You are on page 1of 43

บทที่ 1

หลักการไฟฟ้ าเบื้องต้น (PRINCIPLE OF BASIC


ELECTRICAL)
1.1 ทฤษฎีอะตอม

สสาร (Matter) ประกอบขึ้นจากอนุภาคที่เล็กลงไปที่


เรียกว่าโมเลกุล (Molecule) โมเลกุลประกอบด้วย
(Atom) หลายๆอะตอม อะตอมจะประกอบด้วยอนุภาค
เล็ก ๆ คือ อิเล็กตรอน (Electron) โปรตรอน (Proton)
และนิวตรอน (Neutron) โปรตรอน และนิวตรอน จะ
อยู่ตรงกลางของอะตอมซึ่งเรียกว่านิวเคลียส (Neucleus)
อิเล็กตรอนจะวิ่งรอบๆ นิวเคลียสเป็นวงจรดังรูปที่ 1.1

2
3
อิเล็กตรอนมีขนาดโตกว่าโปรตรอน คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางโตเป็น 3 เท่าของขนาด
โปรตรอน และมีมวลประมาณ 9.1091 x 10-31 กิโลกรัม (เบากว่าโปรตรอน 1840 เท่า)
อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้ าลบ (-) จึงมีเส้นแรงไฟฟ้ าพุ่งตรงเข้าสู่ตัวมันในทุกทิศทาง

4
โปรตรอนเป็นอนุภาคขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.07 ในล้านล้านส่วนของนิ้ว
และมีมวลประมาณ 1.677252 x 10-27 กิโลกรัม (หนักว่าอิเล็กตรอนประมาณ 1840 เท่า)
โปรตรอนมีประจุไฟฟ้ าบวก (+) จึงมีเส้นแรงของสนามไฟฟ้ าของประจุจะพุ่งออกจาก
โปรตอนทุกทิศทาง

5
นิวตรอนเป็นอนุภาคพื้นฐานอีกชนิดหนึ่ง อนุภาคนี้ไม่มีประจุไฟฟ้ าและมีมวลประมาณ 1.67482 x 10-27
กิโลกรัม นิวเคลียสเป็นศูนย์กลางของอะตอมประกอบด้วยนิวตรอนและโปรตรอน จำนวนโปรตรอน
ในนิวเคลียสจะแสดงให้ทราบถึงอะตอมของแต่ละธาตุแตกต่างกันไป จำนวนโปรตรอนที่มีอยู่ใน
นิวเคลียสของอะตอมเรียกว่าเลขเชิงอะตอม (Atom Number) ซึ่งเลขเชิงอะตอมนี้ใช้บอกชนิดของธาตุ

6
สภาวะปกติของอะตอมจะมีจำนวน
อิเล็กตรอนและโปรตรอนเท่ากัน
อะตอมจึงมีประจุไฟฟ้าบวกและลบ
เท่ากัน ประจุทั้งสองจึงทำลายอำนาจ
กันหมดพอดี อะตอมจึงมีสถานะ
เป็ นกลางทางไฟฟ้ า

อะตอมที่มีอิเล็กตรอนน้อยกว่าโปร
ตรอน อะตอมก็จะมีประจุไฟฟ้าบวก
และถ้าอะตอมมีอิเล็กตรอนมากกว่า
โปรตรอนอะตอมก็จะมีประจุไฟฟ้าลบ
อะตอมที่มีประจุไฟฟ้าบวกหรือลบ
7
อิเล็กตรอนจะหลุดพ้นจากอะตอมหรือเกิดไฟฟ้ าขึ้นได้โดย 6 วิธี
1) ถูกันระหว่างวัตถุต่างชนิดกัน 2 ชนิด
2) ปฏิกิริยาทางเคมี
3) อำนาจแม่เหล็ก
4) ความร้อน
5) ความกดดัน
6) หลักการของแสงอาทิตย์

8
1.2 หน่วยวัดทางไฟฟ้ า
1.2.1 แรงเคลื่อนไฟฟ้ า (Voltage, E)

แรงเคลื่อนไฟฟ้ า คือ แรงดันไฟฟ้ าที่เกิดจากการสะสมตัวของประจุไฟฟ้ าระหว่างจุด


สองจุด ทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากประจุลบไปประจุบวก ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้ า
ไหลในวงจร แรงเคลื่อนไฟฟ้ ามีหน่วยเป็นโวลท์ (Volt) ใช้สัญลักษณ์ V
1 กิโลโวลท์ (kV) = 1,000 โวลท์ (V)
1 โวลท์ (V) = 1,000 มิลลิโวลท์ (mV)
1 มิลลิโวลท์ (mV) = 1,000 ไมโครโวลท์ (V)

9
10
1.2.2 กระแสไฟฟ้ า (Current , I)

กระแสไฟฟ้ า คือ อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่จากอะตอมหนึ่งไปสู่อีกอะตอมหนึ่ง เป็นการ


เคลื่อนที่แบบต่อเนื่องขณะนำเอาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้ าต่างกันวางไว้ใกล้กัน อิเล็กตรอน
จะเคลื่อนที่จากวัตถุที่มีประจุไฟฟ้ าลบไปยังวัตถุที่มีประจุไฟฟ้ าบวก กระแสไฟฟ้ ามี
หน่วยเป็นแอมแปร์ (Ampere) ใช้สัญลักษณ์ A
1 กิโลแอมแปร์(kA) = 1,000 แอมแปร์ (A)
1 แอมแปร์ (A) = 1,000 มิลลิแอมแปร์ (mA)
1 มิลลิแอมแปร์ (mA) = 1,000 ไมโครแอมแปร์ (A)

11
กระแสไฟฟ้ ามี 2 ชนิด
ก. ไฟฟ้ ากระแสตรง (Direct Current) คือ ไฟฟ้ าที่มีทิศทางการไหลของอิเล็กตรอนไปใน
ทิศทางเดียวตลอดดังรูปที่ 1.6 ได้แก่ เซลล์ไฟฟ้ า , แบตเตอรี่ เป็นต้น

I
แรงเคลื่อน

Battery

เวลา

12

13
ข. ไฟฟ้ ากระแสสลับ (Alternating Current) คือ ไฟฟ้ าที่มีทิศทางการไหลของกระแส
อิเล็กตรอนไปในทิศทางในค่าบวกและค่าลบตลอดเวลา ดังรูปที่ 1.7 ได้แก่ไฟฟ้ าที่ใช้ในบ้าน
พักอาศัย, เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับ เป็นต้น
i แรงเคลื่อน

AC
เวลา

14
15
1.2.3 ความต้านทานไฟฟ้ า (Resistance, R)

ความต้านทานไฟฟ้ า คือ วัตถุที่ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้ า ซึ่งจะต้านการไหลของ


กระแสไฟฟ้ ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของวัตถุนั้น ๆ ถ้าวัตถุมีความต้านทาน
มากกระแสไฟฟ้ าจะไหลผ่านได้น้อย ถ้าวัตถุมีความต้านทานน้อยกระแสไฟฟ้ าจะไหล
ผ่านได้มาก ความต้านทานไฟฟ้ ามีหน่วยเป็นโอห์มใช้สัญลักษณ์ 
1 เมกะโอห์ม (M) = 1,000 กิโลโอห์ม (k)
1 กิโลโอห์ม (k) = 1,000 โอห์ม()

16
รูปที่ 1.8 ตัวอย่างความต้านทาน

รูปที่ 1.9 ตัวอย่างการอ่านค่าความต้านทาน

17
1.2.4 กฎของโอห์ม (Ohm Law)

E V 
I    A 
R

18
ตัวอย่าง 1.1 แหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงตัวหนึ่งมีค่าแรงเคลื่อน 12 V เมื่อนำความ
ต้านทานค่า 40  มาต่อกับแหล่งจ่ายจะมีค่ากระแสไหลในวงจรเท่าใด ?

วิธีทำ จากกฎของโอห์ม

12
I
40
 0.3A หรือ 300 mA

19
1.2.5 กำลังไฟฟ้ า (Electric Power ,P)

กำลังไฟฟ้ า คืออัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงาน หรืออัตรา


การทำงาน กำลังไฟฟ้ ามีหน่วยเป็ นวัตต์ (W)

กำลังไฟฟ้ า (P) = แรงเคลื่อนไฟฟ้ า (E) X กระแสไฟฟ้ า (I)


E2
P  E I  I R 
2

20
1.2.6 พลังงานไฟฟ้ า (Electric Energy ,W )

พลังงานไฟฟ้ า คือ กำลังไฟฟ้ าที่นำไปใช้ในระยะเวลาหนึ่ง พลังงานไฟฟ้ ามีหน่วยเป็น


วัตต์-ชั่วโมง พลังงานไฟฟ้ า 1000 วัตต์-ชั่วโมง จะเท่ากับ 1 ยูนิต (Unit) เครื่องวัด
พลังงานไฟฟ้ าตามบ้านพักอาศัยเรียกว่ากิโลวัตต์ฮาวมิเตอร์ (Kilowatt Hour Meter)

พลังงานไฟฟ้ า (W) = กำลังไฟฟ้ า (P) X เวลา ( t )


E2
W  P t  E  I t  I  R  t 
2
t
R

21

22
1.3 วงจรไฟฟ้ า

มี 3 ประเภท
1.วงจรอนุกรม (Series Circuit)
2.วงจรขนาน (Parallel Circuit)
3.วงจรผสม (Compound Circuit)

23
1. วงจรอนุกรม คือการนำเอาภาระหรือโหลด (Load) มาต่อเรียงลำดับกันดังรูป

V1
คุณสมบัติของวงจรอนุกรม
R1

Vs
I1
I2
1.1. กระแสที่ไหลในวงจรจะเท่ากัน
V2
R2
I3

R3 I t  I1  I 2  I3
V3

24
1.2. แรงเคลื่อนของแหล่งจ่ายจะเท่ากับแรงเคลื่อนที่ตก
คร่อมที่ความต้านทานแต่ละตัวรวมกัน
Vt = V1 + V2 + V3

1.3. ค่าความต้านทานรวมของวงจรจะเท่ากับค่าความ
ต้านทานของแต่ละตัวรวมกัน
R t = R1 + R 2 + R 3

25
ตัวอย่าง 1.2 ความต้านทาน 3 ตัวถูกต่อเป็ นแบบอนุกรมมีค่า 10  , 20
 และ30  ตามลำดับเมื่อนำมาต่อกับแหล่งจ่าย
ไฟฟ้ากระแสตรงค่า 24 V จงคำนวณหาค่า
วิธีทำ ก). ความต้านทานรวมของวงจร
จากสูตร Rt = R1 + R2 + R3
= 10 + 20 + 30 = 60
 E 24
ข). กระแสไฟฟ้ าในวงจร I 
R 60
 0.4 A

26
ค . แรงเคลื่อนตกคร่อมความต้านทาน VR1 = 0.4 x 10 = 4 V
VR2 = 0.4 x 20 = 8 V
VR3 = 0.4 x 30 = 12 V

ง. กำลังไฟฟ้าของความต้านทาน
P1 = 0.4A x 4V = 1.6 W
P2 = 0.4A x 8V = 3.2 W
P1 = 0.4A x 12V = 4.8 W
Pt = P1 + P2 + P3 = 1.6 + 3.2 + 4.8 = 9.6 W
หรือ Pt = 0.4 A x 24 V = 9.6 W

27
2. วงจรขนาน คือ การนำเอาภาระหรือโหลด (Load) มาต่อขนานกันดังรูป

คุณสมบัติของวงจรอนุกรม
It I1 I2 2.1 I3กระแสที่ไหลรวมจะเท่ากับกระแสในแต่ละสาขารวมกัน
Vs V1 V2 V3
R1 R2 R3 I t = I1 + I2 + I3

28
2.2 แรงเคลื่อนของแหล่งจ่ายจะเท่ากับแรงเคลื่อนที่ตกคร่อมที่
ความต้านทานแต่ละตัวรวมกัน
Vt = V1 = V2 = V3

2.3 ค่าความต้านทานรวมของวงจรจะเท่ากับค่าความ
ต้านทานของแต่ละตัวรวมกัน
1 1 1 1
  
R t R1 R 2 R 3

29
ตัวอย่าง 1.3 ความต้านทาน 3 ตัวถูกต่อเป็ นแบบขนานมีค่า 12  , 20 
และ30  ตามลำดับเมื่อนำมาต่อกับ แหล่งจ่าย
ไฟฟ้ากระแสตรงค่า 24 V จงคำนวณหาค่า
1 1 1 1 1
วิธีทำ ก. ความต้านทานรวมของวงจร R

tR

R
1

R2
 ... 
3 R
n

1 1 1 1
  
Rt 12 20 30

Rt = 6 Ω
E 24
ข. กระแสไฟฟ้ ารวมของวงจร I
R

6
4A

30
ค. กระแสไฟฟ้ าที่ความต้านทานแต่ละตัว IR1 = 24/12 = 2 A
IR2 = 24/20 = 1.2 A
IR3 = 24/30 = 0.8 A

ง. กำลังไฟฟ้ าของความต้านทานแต่ละตัว P1 = 2 A x 24 V = 48 W
P2 = 1.2 A x 24 V = 28.8 W
P1 = 0.8 A x 24 V = 19.2 W
Pt = P1 + P2 + P3 = 48 + 28.8 + 19.2 = 96 W
หรือ Pt = 4 A x 24 V = 96 W

31
วงจร วงจร
อนุกรม V1

R1
ขนาน
It I1 I2 I3
I1
Vs I2
R2 V2 Vs V1 V2 V3
I3
R1 R2 R3
R3
V3

I t  I1  I2  I3 I t = I1 + I2 + I3

Vt = V1 + V2 + V3 Vt = V1 = V2 = V3

1 1 1 1
R t = R1 + R 2 + R 3   
R t R1 R 2 R 3

32
3. วงจรผสม คือ การนำเอาภาระหรือโหลด (Load) มาต่อรวมกันทั้งแบบอนุกรมและ
ขนานดังรูป

R1 R1 R2
R2

R3 R3 R4

33
การประยุกต์วงจรอนุกรม - ขนานมาใช้งาน
1. วงจรแบ่งแรงดัน (Voltage divider)
I

R1
R1
V = E×
Es 1 R1 + R 2
R2
R2
V = E×
2 R1 + R 2

รูป ก ขณะยังไม่ต่อโหลด

34
I

R1 R1
V = E×
Es
1 R1 +( R 2 // R Load )
( R 2 // R Load )
R2 R Load
V = E×
2 R1 +( R 2 // R Load )

รูป ข ขณะต่อโหลด

35
ตัวอย่าง 1.4 วงจร Voltage divider วงจรหนึ่งมีค่าดังแสดงในวงจร
จงคำนวณหา ก. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อม R2 ขณะไม่มีโหลด
ข. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อม R2 ขณะมีโหลด 100 k มา
ต่อ
R2
R1 ก. จากสูตร V2  E x
Es 50 k  R1  R2
12V
100k
R2

100 k 
แทนค่าจะได้ V2  12 x
50k  100k
=8V

รูป ก ขณะยังไม่ต่อโหลด

36
R1
ข. หาค่า V2 ขณะต่อโหลด
Es 50 k 
(R 2 / /R load )
12V จากสูตร V2 = E x
R1 + (R 2 / /R load )
R Load
R2
100 k  100 k 
(100k / /100k)
แทนค่าจะได้ V2 = 12 x
50k + (100k / /100k)
รูป ข ขณะต่อโหลด
= 6V

37
2. วงจรแบ่งกระแส (Current divider)

R2
It I1  I t x
I1 I2 R1  R2

R1 R2
R1
I 2  It x
R1  R2

38
ตัวอย่าง 1.5 วงจร Current divider วงจรหนึ่งมีค่ากระแส It เท่ากับ 10 A
จงคำนวณหาค่ากระแสที่ไหลผ่าน R2
R1
จากสูตร I 2  It x
It
R1  R2
I1 I2
10A

R1 R2
  100
100 400
แทนค่าในสูตร I 2  10 x
100  400
=2A

39
การแปลงวงจรแบบสตาร์ () และแบบเดลต้า (  )
RC
R2 R1

RA RB

R3
การต่อแบบสตาร์
การต่อแบบเดลต้า

40
การแปลงวรจรจากเดลต้าเป็นสตาร์

RC
R2 R1

RA RB

R3
การต่อแบบสตาร์
การต่อแบบเดลต้า

R2 . R3
RA 
R1  R2  R3
R1 . R3
RB 
R1  R2  R3
R1 . R2
RC 
R1  R2  R3

41
การแปลงวรจรจากสตาร์เป็นเดลต้า

RC
R2 R1

RA RB

R3
การต่อแบบสตาร์
การต่อแบบเดลต้า

RA . RB  RA . RC  RB . RC
R1 
RA
RA . RB  RA . RC  RB . RC
R2 
RB
RA . RB  RA . RC  RB . RC
R3 
RC

42
การบ้าน 1 จากรูป จงจงคำนวณหาค่า

จากรูป ก. เปลี่ยนวงจรเดลต้าในกรอบเส้นประเป็นแบบวาย
จากรูป ข. จงความต้านทานรวมของวงจร (Rt)

43

You might also like