 2.13 จงหาค่าแรงดันตกคร่ อมตัวต้านทาน R2
R1=5

R2=3 R3=5

Vs=24V

รู ปที่ 2.13
3. จากรู ปที่ 2.14 จงหาค่าแรงดันตกคร่ อมตัวต้านทาน R2

R1=5 R2=4 R3=7

Vs=8V

รู ปที่ 2.14

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
12

4. จากรู ปที่ 2.15 จงหาค่าแรงดันตกคร่ อมตัวต้านทาน R2


R2=30
R1=5

R3=15

Vs=15V

รู ปที่ 2.15
5. จากรู ปที่ 2.16 จงหาค่าแรงดันตกคร่ อมตัวต้านทาน R2
R1=10 R2=36

R3=15 R4=12

Vs=30V

รู ปที่ 2.16

6. จากรู ปที่ 2.17 จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R2


R1=6

R2=5 R3=20

Is=10A

รู ปที่ 2.17

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
13

7. จากรู ปที่ 2.18 จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R2

R1=16

R3=20
Is=12A
R2=14

รู ปที่ 2.18
8. จากรู ปที่ 2.19 จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R2

R1=9 R4=18

Is=15A
R3=12 R2=24

รู ปที่ 2.19
9. จากรู ปที่ 2.20 จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R2

R1=9 R2=18

Is=10A
R3=12 R4=24

รู ปที่ 2.20

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com
14

10. จากรู ปที่ 2.21 จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R2

R2=8

R1=20 R4=20
Is=12A
R3=7

รู ปที่ 2.21
11. จากรู ปที่ 2.22 จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R2

R2=13

R2=18

R1=17 R4=24
Is=30A
R3=22

รู ปที่ 2.22
12. จากรู ปที่ 2.23 จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R2

R2=18 R4=28

R1=21 R6=40
R3=10 R5=32
Is=30A

รู ปที่ 2.23

สงวนลิขสิ ทธิ์ โดย ครู ประภาส สุวรรณเพชร


www.praphas.com

You might also like