You are on page 1of 20

บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

บทที่ 1
พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า
ชายชาญ โพธิสาร
คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

1. พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า
1.1 กําลังไฟฟ้า
1.2 ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า
1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ
1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 1
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.1 กําลังไฟฟ้า
กําลังไฟฟ้า
กําลังไฟฟ้า คือ อัตราของการผลิต การถ่ ายโอน หรื อการใช้
พลั ง งานไฟฟ้ าต่ อ หนึ่ ง หน่ วยเวลา ในระบบไฟฟ้ ากระแสสลั บ
สามารถแบ่ งกําลังไฟฟ้าออกได้ เป็ น กําลังไฟฟ้าปรากฏ (S)
กําลังไฟฟ้าจริง (P) และกําลังไฟฟ้ารี แอกทิฟ (Q)

1.1 กําลังไฟฟ้า
กําลังไฟฟ้าปรากฏ (apparent power : S) คือ ผลคูณของค่ า
อาร์ เอ็ ม เอสของแรงดัน ไฟฟ้ า (Vrms) กั บ ค่ า อาร์ เอ็ม เอสของ
กระแสไฟฟ้า (Irms) มีหน่ วยเป็ นโวลต์ -แอมแปร์ (VA)

ในระบบไฟฟ้า 1 เฟสคํานวณได้ จากสูตร


S1 = V×I (VA)
ในระบบไฟฟ้า 3 เฟสคํานวณได้ จากสูตร
S3 = 3 VL × IL (VA)

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 2
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.1 กําลังไฟฟ้า
กําลังไฟฟ้าจริ ง (active power : P) คือ ผลคูณของค่ าอาร์ เอ็ม
เอสของแรงดั น ไฟฟ้ า กั บ ค่ าอาร์ เอ็ ม เอส ของส่ วนประกอบ
กระแสไฟฟ้าที่มีเฟสตรงกันกับแรงดันไฟฟ้านัน้ มีหน่ วยเป็ นวัตต์ (W)

ในระบบไฟฟ้า 1 เฟสคํานวณได้ จากสูตร


P1 = V × I cos (W)

ในระบบไฟฟ้า 3 เฟสคํานวณได้ จากสูตร


P3 = 3 VL × IL cos (W)
5

1.1 กําลังไฟฟ้า
กําลังไฟฟ้ารี แอกทิฟ (reactive power : Q) คือ ผลคูณของค่ า
อาร์ เอ็มเอสของแรงดันไฟฟ้า กับค่ าอาร์ เอ็มเอสของส่ วนประกอบ
กระแสไฟฟ้าที่มีเฟสตัง้ ฉากกับแรงดันไฟฟ้านัน้ มีหน่ วยเป็ นโวลต์ -
แอมแปร์ รีแอกทิฟ (VAR)
ในระบบไฟฟ้า 1 เฟสคํานวณได้ จากสูตร
Q1 = V × I sin (VAR)

ในระบบไฟฟ้า 3 เฟสคํานวณได้ จากสูตร


Q3 = 3 VL × IL sin (VAR)
6

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 3
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.1 กําลังไฟฟ้า
โดย
V คือ ค่ า rms ของแรงดันไฟฟ้า
VL คือ ค่ า rms ของแรงดันไฟฟ้าระหว่ างสาย (line to line)
I คือ ค่ า rms ของกระแสไฟฟ้า
IL คือ ค่ า rms ของกระแสไฟฟ้าระหว่ างสาย (line to line)
I cos คือ ค่ า rms ของส่ วนประกอบกระแสไฟฟ้าที่มีเฟสตรงกัน
กับแรงดันไฟฟ้า
I sin คือ ค่ า rms ของส่ วนประกอบกระแสไฟฟ้าที่มีเฟสตัง้ ฉาก
กับแรงดันไฟฟ้า
7

1.1 กําลังไฟฟ้า

รู ปแรงดันไฟฟ้า 1 เฟสและ 3 เฟส 8

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 4
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.1 กําลังไฟฟ้า

รู ปคลื่นแรงดันไฟฟ้า (v) และกระแสไฟฟ้า (i) ที่มีมุมต่ างเฟสเท่ ากับ  9

1.2 ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า
ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า
ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า คือ อัตราส่ วนระหว่ างค่ ากําลังไฟฟ้า
แอกทิฟในหน่ วยวัตต์ กับค่ ากําลังไฟฟ้าปรากฏในหน่ วยโวลต์ -
แอมแปร์ อีกนัยหนึ่งคือปริมาณที่บอกถึงอัตราส่ วนของกําลังไฟฟ้าที่
ทําให้ เกิดงานจริง กับกําลังไฟฟ้าทัง้ หมดที่ต้องการจากระบบไฟฟ้า
ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า อาจมีค่าล้ าหลัง (lagging) หรือ นําหน้ า
(leading) โดยมีสูงสุดเท่ ากับ 1.00 (หรื อ unity)

10

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 5
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.2 ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า
ตัวประกอบกําลังไฟฟ้าล้ าหลัง เกิดจากโหลดประเภท
เหนี่ยวนํา (inductive load) ที่ทาํ ให้ รูปคลื่นกระแสไฟฟ้าตามหลัง
แรงดันไฟฟ้า ตัวประกอบกําลังไฟฟ้านําหน้ าจะเกิดจากโหลด
ประเภทความจุไฟฟ้า (capacitive load) ที่ทาํ ให้ รูปคลื่นกระแสไฟฟ้า
นําหน้ าแรงดันไฟฟ้า ส่ วนตัวประกอบกําลังไฟฟ้า unity เกิดจาก
โหลดประเภทตัวต้ านทาน (resistive load) ที่ทาํ ให้ รูปคลื่น
กระแสไฟฟ้าตรงกันกับแรงดันไฟฟ้า

11

1.2 ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า

(ซ้ าย) กระแสตามหลังแรงดัน (I Lag V) และ(ขวา) กระแสนําหน้ าแรงดัน (I Lead V)12

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 6
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.2 ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า
ตัวประกอบกําลังไฟฟ้าคํานวณได้ จากสูตร

PF = (P )/S

= cos

13

1.2 ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า

สามเหลี่ยมกําลังไฟฟ้า 14

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 7
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


โหลด (load) หรื อ ภาระทางไฟฟ้า คือ กําลังไฟฟ้าที่ถูกใช้ ไป
โดยอุ ป กรณ์ บริ ภั ณ ฑ์ หรื อ วงจรไฟฟ้ าต่ า งๆ ที่ ต่ อ อยู่ กั บ ระบบ
จําหน่ ายไฟฟ้า มีหน่ วยเป็ น โวลต์ -แอมแปร์ (VA) หรื อ วัตต์ (W)
การคํา นวณโหลดในระบบไฟฟ้ าแรงตํ่า เป็ นการคํา นวณ
กําลังไฟฟ้าที่วงจรส่ วนต่ างๆ ของระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ซึ่งได้ แก่
วงจรย่ อย วงจรสายป้อน และตัวนําประธาน ต้ องส่ งผ่ านไปยังโหลด
เพื่อออกแบบและเลือกใช้ อุปกรณ์ ป้องกัน ขนาดสายไฟฟ้า รวมถึง
ขนาดช่ องเดิน สายสําหรั บ วงจรนั น้ ๆ ในการคํา นวณโหลดจะแบ่ ง
อุปกรณ์ บริ ภัณฑ์ หรื อวงจรไฟฟ้าต่ างๆ ออกเป็ นโหลด 2 ประเภท
ตามระยะเวลาการใช้ งานคือโหลดต่ อเนื่อง และ โหลดไม่ ต่อเนื่อง
15

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


โหลดต่ อเนื่ อง หมายถึง โหลดไฟฟ้าที่ใช้ ติดต่ อกั นตัง้ แต่ 3
ชั่วโมงขึน้ ไป เช่ น ดวงโคมในสํานักงาน เครื่ องปรั บอากาศ เป็ นต้ น
ส่ ว นโหลดไม่ ต่ อ เนื่ อ ง หมายถึง โหลดไฟฟ้ าที่ใ ช้ ติด ต่ อ กั น ไม่ ถึ ง 3
ชั่วโมง เช่ น เตาไฟฟ้า เครื่ องทํานํา้ ร้ อน เป็ นต้ น ในการคํานวณโหลด
กรณี ท่ ีเ ป็ นโหลดต่ อเนื่ องอาจจะเผื่อพิกั ดของสายตัว นํ าวงจรย่ อย
และเครื่องป้องกันกระแสเกินอีก 25%

16

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 8
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


การคํานวณโหลดเพื่อกําหนดขนาดอุ ปกรณ์ ป้องกัน ขนาด
สายไฟฟ้านัน้ จะต้ องทราบขนาดกําลังไฟฟ้า หรื อกระแสไฟฟ้าของ
โหลดที่นํ า มาใช้ ง าน โดยมี ทัง้ โหลดที่ท ราบขนาดที่แน่ นอน ได้ แ ก่
โหลดไฟฟ้าแสงสว่ าง โหลดเครื่ องใช้ ไฟฟ้าต่ างๆ ที่ติดตัง้ ถาวร เช่ น
เครื่ องปรั บอากาศ เครื่ องทํานํา้ อุ่น ตู้เย็น เครื่ องซักผ้ า เครื่ องสูบนํา้
ซึ่ง คํา นวณโหลดตามที่ติด ตัง้ จริ ง ส่ ว นโหลดเต้ า รั บ ไฟฟ้ าที่ใ ช้ ง าน
ทั่วไป (ไม่ ทราบโหลดที่แน่ นอน) จะคํานวณโหลดโดยคิดตามจุดที่
ติดตัง้ เต้ ารั บจุดละ 180 VA สําหรั บเต้ ารั บชนิดเต้ าเดี่ยว (simplex)
เต้ าคู่ (duplex) และ ชนิดสามเต้ า (triplex) กรณีท่ เี ป็ นชนิดสี่เต้ าให้ คิด
จุดละ 360 VA
17

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


โหลดไฟฟ้ าแสงสว่ าง ได้ แก่ โคมไฟฟ้ าที่ ใ ช้ หลอดไฟฟ้ า
ประเภทต่ างๆ เช่ น หลอดเผาไส้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดฟลูออ
เรสเซนต์ ชุดกะทัดรั ด (Compact Fluorescent Lamp) หลอดโซลิด
ดิสชาร์ จ (หรื อหลอด LED) มีขนาดกําลังไฟฟ้าโดยประมาณดังตาราง
ที่ 1-1 ถึง 1-3 โดยที่ขนาดหลอด (วัตต์ ) จะเป็ นค่ ากําลังไฟฟ้าเอาต์ พุต
ที่หลอดให้ ออกมา ส่ วนโหลด (VA) จะเป็ นกําลังไฟฟ้าด้ านอินพุตที่
หลอดไฟรับจากแหล่ งจ่ ายไฟฟ้าซึ่งเป็ นค่ าที่ใช้ ในการคํานวณโหลด

18

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 9
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


ตารางที่ 1-1 ตัวอย่ างโหลดโดยประมาณของวงจรหลอดเผาไส้
ขนาดหลอด (วัตต์ ) โหลด (VA) กระแส (A)
40 40 0.182
60 60 0.273
100 100 0.455

19

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


ตารางที่ 1-2 ขนาดกําลังไฟฟ้าโดยประมาณของวงจรหลอดคอมแพก
ฟลูออเรสเซนต์ ที่ใช้ บัลลาสต์ แกนเหล็กธรรมดา
ขนาดหลอด (วัตต์ ) โหลด (VA) กระแส (A)
9 15 0.068
11 20 0.091
15 25 0.114
20 35 0.159

20

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 10
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


ตารางที่ 1-3 ตัวอย่ างโหลดโดยประมาณของวงจรหลอดฟลูออเรส
เซนต์ T8 ที่ใช้ บัลลาสต์ แกนเหล็กธรรมดา
ขนาดหลอด (วัตต์ ) โหลด (VA) กระแส (A)
18 58 0.264
32 88 0.400
36 96 0.436

21

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


ตารางที่ 1-4 ตัวอย่ างโหลดโดยประมาณของเครื่องปรั บอากาศแบบ
1 เฟส
ขนาดเครื่ องปรั บอากาศ (Btu) โหลด (VA) กระแส (A)
9,000 1,200 5.21
12,000 1,500 6.52
18,000 1,700 7.39
24,000 2,600 11.30
36,000 4,200 18.26

22

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 11
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


ตารางที่ 1-5 ตัวอย่ างโหลดโดยประมาณของเครื่องปรั บอากาศแบบ
3 เฟส
ขนาดเครื่ องปรั บอากาศ (Btu) โหลด (VA) กระแสต่ อเฟส (A)
48,000 6,200 8.95
60,000 7,900 11.40
72,000 9,800 14.14
84,000 12,200 17.60
96,000 13,000 18.76

23

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


ตารางที่ 1-6 ตัวอย่ างโหลดโดยประมาณของเครื่องทํานํา้ อุ่น

ขนาดเครื่ องทํานํา้ อุ่น (วัตต์ ) โหลด (VA) กระแส (A)


3,500 3,500 15.9
4,500 4,500 20.5
6,000 6,000 27.3

24

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 12
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


ตารางที่ 1-7 ตัวอย่ างโหลดโดยประมาณของตู้เย็น

ขนาดตู้เย็น (ลบ.ฟุต) โหลด (W)


4.2 – 6.0 65 - 88
6.7 – 7.7 78 - 117
9.0 – 10.0 115 - 165

25

1.3 ข้ อมูลของโหลดชนิดต่ างๆ


ตารางที่ 1-8 ตัวอย่ างโหลดโดยประมาณของ LCD TV

ขนาด LCD TV (นิว้ ) โหลด (W)


32 150
37 200
40 240
50 325

26

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 13
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย วงจรย่อย

ชัน้ ที่ 3

สายป้อน
แรงสูง

แผงย่อย ชัน้ ที่ 2

เมนสวิตช์ ชัน้ ที่ 1


หม้อแปลง
สายเมน
27

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
วงจรย่ อย ( branch circuit ) คือ สายตัวนําไฟฟ้าที่อยู่ระหว่ าง
อุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกินจุดสุดท้ ายกับจุดจ่ ายไฟให้ กับเต้ ารั บ
อุปกรณ์ หรือบริภณั ฑ์ ไฟฟ้า โหลดของเต้ ารับ อุปกรณ์ หรื อบริภณ ั ฑ์
ไฟฟ้าสามารถคํานวณได้ ดงั สูตรต่ อไปนี ้

1) ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย


โหลด ( VA ) = VxI

28

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 14
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
2) ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย
โหลด ( VA ) = 3 x VL x I
โดยที่
V = แรงดันระหว่ างสายไลน์ กับนิวทรัล (V)
VL = แรงดันระหว่ างสายไลน์ กับไลน์ (V)
I = กระแส (A)

29

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
วงจรย่ อยสามารถแบ่ งออกตามประเภทของโหลดได้ เป็ น
1. วงจรย่ อยแสงสว่ าง
2. วงจรเต้ ารั บ
3. วงจรย่ อยแสงสว่ างและเต้ ารั บ
4. วงจรย่ อยเฉพาะ
5. วงจรย่ อยมอเตอร์

30

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 15
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
1.4.1 วงจรย่ อยตามข้ อ 1 – 4 มีวิธีการคํานวณเหมือนกันดังนี ้
วงจรย่ อยต้ องมีขนาดไม่ น้อยกว่ าผลรวมของโหลดทัง้ หมดที่
ต่ ออยู่
LBC = L
โดยที่
LBC = โหลดวงจรย่ อย (A, VA)
L = ผลรวมของโหลดที่ต่ออยู่กับวงจรย่ อย (A, VA)

31

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
สายตัวนําของวงจรย่ อย ต้ องมีขนาดกระแสไม่ น้อยกว่ าโหลด
สูงสุดที่คาํ นวณได้ และต้ องไม่ น้อยกว่ าพิกัดของเครื่องป้องกันกระแส
เกิน
IBC  ICB  Lmax
โดยที่
IBC = พิกัดสายตัวนําวงจรย่ อย (A)
ICB = พิกัดเครื่องป้องกันกระแสเกิน (A)
Lmax = โหลดสูงสุดของวงจรย่ อย (A)

32

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 16
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
1.4.2 วงจรย่ อยของมอเตอร์ มีวิธีคาํ นวณดังนี ้
สายของวงจรย่ อยที่จ่ายให้ มอเตอร์ ตวั เดียวที่ใช้ งานต่ อเนื่อง

IC  1.25 x In
โดยที่
IC = พิกัดกระแสวงจรย่ อยมอเตอร์
In = พิกัดกระแสของมอเตอร์
ทัง้ นีข้ นาดสายของวงจรย่ อยมอเตอร์ ต้องมีขนาดไม่ เล็กกว่ า
1.5 ตร.มม. 33

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
การคํานวณพิกัดกระแสของมอเตอร์

In = P/(√(3 )×  ×PF ×V) (A)

โดย
P คือ กําลังไฟฟ้าพิกัดของมอเตอร์
V คือ ค่ าอาร์ เอ็มเอสของแรงดันไฟฟ้าพิกัดของมอเตอร์
 คือ ประสิทธิภาพของมอเตอร์ (จาก name plate)
PF คือ ตัวประกอบกําลังไฟฟ้าของมอเตอร์ (จาก name plate)
34

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 17
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
1.4.3 การป้องกันการใช้ งานเกินกําลังของมอเตอร์ และวงจร
ย่ อย สําหรับมอเตอร์ ใช้ งานประเภทต่ อเนื่องขนาดเกิน 1 แรงม้ า การ
ปรั บตัง้ thermal overload relay เป็ นดังนี ้
- มอเตอร์ ท่ มี ี Service Factor ไม่ น้อยกว่ า 1.15 = 1.25 In
- มอเตอร์ ชนิดที่ระบุอุณหภูมิเพิ่มไม่ เกิน 40 ºC = 1.25 In
- มอเตอร์ อ่ นื ๆ = 1.15 In

35

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
1.4.4 การป้องกันกระแสลัดวงจรของวงจรย่ อยการปรับตัง้
สําหรั บวงจรที่มีมอเตอร์ ตวั เดียวนัน้ อุปกรณ์ ป้องกันการลัดวงจรต้ อง
สามารถทนกระแสเริ่มเดินของมอเตอร์ ได้ และมีขนาดหรื อการ
ปรับตัง้ ไม่ เกินค่ าที่กาํ หนดในตารางที่ 1-9

36

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 18
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
ตารางที่ 1-9 พิกัดหรื อขนาดปรับตัง้ สูงสุดของเครื่องป้องกันการ
ลัดวงจรระหว่ างสายและป้องกันการรั่ วลงดินของวงจรย่ อยมอเตอร์
ร้ อยละของกระแสโหลดเต็มที่
ชนิดของมอเตอร์ ฟิ วส์ ฟิ วส์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์
ทํางานไว หน่ วงเวลา ปลดทันที เวลาผกผัน
มอเตอร์ 1 เฟส ไม่ มีรหัสอักษร 300 175 700 250
มอเตอร์ กระแสสลับ 1 เฟส ทัง้ หมดและมอเตอร์ 3 เฟส แบบกรง
กระรอกและแบบซิงโครนัส ซึ่งเริ่มเดินโดยรั บแรงดันไฟฟ้าเต็มที่หรื อ
เริ่มเดินผ่ านตัวต้ านทานหรือรีแอ็กเตอร์
 ไม่ มีรหัสอักษร
 รหัสอักษร F ถึง V 300 175 700 250
 รหัสอักษร B ถึง E 300 175 700 250
 รหัสอักษร A 250 175 700 200
150 150 700 150
มอเตอร์ แบบ กรงกระรอก
กระแสไม่ เกิน 30 แอมแปร์ ไม่ มีรหัสอักษร 250 175 700 250
กระแสเกิน 30 แอมแปร์ ไม่ มีรหัสอักษร 200 175 700 200

37

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
ตัวอย่ างที่ 1
วงจรย่ อยแสงสว่ าง 230 V , 1 เฟส จ่ ายไฟให้ ดวงโคม 12 ชุด ดวง
โคมแต่ ละชุดมีโหลด 200 VA
ให้ คาํ นวณหา
1) โหลดของวงจรย่ อย
2) ขนาด CB , ขนาด BC
3) ขนาดสายตัวนํา

38

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 19
บทที่ 1 พืน้ ฐานระบบไฟฟ้า

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
ตัวอย่ างที่ 1
วิธีทาํ
1) โหลดคิดเป็ นกําลังไฟฟ้า = 12 x 200
= 2400 VA
IL = 2400 / 230
= 10.4 A

39

1.4 การคํานวณโหลดของวงจรย่ อย
ตัวอย่ างที่ 1
วิธีทาํ
2) CB ที่ใช้ ต้องไม่ น้อยกว่ าโหลด
ใช้ CB 16 A
ใช้ BC 16 A
3) ขนาดตัวนําสายไฟฟ้า IEC 01 ในท่ อร้ อยสายโลหะ
2 x 2.5 mm2 (21 A)

40

ผศ.ชายชาญ โพธิสาร 20

You might also like