You are on page 1of 52

5

บทที่ 2
ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง

2.1 หลักการทัว่ ไปของหม้ อแปลงกระแส [3]

ในวงจรไฟฟ้ ากระแสตรงเมื่อจะวัดกระแสไฟฟ้ าจานวนมาก ๆ จะใช้แอมมิเตอร์ ที่มียา่ น


วัดต่า ๆ ต่อขนานด้วยชั้นท์ (Shunt Resistor) และการวัดแรงดันไฟฟ้ าสู งๆ ก็จะใช้โวลต์มิเตอร์ ที่มี
ย่านวัดต่าต่ออันดักกักมัลติาายเออร์ แต่ในกรีี ของไฟฟ้ า แรงดัน กาลังงานและาลังงาน สามาร
วัดด้วยเครื่ องมื อวัดคุ ม หรื อมิ เตอร์ ซ่ ึ งมี ข นาดสมควร หรื อใช้ก ันอย่างกว้างขวางเป็ นเรื่ องส าคัญ
เาราะกระแสไฟฟ้ าหรื อแรงดันสู งๆ โดยจริ ง จะต้องใช้เครื่ องมือวัดคุมขนาดใหญ่ และค่าใช้จ่ายสู ง
ทางแก้ไ ขก็ คื อ ต้อ งท าการลดกระแสแรงดัน ให้ ต่ า ลงเสี ย ก่ อ นแล้วจึ ง ค่ อ ยท าการวัด การท าให้
กระแสแรงดันลดลงนี้ตอ้ งใช้หม้อแปลงสาหรักเครื่ องวัด
ซึ่ งหม้อแปลงกระแสนั้น ทางด้านขดลวดปฐมภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้ าขั้ว K-L ต่อกักไลน์
(Line) ของระกกไฟฟ้ าหรื อภาระไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านขดลวดปฐมภูมิที่เป็ นกระแสไฟฟ้ า
ทางด้านขดลวดทุ ติ ย ภู มิ ข องหม้อ แปลงกระแสไฟฟ้ า จะ ู ก ก าหนดให้ เหมาะสมกัก เครื่ อ งวัด
ก าลัง ไฟฟ้ าและเครื่ อ งวัด เาาเวอร์ เฟกเตอร์ ซ่ ึ งมัก จะให้ าิ ก ัด กระแสไฟฟ้ า (Current Coil) ของ
เครื่ องวัดเหล่านี้ เท่ากัก 5 แอมป์ เช่น 20/5 A, 10/5A และ 10/5A นอกจากนั้นหม้อแปลงกระแสยังได้
กาหนดให้มีาิกดั กระแสไฟฟ้ า 1A ทางขดลวดทุติยภูมิดว้ ย
สัดส่ วนกระแสไฟฟ้ าของหม้อแปลงกระแสไฟฟ้ า 5/5 A ใช้สาหรักการที่ตอ้ งการแยก
วงจรการวัดให้ออกจากระกกของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าสู ง ๆ เาื่อให้เกิ ดความปลอดภัย กักตัวเครื่ องวัด
และกุ คลากรหม้อแปลงกระแสไฟฟ้ ามีอตั ราส่ วนระหว่างขดลวดทุ ติยภูมิกกั ปฐมภูมิ เป็ น 100:5
ดังนั้นแรงดันที่เาิ่มขึ้นในขดลวดทุติยภูมิมีค่าสู งขึ้น ึ ง 20 เท่า และกระแสที่ลดลงจะมีค่าเป็ น 1:20
คือ า้ แอมมิเตอร์ อ่านค่าได้เท่าใดแล้วต้องเอา 20 ไปคูี จึงจะได้ค่ากระแสในสายไฟจริ ง ๆ

2.2 ชนิดของหม้ อแปลงกระแสไฟฟ้า [3]

หม้อ แปลงกระแสไฟฟ้ าที่ มี ข ดลวดปฐมภู มิ และขดลวดทุ ติย ภู มิ อยู่ใ นตัวเดี ย วกัน ที่
ขดลวดปฐมภูมิ ูกทาไว้ให้สามาร เลือกย่านของกระแสไฟฟ้ าได้ สาหรักขนาดกระแสไฟฟ้ าสู ง ๆ
นั้นหม้อแปลงกระแสไฟฟ้ าจะใช้แกนเหล็กเป็ นแกกวงแหวนและใช้สานตัวนาของกระแสไฟฟ้ า
สอดผ่ า นวงในของแกนเหล็ ก ที่ เป็ นขดลวดปฐมภู มิ จากรู ป 2.1 แสดงชนิ ด ของหม้อ แปลง
5

กระแสไฟฟ้ าที่ ด้า นขดลวดปฐมภู มิ ส ามาร เลื อ กาิ ก ัด กระแสไฟฟ้ า ได้ 2.5A, 10A, และ25A
นอกจากนั้นยังสามาร ใช้วงด้านในของแกนเหล็กสาหรักกระแสไฟฟ้ า 100A, 125 A และ250A ซึ่ ง
ขึ้นอยูก่ กั ผูผ้ ลิต เช่น จานวนของสายตัวนาที่ตอ้ งสอดผ่านแกนวงแหวนสาหรักกระแสไฟฟ้ า ึง 500
A ให้านั ไว้เาียง 1 รอก หรื อ า้ ใช้กกั กระแสไฟฟ้ า 250 A ใช้านั ไว้ 2 รอก เป็ นต้น

ภาาที่ 2.1 หม้อแปลงกระแสไฟฟ้ า แกกแกนวงกลม

ชนิดของหม้อแปลงกระแสที่ได้เห็น โดยทัว่ ไปตามที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น ยังมีหม้อแปลง


กระแสไฟฟ้ า ที่ ใช้ร่วมกักเครื่ องมื อวัดกระแสไฟฟ้ าในตัวเดี ยวกันซึ่ งเรี ยกว่า ฮู๊ก -แอมป์ มิ เตอร์
(Hook -Ammeter) หรื อคริ ป ออน-แอมป์ มิ เตอร์ (Clip-On Ammeter) ดังภาาที่ 2.2 ใช้ส าหรั ก วัด
กระแสไฟฟ้ าในสายโดยใช้กา้ นหนี กทาเป็ นวงจรแม่เหล็กหนีกสายที่ตอ้ งการวัดกระแสไฟฟ้ าให้อยู่
วงด้านในก้านหนีกนี้

ภาาที่ 2.2 คลิปออน-แอมป์ มิเตอร์


6

2.3 การเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็กไฟฟ้า [6]

การเหนี่ยวนาแรงเคลื่อนไฟฟ้ านั้น เกิดขึ้นได้ดงั วิธีการต่อไปนี้


1. โดยการให้ตวั นาเคลื่อนผ่านสนามแม่เหล็กที่หยุดนิ่งอยูก่ กั ที่
2. โดยการให้สนามแม่เหล็กเคลื่อนที่ตดั ผ่านตัวนาที่หยุดนิ่งอยูก่ กั ที่
3. โดยการเปลี่ยนจานวนของเส้นแรงสนามแม่เหล็กที่ตดั ผ่านขดลวดนั้น
วิธี ที่ ห นึ่ ง น าไปใช้ใ นการท าเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ ากระแสตรง วิ ธี ที่ ส อง ใช้ เครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า
กระแสสลัก และวิธีที่สาม ใช้กกั การเหนี่ยวนาขดลวดและหม้อแปลงไฟฟ้ า

2.3.1 กฎของการเหนี่ยวนา
กฎข้อที่หนึ่ ง (Lenz’s law) กล่ าวว่าในวงจรปิ ดใด ๆ ที่มีการเปลี่ ยนแปลงการไหลของ
กระแสในวงจร ย่อมทาให้เกิดการเหนี่ ยวนาแรงเคลื่อนไฟฟ้ าในวงจรนั้น โดยมีทิศทางตรงกันข้าม
กักการเปลี่ยนแปลงการไหลของกระแสในวงจรนั้น
กฎข้อที่ส อง (Faraday’s law) กล่ าวว่าการเหนี่ ยวนาแรงเคลื่ อนไฟฟ้ าที่ เกิ ดขึ้ นระหว่าง
ปลายของขดลวดหรื อลู ป อัน หนึ่ งนั้นเป็ นสั ดส่ วนกัก อัตราการเปลี่ ยนแปลงเส้ น แรงแม่ เหล็ ก ที่
ล้อมรอกขดลวดนั้นๆ หรื อการเหนี่ ยวนาแรงเคลื่ อนไฟฟ้ าที่เกิ ดขึ้นระหว่างของแท่งตัวนาอันหนึ่ ง
นั้น เป็ นสัดส่ วนโดยตรงกักการที่ตวั นาตัดผ่านเส้นแรงแม่เหล็กนั้นๆต่อหนึ่งหน่วยเวลา

2.3.2 วงจรแม่ เหล็ก (Magnetic Circuit)


เราทรากแล้วว่า เมื่อมีกระแสไหลผ่านเส้นลวดตัวนา จะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นรอก
ๆ ตัวนานั้น ความสัมาันธ์ในวงจรแม่เหล็กคือ
เส้นแรงแม่เหล็ก = แรงเคลื่อนแม่เหล็ก (2.1)
ความต้านทานเส้นแรงแม่เหล็ก
(Magnetic flux =  ) = Magneto motive force ( m.m.f)
Reluctance 
m.m.f =  (2.2)
7

2.3.3 แรงเคลื่อนแม่ เหล็ก (Magnetomotive Force , m.m.f)


m.m.f คือาลังงานรู ปหนึ่ ง ที่ ใช้ในการเคลื่ อนที่ หนึ่ งหน่ วยขั้วแม่เหล็ก ให้วิ่งรอกวงจร
แม่เหล็ กหนึ่ งรอก หรื ออาจาิ จารีาว่าเป็ นความสามาร ในการท าให้เกิ ดเส้ นแรงแม่ เหล็ กของ
ขดลวดใดขดลวดหนึ่ง
m.m.f ในวงจรแม่เหล็กนั้นเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกักกระแสที่ไหลผ่านขดลวด กักจานวน
รอก (Turn) ของขดลวดนั้น และมีหน่วยเป็ น แอมป์ -รอก (Amp-Turn)

F = m.m.f = NI (2.3)

เมื่อ N = จานวนรอกของขดลวด
I = กระแสเป็ นแอมแปร์

2.3.4 เส้ นแรงแม่ เหล็ก (Magnetic Flux =  )


เส้ น แรงแม่ เหล็ ก คื อ เส้ น แรงที่ เกิ ด จากแม่ เหล็ ก ส่ ง อ านาจความเป็ นแม่ เหล็ ก ออกมา
รอกตัวมันเองดังรู ป 2.3 โดยมีทิศทางของเส้นแรงวิ่งจากขั้วเหนื อ (N) ไปขั้วใต้ (S) ภายนอกแท่ง
แม่เหล็ก และวิง่ จากขั้วใต้ (S) ไปขั้วเหนือ (N) ภายในแท่งแม่เหล็ก

ภาาที่ 2.3 สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจากแท่งแม่เหล็ก

หน่วยของเส้นแรงแม่เหล็กมีหน่วยเป็ น Line หรื อ Maxwell สาหรักระกก CGS แต่ใน


ระกก MKS มีหน่วยเป็ น Weber = 108 lines
8

2.3.5 เส้ นแรงแม่ เหล็กรั่วไหล (Magnetic Leakage) [6]


ในการาิจารีาว่าเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นในหม้อแปลงไฟฟ้ านั้น โดยทัว่ ๆไปแล้วคิด
ว่าเป็ นเส้นแรงแม่เหล็กที่เชื่อมโยงระหว่างขดลวดชุ ดปฐมภูมิกกั ขดลวดทุติยภูมิ แต่ที่จริ งมิได้เป็ น
เช่ น นั้น ซึ่ ง เส้ น แรงแม่ เหล็ ก ส่ วนนี้ จะครกวงจรแม่ เหล็ ก (Magnetic Circuit) โดยอากาศ ซึ่ งใน
ทานองเดียวกันลักษีะเช่นนี้ก็จะเกิดขึ้นทางด้านขดลวดทุติยภูมิดว้ ย เส้นแรงแม่เหล็กส่ วนนี้เรี ยกว่า
เส้นแรงแม่เหล็กรั่วไหล (Leakage Flux) ดังแสดงในภาาที่ 2.4

i1 m
i2

V1 l 1 l 2 V2

N1 N2

ภาาที่ 2.4 เส้นแรงแม่เหล็กรั่วไหล

จากรู ป  L1 เรี ย กว่า เส้ น แรงแม่ เหล็ ก รั่ ว ไหลที่ ก ระท าระหว่า งจุ ด a ึ งจุ ด b จะเป็ น
สัดส่ วนโดยตรงกักแอมป์ แปร์ เทอนของขดลวดปฐมภูมิ และ  L 2 นี้ จะเกิดขึ้นาร้อม I1 ซึ่ ง  L 2 นี้
จะท าให้ เกิ ด แรงดัน ไฟฟ้ าเหนี่ ย วน าขึ้ นมาอี ก ค่ า หนึ่ ง ให้ มี ค่ า เท่ า กัก eL1 ในท านองเดี ย วกัน
แอมป์ แปร์ เทอนของขดลวดทุ ติยภู มิ ที่ กระท าระหว่างจุ ด c ึ ง d ก็ จะท าให้เกิ ดเส้ นแรงแม่ เหล็ ก
รั่วไหลขึ้นอีกส่ วนหนึ่ งคือ  L1 ซึ่ งเกิ ดขึ้นาร้อมกัก I2 และจะสร้ างแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ ยวนาขึ้นมีค่า
เท่ากัก e L1
ขีะที่ไม่มีโหลด หรื อมีโหลดน้อยๆนั้นแอมแปร์ เทอนของขดปฐมภูมิและขดลวดชุดทุติ
ภู มิ น้ ี จะมี ค่ าน้อยมาก ดังนั้น ค่ าเส้ น แรงแม่ เหล็ ก รั่ วไหลจะไม่ คิด แต่ ้าโหลดเาิ่ ม ขึ้ นจะท าให้
กระแสที่ไหลในขดลวดชุ ดปฐมภูมิ และขดลวดทุติยภูมิมีค่ามากขึ้น เป็ นผลทาให้แอมป์ แปร์ เทอน
มีค่าเาิ่มมากขึ้นและมีผลให้เส้นแรงแม่เหล็กรั่วไหลเาิ่มขึ้นด้วย
เส้ นแรงแม่เหล็กรั่ วไหลนี้ จะเกิ ดขึ้ นรอก ๆ ขดลวดในแต่ละชุ ดและสร้ างแรงดันไฟฟ้ า
เหนี่ยวนาขึ้นในขดลวดนั้น ซึ่ งเราสามาร เขียนสมการสมมูลย์เป็ นอินดักทีฟคอยล์ (Inductive Coil)
9

ที่ต่ออนุ กรมอยู่กกั ขดลวดในแต่ละชุ ด ดังนั้น แรงดันที่ ตกคร่ อมในอิ นดักทีฟคอยล์จะมีค่าเท่ากัก


แรงดันไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นเนื่องจากเส้นแรงแม่เหล็กรั่วไหล

2.3.6 ความเข้ มสนามแม่ เหล็ก (Intensity of Magnetic field = H)


คือ ความเข้มของสนามแม่เหล็กที่ออกแรงกระทากักหนึ่งหน่วยของขั้วแม่เหล็ก มีหน่วย
เป็ น Amp tern / meter หรื อ Amp / meter ในหน่วย MKS ส่ วนในระกก CGS มีหน่ วยเป็ น (ousted)
หรื อ Gilbert ต่ อชั่วโมง ส าหรั ก ในตัวกลางที่ เป็ นอากาศหรื ออื่ น ๆ นั้น ความเข้ม สนามแม่ เหล็ ก
(Field Density) มี ความสาาันธ์กกั ความหนาแน่ นของเส้ นแรงแม่เหล็ก B (Flux Density = B) นั่น
คื อ B = µH เมื่ อ B มี ห น่ วยเป็ น Weber / m2 ในระกกMKS แต่ ใ นระกก CGS มี ห น่ วยเป็ น
Maxwell/cm^2(gauss) หรื อ 1000gauss = 1 wb/ m2 เมื่อ
µ = สภาาการซึ มซากของแม่เหล็ก (Permeability) ไม่มีหน่วย
H = Field Intensity หรื อ Magnetic Potential Gradient หรื อเรี ยกว่า m.m.f Gradient ก็ได้

2.3.7 สภาพการซึมซาบ และความต้ านทางแม่ เหล็ก (Permeability and Reluctance)


สภาาการซึ มซากทางแม่เหล็ ก (µ) คื อ ตัวกลางหนึ่ งตัวท าให้เกิ ดสนามหรื อเส้ นแรง
แม่เหล็กได้ มากน้อยแตกต่างกันไป
ความต้านทานแท่งแม่เหล็ก (  ) คือ ความต้านทานที่เกิดขึ้นในวงจรแม่เหล็ก ซึ่ งอาจจะ
เป็ นอากาศ หรื อวัสดุอะไรก็ได้ที่อยูใ่ นกริ เวีที่เส้นแรงแม่เหล็กส่ งอานาจไป ึ ง จะมากหรื อน้อยก็
ขึ้นอยูก่ กั ชนิ ดของสิ่ งนั้นๆ ความต้านทานนี้ จะต้านทานการส่ งเส้นแรงแม่เหล็กออกจากเหล่งกาเนิ ด
เส้นแรงให้ลดลงไป  นี้ เป็ นสัดส่ วนโดยตรงกักความยาว l ที่เส้นแรงผ่านไปเาื่อให้ครกวงจรของ
ตัวมันเองและเป็ นสัดส่ วนผกผันกัก าื้ นที่ A ที่ เส้ นแรงผ่าน รวมทั้งเป็ นสั ดส่ วนผกผัน µ ด้วยใน
อากาศจึงได้วา่

1
 = (µ r =1) (2.4)
µr

สาหรักค่า  ในวงจรแม่เหล็กที่มีสภาาการซึ มซากใดๆนั้นได้วา่

1
 = (2.5)
µA
สาหรักวงจรทางแม่เหล็กเท่าที่กล่าวมาแล้วาอที่จะรวกรวมสมการที่ใช้หน่วย MKS ได้ดงั นี้
10

F = m.m.f = NI =  
H = NI
l
 = BA
B = 4µ
1
 =
µ
เมื่อ
F = แรงเคลื่อนแม่เหล็ก (แอมป์ - รอก)
N = จานวนรอกของขดลวด (รอก)
I = กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านขดลาด (แอมป์ )
 = เส้นแรงแม่เหล็ก (เวเกอร์ )
R = ความต้านทานเส้นแรงแม่เหล็ก (แอมป์ -รอก) / เวเกอร์
H = ความเข้มสนามแม่เหล็ก (แอมป์ - รอก) / เมตร
µ = สภาาความซึ มซากทางแม่เหล็กนั้น ๆ
l = ความยาวของวงจรแม่เหล็กที่เส้นแรงวิง่ ผ่าน (เมตร)
A = า.ท.หน้าตัดของวงจรแม่เหล็กที่เส้นแรงวิง่ ผ่าน (ตารางเมตร)
µ r = 1 (ในอากาศ)

2.4 หลักการของหม้ อแปลง (Transformer’s principle) [9]

หม้อแปลงประกอกด้วยขดลวด 2 ชุ ด าันอยู่รอกแกนเหล็ ก คื อ ขดลวดปฐมภู มิ โดย


แรงเคลื่อนไฟฟ้ าตกคร่ อมอยู่ ( Vp ) อีกชุดหนึ่ง คือขดลวดทุติภูมิโดยมีแรงเคลื่ อนไฟฟ้ าตกคร่ อมที่
โหลดเป็ น ( Vs) เมื่อหม้อแปลงได้รักแรงเคลื่อนไฟฟ้ า Vp ที่ขดลวดปฐมภูมิทาให้เกิดการเหนี่ ยวนา
ไฟฟ้ า Vp ทางขดลวดทุติภูมิแม้ไม่มีโหลดต่อกรีี น้ ี Vs = E2 = V2

2.4.1 รู ปแบบของหม้ อแปลง (Transformer Modeling)


หม้อแปลงเป็ นอุปกรี์ไฟฟ้ าหลักที่สาคัญชนิดหนึ่ งสาหรักระกกไฟฟ้ ากาลัง การใช้หม้อ
แปลงก็เาื่อวัต ุประสงค์ในการแปลงแรงดันให้สูงขึ้นหรื อลดระดักแรงดันให้ต่าลง โดยทัว่ ไปหม้อ
11

แปลงที่ใช้จะเป็ นชนิ ดมีขดลวด 2 ขด คือขดลวดปฐมภูมิ (Primary Winding) และขดลวดทุติยภูมิ


(Secondary Winding) โดยขดลวดทั้งสองนี้ จะอยูก่ นแกนเหล็ก (Magnetic Core) เดียวกันซึ่ งอาจจะ
เป็ นได้ท้ งั หม้อแปลง 1 เฟสหรื อหม้อแปลง 3 เฟส

2.4.2 การพิจารณาทฤษฎีพนื้ ฐานของหม้ อแปลงในอุดมคติ


หม้อแปลงที่ขดลวด 2 ขดอยูก่ นแกนแม่เหล็กเดียวกัน ดังแสดงในภาาที่ 2.5 โดย
ประกอกด้วยขดลวดปฐมภูมิ N1 รอก และขดลวดทุติยภูมิ N2 รอก

ภาาที่ 2.5 หลักการเกื้องต้นของหม้อแปลง

เมื่อาิ จาีาความสัม าันธ์ของขดลวดหม้อแปลงในภาาที่ 2.5 ้าฟลัก๊ แม่ เหล็กในแกน


เหล็กที่คล้องขดลวดทั้งสองเป็ นฟังก์ชนั ไซนูซอยด์ สมการแรงดันเหนี่ยวนาหม้อแปลงจะมีค่าเป็ น
E1 = 4.44f N1  m = 4.44 fN1Bm A (2.6)
และ
E 2 = 4.44f N2  m = 4.44 fN2Bm A (2.7)
เมื่อ
E1 คือ แรงดันเหนี่ยวนาในขดลวดปฐมภูมิ , volt
E2 คือ แรงดันเหนี่ยวนาในขดลวดทุติยภูมิ , volt
N1 คือ จานวนรอกของขดลวดปฐมภูมิ , รอก
N2 คือ จานวนรอกของขดลวดทุติยภูมิ , รอก
 m คือ ฟลัก๊ แม่เหล็กสู งสุ ดในแกนเหล็ก = Bm  A, Wb
Bm คือ ความหนาแน่นฟลัก๊ แม่เหล็กสู งสุ ด , Wb/ m
A คือ าื้นที่หน้าตัดสุ ทธิ ของแกนเหล็กหม้อแปลง, m
12

f คือ ความ ี่ ,Hz


สาหรักหม้อแปลงในอุดมคติขีะไม่มีโหลด จะมีความสัมาันธ์ของแรงดังนี้

V 1 = E1 และ V2 = E2 (2.8)
เมื่อ
V1 คือ แรงดันที่ข้ วั ของขดด้านปฐมภูมิ
V2 คือ แรงดันที่ข้ วั ทางด้านทุติยภูมิ
ดังนั้นจากสมการที่ 2.6 , 2.7 และ 2.8 จะได้อตั ราส่ วนการ ่ายโอนแรงดัน (Voltage
Transformation Ratio) ดังนี้

V1 E1 N1
a = = = (2.9)
V2 E2 N2

และในการาิจารีากระแสของหม้อแปลงอุดมคติมีความสัมาันธ์กกั แรงดันดังนี้
กาลังขาเข้า (Power Input) = กาลังขาออก (Power Output)
V1I1 = V2I2
ดังนั้น
V1 I2 N1 I2
= หรื อ = (2.10)
V2 I1 N2 I1

จะเห็นได้วา่ กระแสจะเป็ นอัตราส่ วนผกผันของอัตราส่ วนการ ่ายโอนแรงดัน

2.5 การใช้ หม้ อแปลงสาหรับเครื่องวัด (Use of Instrument Transformer) [5]

การที่จะวัดกระแสแรงดันกาลังและาลังงาน สามาร วัดด้วยเครื่ องมือวัดหรื อมิเตอร์ ซ่ ึ ง


ขนาดาอสมควร หรื อที่ใช้กนั อย่างกว้างขวางเป็ นเรื่ องสาคัญ เาราะการวัดกระแสหรื อแรงดันที่สูง
ๆ โดยตรงต้องใช้เครื่ องมือวัดขนาดใหญ่และใช้ค่าใช้จ่ายสู ง ทางการแก้ไขคือต้องทาการลดกระแส
หรื อแรงดันให้ต่าลงเสี ยก่อนแล้วค่อยทาการวัด การทาให้กระแสแรงดันลดลงนี้ตอ้ งใช้หม้อแปลงนี้
เอง ในภาาที่ 2.6 แสดงการวัดกระแสด้วยหม้อแปลงกระแสไฟฟ้ าโดยขดลวดปฐมภูมิ (Primary)
13

จะต่อเข้ากักสายไฟที่ มีกระแสไหลผ่านส่ วนขดลวดทุติยภูมิ (Secondary) จะต่อเข้ากักแอมมิเตอร์


หม้อแปลงกระแสไฟฟ้ าจะทาหน้าที่ลดกระแสลงให้อยูใ่ นย่านที่แอมมิเตอร์ วดั ได้

ภาาที่ 2.6 หม้อแปลงกระแสไฟฟ้ า

ในภาาที่ 2.7 แสดงการวัดแรงดันไฟฟ้ า (ความต่างศักย์) ด้วยหม้อแปลงแรงดันซึ่ งขดปฐมภูมิ


(Primary) ต่อเข้ากักจุดที่จะวัดแรงดันไฟฟ้ า ซึ่ งขดทุติยภูมิ (Secondary) ต่อเข้ากักโวลท์เตจมิเตอร์
หม้อแปลงแรงดันจะทาหน้าที่ลดแรงดันไฟฟ้ าลง ให้อยูใ่ นระดักของโวลท์เตจมิเตอร์ที่จะวัดได้

ภาาที่ 2.7 หม้อแปลงแรงดัน

มัก จะปรากฏให้ เห็ น อย่ า งกว้า งขวางที่ มี ก ารใช้ ก ระแสด้ ว ยชั้ นท์ ( Shunt) แล้ ว วัด
แรงดันไฟฟ้ าด้วยมัลติาลายเออร์ (Multipliers) ซึ่ งจะวัดได้เฉาาะไฟฟ้ ากระแสตรงซึ่ งวิธีน้ ี เหมาะ
สาหรักวัดค่าน้อย ๆ เท่านั้นซึ่ งหมายความว่าวิธีน้ ีมีขอ้ เสี ย
14

2.5.1 ข้ อเสี ยการใช้ ช้ ันท์ (Shunt)


1. การจะวัดให้ ได้ค่ าแม่ น ย าท าได้ย ากเาราะกระแสระหว่างมิ เตอร์ และชั้น ท์ (Shunt)
ขึ้นอยู่กกั ค่าเหนี่ ยวนาและความต้องการของทั้งสองส่ วนแม้ว่าการวัดด้วยชั้นท์ (Shunt) จะใช้ใน
ความ ี่ได้หลายความ ี่ แต่ก็เป็ นเรื่ องยากที่จะทาให้การวัดค่าออกมาได้แม่นยา
2. การวัดด้วยวิธีช้ นั ท์ (Shunt) นี้ มี ขอ้ จากัดในการวัดกระแสสู งวัดได้ไม่เกิ น 100 กว่า
แอมป์ เท่านั้น
3. ฉนวนที่มาใช้ในการใช้เครื่ องวัดและชั้นท์น้ นั ทาได้ยากสาหรักวัดกระแสสู ง
4. การวัดกระแสจากวงจรนั้นไม่สามาร แยกจากระกกจ่ายไฟได้

2.5.2 ข้ อเสี ยของมัลติพลายเออร์ (Multiplier)


มัลติาลายเออร์ สาหรักวัดแรงดันไฟฟ้ า ไม่เป็ นเรื่ องยากในการวัดแรงดันไฟฟ้ าที่มีค่าต่า
กว่า 1000 โวลท์ แต่มีขอ้ จากัดดังต่อไปนี้
1. กาลังงานที่สูญเสี ยโดยมัลติาลายเออร์ จะกลายเป็ นแรงดันที่เาิ่มขึ้นกาลังงานที่สูญเสี ย
ไปประมาี 7.5 วัตต์ (Watt) คือขีดจากัดของการวัดด้วยวิธีน้ ี
2. ต้องการกระแสรั่วไหลในแรงดันในแรงดันไฟฟ้ าสู งของมัลติ า ลายเออร์ ให้น้อยลง
ดังนั้นฉนวนของมัลติาลายเออร์ จึงสามาร ป้ องกันกระแสรั่วไหลและลดค่าประจุไฟฟ้ าซึ่ งเป็ นสิ่ ง
ยากสาหรักแรงดันไฟฟ้ าที่สูงกว่า 1000 โวลท์
3. การวัดแรงดันไฟฟ้ าในวงจรไม่สามาร แยกจากระกกจ่ายได้

2.5.3 ข้ อดีของหม้ อแปลงสาหรับเครื่องวัด


หม้อแปลงกระแสไฟฟ้ าและหม้อแปลงแรงดันมีความแม่นยาในการวัด และเป็ นที่นิยม
ใช้ตลอดต่อเนื่องจาก
1. เมื่ อเครื่ องวัดคุ มต้องใช้ต่อหม้อแปลงสาหรักเครื่ องวัด ค่าที่ อ่านได้ไม่ข้ ึ นกักค่าคงที่
เหล่านี้ (R, L, C) เหมือนชั้นท์ (Shunt) และมัลติาลายเออร์ (Multipliers)
2. หม้อแปลงกระแสไฟฟ้ าซึ่ งมี ขนาดมาตรฐาน 5 แอมแปร์ ที่ ขดทุ ติยภูมิ และหม้อ
แปลงที่ขดลวดทุติยภูมิ 100 ึง 120 โวลท์ มีอตั ราในการวัดตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ หรื อ า้ ใช้
อัตราส่ วนเกิ น 1000 / 5 สามาร วัดกระแสได้ ึง 1000 แอมป์ เช่ นเดี ยวกักหม้อแปลงแรงดัน า้
ใช้อตั ราส่ วน 66000 / 110 โวลท์ จะวัดแรงดันได้ ึง 66 กิโลโวลท์ เาราะ า้ ใช้หม้อแปลงวัดจะทา
ให้มีขนาดเล็กกระทัดรัด แต่สามาร วัดกระแสและแรงดันได้สูง
15

3. ด้วยขนาดมาตรฐานของหม้อแปลงกระแสไฟฟ้ าและหม้อแปลงแรงดันท าให้ล ด


ค่าใช้จ่ายลงได้
4. ในการวัดวงจรก็แยกออกจากระกกไฟฟ้ า กล่าวคือ มิเตอร์ จะต่อเข้ากักขดลวด ทุติย
ภูมิของหม้อแปลงวัดเป็ นการวัดแยกจากขดทุติยภูมิซ่ ึ งแรงดันสู ง โดยปกติกระแสไฟฟ้ าแรงสู งจะ
อยูใ่ นค่าระหว่าง 11000 โวลท์ ึง 2000โวลท์ ปกติสายส่ งกาลังแรงสู งมีค่าสู ง ึง 400000 โวลท์
า้ จาเป็ นที่ตอ้ งการวัดค่ากระแสและแรงดันของสายส่ ง ก็ตอ้ งมีมิเตอร์ อุปกรี์ ป้องกันรี เลย์หรื ออื่น
ๆ แต่เราไม่สามาร ที่จะนาสายส่ งมาต่อโดยตรงกักอุปกรี์ วดั เหล่ านั้น เาราะจะเป็ นอันตรายต่อ
กุคคลที่ทาการวัด
การแก้ไขโดยการนาหม้อแปลงวัดคุ มมาใช้ของทุติยภูมิของหม้อแปลงวัดคุ มต่อเข้ากัก
สวิท ซ์ และนาไปต่อเข้ากักอุ ปกรี์ วดั คื อ มิ เตอร์ แรงดันก็จะลดลงทาให้การวัดปลอดภัยมาก
ยิง่ ขึ้น

2.6 เบอร์ เดนของหม้ อแปลงกระแส [8]

วงจรที่ ต่ อ อยู่ ท างด้ า นขดลวดทุ ติ ย ภู มิ ข องหม้อ แปลงกระแสเรี ย กว่ า “เกอร์ เดน”


(Burden) เกอร์ เดนมี ความหมายเหมื อนโหลด (Load) เหตุ ที่ เรี ยกชื่ อแตกต่ างออกไปก็ เาื่ อให้
สามาร แยกแยะระหว่างโหลดที่อยูท่ างด้านปฐมภูมิและเกอร์ เดนที่อยูท่ างด้านทุติยภูมิไม่ให้เข้าใจ
ปะปนกัน ค่าของเกอร์ เดนกาหนดในเทอมของอิมาิเดนซ์ และค่าความต้านทานและรี แอคแตนซ์
ของวงจรทั้งสิ้ น ในสมัยก่อนค่าของเกอร์ เดนกาหนดในเทอมของโวลท์ - แอมป์ และตัวประกอก
กาลัง ซึ่ งหมาย ึ งค่าโวลท์ - แอมป์ ที่ ูกใช้ในเกอร์ เดนเมื่อมีกระแสไหลเท่ากักาิกดั กระแสทุติย
ภูมิ (มีค่าเท่ากักาิกดั กระแสทุติยภูมิยกกาลังสองคูีกักค่าอิมาิแดนซ์ของเกอร์ เดน)
ตัวอย่างเช่ น หม้อแปลงกระแสมี าิ กดั กระแสทุ ติยภูมิ 5 แอมแปร์ มี เกอร์ เดน 0.5
โอห์ ม มี ค วามหมายเหมื อ นกัก เกอร์ เดน 12.5 โวลท์ -แอมแปร์ ที่ ก ระแส 5 แอมแปร์ เป็ นต้น
ปั จจุกนั เลิกใช้เทอมโวลท์-แอมแปร์ แล้ว แต่จาเป็ นต้องทรากนิ ยามของเทอมนี้ ไว้เาราะว่าเอกสาร
เก่า ๆ ที่เกี่ยวข้องกักหม้อแปลงกระแสจานวนมากยังคงใช้เป็ นเอกสารอ้างอิงในปัจจุกนั
รี เลย์และมาตรวัดต่าง ๆ ที่ตอ้ งใช้งานร่ วมกักหม้อแปลงกระแสจะมีขอ้ มูลเกี่ยวกักเกอร์
เดนซึ่ งหาได้จากเอกสารของกริ ษทั ผูผ้ ลิต ค่าเกอร์ เดนนี้ รวมกักความต้านทานของสายคือเกอร์ เดน
รามของหม้อแปลงกระแส เกอร์ เดนรวมของหม้อแปลงกระแสมักจะมีค่าลดลงเมื่อกระแสที่ไหล
ในวงจรทุ ติยภูมิมีค่าสู งขึ้ น ทั้งนี้ เาราะว่าวงจรแม่เหล็กของรี เลย์หรื ออุ ปกรี์ อื่นมักมีการอิ่ มตัว
กางครั้งเอกสารของกริ ษทั ผูผ้ ลิตอาจให้ค่าเกอร์ เดนที่กระแสต่างๆ มาหลายค่า ในกรีี เช่นนี้จะเห็น
16

ได้ชัดเจนว่าการก าหนดเกอร์ เดนในเทอมของอิ ม าิ แดนซ์ ดีก ว่าการก าหนดในเทอมของโวลท์-


แอมแปร์
เกอร์ เดนของหม้อแปลงกระแสมักจะเป็ นแกกทาให้เกิ ดกระแสล้าหลังแรงดันเป็ นมุ ม
ค่อนข้างสู ง ดังนั้นโดยทัว่ ไปค่าอัตราส่ วนผิดาลาดจะมีค่าสู งและมุมเฟสที่ผิดาลาดจะมีค่าต่า จึง
มักจะคานวีค่าอัตราส่ วนผิดาลาดเาียงค่าเดียว แล้วตรวจดูวา่ ค่านี้ ไม่สูงเกินไป เาื่อความสะดวก
และความรวดเร็ วจะนาเอาค่ าเกอร์ เดนที่ เป็ นอิ ม าิ แดนซ์ มากวกกันทางาี ชคีิ ตเลยแล้วใช้อิม าิ
แดนซ์ ที่ได้น้ ี ไปคานวีอัตราส่ วนผิดาลาด ผลลัา ธ์ ที่ ได้จะด้อยกว่าที่ เป็ นจริ งซึ่ งเท่ากักว่าหม้อ
แปลงกระแสที่เราเลือกจะมีความแม่นยากว่าที่ตอ้ งการเป็ นการเผื่อไว้ในกรีี ที่มีหม้อแปลงกระแส
มากกว่าหนึ่ งตัวต่อกันโดยที่กระแสหม้อแปลงกระแสแต่ละตัวอาจรวมกันหรื อหักล้างกันในส่ วน
ของวงจรที่ร่วมกันจะต้องคานวีแรงดันในแต่ละส่ วนของวงจรแล้วนามารวมกันทางเวกเตอร์
้าเราทรากว่าค่าอิ มาิ เดนซ์ ของรี เลย์กระแสเกิ นที่ ค่าปลัก๊ เชทติ้งหรื อแทปหนึ่ งแล้วเรา
สามาร คานวีอิมาิเดนซ์เมื่อไปใช้ในแทปอื่นได้โดยง่าย ขดลวดของรี เลย์มีค่ารี แอคแตนซ์แปร
ผันเป็ นสัดส่ วนกักจานวนรอกยกกาลังสองและค่าความต้านทานแปรผันเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกัก
จานวนรอกโดยปกติค่าความต้านทานมีค่าต่าเมื่อเทียกกักค่ารี แอคแตนซ์ซ่ ึ งอาจคานวีอิมาิแดนซ์
ของรี เลย์โดย ือว่ามีค่าเป็ นสัดส่ วนกักจานวนรอกยกกาลังสอง แต่จานวนรอกของขดลวดแปรผัน
เป็ นสัดส่ วนกักกระแสาิคอัา ดังนั้นอิมาิแดนซ์ของรี เลย์แปรผันเป็ นสัดส่ วนกักกระแสาิคอัายก
กาลังสอง
โดยสรุ ปสั้นๆแล้วเกอร์ เดนของหม้อแปลงกระแสหมาย ึงโหลดที่ต่อกักขั้วของขดลวด
ทุติยภูมิ โดยระกุ หน่ วยเป็ น โวลท์ - แอมป์ (VA) และเาาเวอร์ แฟกเตอร์ หรื อค่าโอห์มที่เป็ นอิมาิ
เดนซ์ของโหลดหรื อ
Vs
ค่าอิมาิแดนซ์ของหม้อแปลงกระแส Zb = (2.11)
Is
เมื่อ Zb คือ อิมาิแดนซ์เกอร์ เดนของหม้อแปลงกระแส
้าอิ มาิ แดนซ์ ของเกอร์ เดนที่ ต่อกัก หม้อแปลงกระแสที่ มี ค่าเาิ่ ม ขึ้ นจะมี ผ ลให้แรงดัน
เหนี่ ยวนา Es เาิ่มขึ้นซึ่ งไปมีผลต่อความหนาแน่นของฟลัก๊ แม่เหล็กและกระแสกระตุน้ ดังนั้นผล
ของอิมาิแดนซ์ของเกอร์ เดนที่มีค่าสู งจะทาให้คลาดเคลื่อนในการทางานของหม้อแปลงกระแสมีค่า
สู งขึ้นด้วย
ตัวอย่างที่ 2.1 จงคานวีค่าโวลท์แอมป์ ทางออก ( VA Output ) ที่ตอ้ งการสัมผัส หม้อ
แปลงกระแสมีกระแสาิกดั ทุติยภูมิ 5 แอมแปร์ เกอร์เดนของหม้อแปลงกระแสประกอกด้วยรี เลย์
17

ที่ตอ้ งการ 10 โวลท์ – แอมแปร์ที่กระแส 5 แอมแปร์ และวงรอกของสายมีความต้านทานรวม 0.1


โอห์ม จงเลือกขนาดหม้อแปลงกระแสที่เหมาะสม

ภาาที่ 2.8 วงจรทุติยภูมิของหม้อแปลงกระแสในตัวอย่างที่ 2.1


วิธีการคานวีหาขนาดของหม้อแปลงกระแสไม่จาเป็ นต้องคานวีอย่างละเอียด ูกต้องนัก อาจ
คานวีอย่างคร่ าวๆดังแสดงต่อไปนี้
โวลท์-แอมป์ ที่ตอ้ งการจ่ายให้ความต้านของสาย = I2 R
= 52  0.1 = 2.5 VA
รี เลย์ที่ตอ้ งการ 10 โวลท์แอมแปร์
เาราะฉะนั้นโวลท์แอมแปร์ ทางออกที่ตอ้ งการรวม = 10 + 2.5 = 12.5 VA
ค่ามาตรฐานของาิกดั ทางออกได้แก่ 2.5 , 5 , 10 , 15 ,20 , 30 เป็ นต้น ดังนั้นเลื อกหม้อแปลง
กระแสที่มีาิกดั ทางออก 15 โวลท์แอมแปร์ และกระแสทุติยภูมิ 5 แอมแปร์
ตัวอย่างที่ 2. 2 กาหนดให้หม้อแปลงกระแสมีาิกดั กระแสทุตยภูมิ 5 แอมแปร์ า้ รี เลย์กิน
ไฟ 2 โวลท์-แอมแปร์ ที่มีปลัก๊ เชทติ้ง 2.5 แอมแปร์ จงคานาีโวลท์แอมป์ ประสิ ทธภาาผลของ
เกอร์ เดนที่มีต่อหม้อแปลงกระแส
Pe = Pr ( I s )2
Ir

Pr = โวลท์แอมป์ เกอร์ เดนของรี เลย์ที่เซทติ้ง 2.5 แอมแปร์


Pe = โวลท์แอมแปร์ประสิ ทธิผลของเกอร์เดน
Is = าิกดั กระแสทุติยภูมิของหม้อแปลงกระแส
Ir = กระแสเซทติ้ง = 2.5 แอมแปร์
2
เาราะฉะนั้น Pe = 2  5 

 2. 5 
= 8 โวลท์-แอมแปร์
18

เาราะฉะนั้นหม้อแปลงกระแสเลือกใช้มีาิกดั ทางออก 10 โวล์ท – แอมแปร์


ตัวอย่างที่ 2.3 หม้อแปลงกระแสตัวหนึ่ งมีอตั ราส่ วนกระแส 300 / 5 แอมแปร์ มีเกอร์
เดน 10 โวล์ท-แอมแปร์ คล้องต่อในสายของระกกไฟฟ้ ากาลังที่มีอิมาิแดนซ์สมมูลย์ z = 21.2
โอห์ ม แรงดันของระกกคือ 11 กิ โลโวลท์ จงวาดวงจรสมมูลย์ทางด้านทุติยภูมิของหม้อแปลง
กระแส กาหนดให้ความต้านทานของหม้อแปลงกระแสคือ 0.2โอห์ม และวงจรกระตุน้ ของหม้อ
แปลงกระแสมีความต้านทาน 150  ต่อขนานกัน
อิมาิแดนซ์ของรี เลย์ = (10 VA)
2
= 0.4 
5
เราอาจวาดวงจรสมมูลย์ดงั แสดงในรู ปที่ 2.9 2.10 และ 2.11 ตามลาดัก

ภาาที่ 2.9 วงจรจริ งของหม้อแปลงกระแสที่ต่อคล้องเข้ากักระกกไฟฟ้ ากาลัง

ภาาที่ 2.10 หม้อแปลงกระแสในภาาที่ 2.9 แทนด้วยวงจรหม้อแปลงกระแสอุดมคติต่อกักอิมาิ


แดนซ์กระตุน้ ความต้านทานของหม้อแปลงกระแสและเกอร์ เดน 0.4 โอห์ม
19

ภาาที่ 2.11 วงจรสมมูลย์ทางด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงกระแส

า้ เราาิจารีาวงจรในภาาที่ 2.11 และสังเกตค่าอิมาิแดนซ์ในส่ วนต่าง ๆ แล้วเราอาจ


สรุ ปสมกัติ (Properties) ของหม้อแปลงกระแสทัว่ ๆไปดังนี้
1. อิมาิแดนซ์ ของเกอร์ เดนเปลี่ ยนแปลงไม่มากนักกระแสทุติยภูมิก็จะเปลี่ ยนแปลงไม่
มากนักเช่ นเดี ยวกันเช่น เกอร์ เดนซ์มีค่าเาิ่มขึ้นเท่าตัวหรื อลดลงเท่าตัวกระแสทุติยภูมิก็จะยังคงมี
ขนาดใกล้เคียงค่าเดิม
2. ในขีะที่มีกระแสทางด้านปฐมภูมิวงจรทางด้านทุติยภูมิจะต้องไม่ ูกตัดตอน า้ วงจร
ด้านทุติยภูมิเกิดเปิ ดวงจรแรงดันระหว่างขั้วของหม้อแปลงกระแสอาจมีค่าสู งเนื่ องจากกระแสปฐม
ภูมิที่ ่ายทอดไปทางด้านทุติยภูมิจะไหลได้เฉาาะในวงจรแม่เหล็กได้เท่านั้น
3. เราอาจคานวีอัตราส่ วนผิดาลาดและมุมเฟสผิดาลาดได้ง่ายดาย า้ เราทรากค่าเกอร์
เดนและลักษีะทางแม่เหล็ก ( Magnetizing Characteristic) ของหม้อแปลงกระแส

2.7 เส้ นโค้งสมบัติแม่ เหล็ก (Magnetization Curve) [8]

เส้ นโค้งสมกัติแม่เหล็กของหม้อแปลงกระแสนั้นมีรูปร่ างคล้ายเส้นโค้งสมกัติแม่เหล็ก


ของหม้อแปลงหรื อเครื่ องจักที่ มีแกนทาจากเหล็ก โดยทัว่ ไปมี กราฟของ B กัก H เป็ นไปตาม
ภาาที่ 2.12 ซึ่งสามาร จาแนกออกได้เป็ น 4 กริ เวี คือ
20

ภาาที่ 2.12 เส้นโค้งสมกัติแม่เหล็กของหม้อแปลงกระแส


จุดที่สาคัญก็คือจุดหัวเข่า (Knee region) เป็ นจุดหนึ่งในกริ เวีหัวเข่าซึ่ ง า้ ค่าของ B ที่
จุดนั้นเาิ่มขึ้น 10 % ค่าของ H จะเาิ่มขึ้น 50 % าอดี หม้อแปลงกระแสสาหรักการป้ องกัน
โดยทัว่ ไปจะออกแกกให้เมื่อมีกระแสฟอลต์สูงสุ ดฟลัก๊ ที่สร้างขึ้นจะไม่เลยจุดเข่าของลักษีะ
สมกัติแม่เหล็กก่อน ึงกริ เวีอิ่มตัวค่าความหนาแน่นฟลัก๊ ภายในแกนเหล็กจะแปรผันเป็ นสัดส่ วน
โดยตรงกักค่าแอมแปร์ -รอก (โดยประมาี) ในกริ เวีอิ่มตัวค่าความเหนี่ยวนาแม่เหล็ก
(Magnetizing Inductance)จะมีค่าต่ าและกระแสที่ ่ายทอดจากทางด้านปฐมภูมิจะสู ญเสี ยไปวงจร
กระตุน้ มากและแรงดันทางออกของหม้อแปลงกระแสจะลดต่าลงมาก
ตัวอย่างของค่า ๆ เส้นโค้งสมกัติแม่เหล็กของหม้อแปลงกระแสได้แก่ค่าในตารางที่ 2.1
ซึ่ งแกนเหล็ ก ของหม้อ แปลงกระแสท าจากแผ่ น เหล็ ก ชนิ ด CROSS (Cold Rolled - grain
Oriented Steel) มีอตั ราส่ วนกระแส 500/ 1 า้ คูี B ด้วย 272 จะให้ค่าแรงดันทุติยภูมิและคูี
ค่าของ H ด้วย 0.00208 จะได้ค่ากระแสหล่อเลี้ ยงสนามแม่เหล็ก ค่าแรงดันทุติยภูมิและกระแส
หล่อเลี้ยงสนามแม่เหล็กนี้สามาร นาไปใช้คานวีอัตราส่ วนผิดาลาดที่กระแสปฐมภูมิค่าต่างๆ
21

ตารางที่ 2.1 ตัวอย่างของค่าต่างๆ ในเส้นโค้งสมกัติแม่เหล็ก

H
(แอมแปร์ -รอบ/เมตร) 4 8 16 3 24 40 48
B
(เทสล่ า) 0.05 0.15 0.50 1.00 1.30 1.42 1.50
H
(แอมแปร์ -รอบ/ 56 64 72 80 200 400 1000
เมตร)
B
(เทสล่า) 1.56 1.60 1.64 1.67 1.71 1.75 1.8

2.7.1 การคานวณความแม่ นยาของหม้ อแปลงกระแสโดยใช้ เส้ นโค้ งสมบัติแม่ เหล็ก


จากวงจรสมมูลย์ของหม้อแปลงกระแสจะเห็ นได้วา่ กระแสปฐมภูมิที่ ่ายทอดไปสู่ วงจร
ทุติยภูมิคือ I p /N ส่ วนหนึ่ งของกระแส I p / N จะ ูกจ่ายให้กกั วงจรกระตุน้ สนามแม่เหล็กเราทราก
ว่ากระแสกระตุ ้นสนามแม่ เหล็ก ส่ วนที่ เหลื อคื อกระแสทุ ติยภู มิ Is ที่ ไฟจริ งจากเส้ นโค้งสมกัติ
แม่ เหล็ ก เราทรากว่ า กระแสกระตุ ้น Is เป็ นฟั ง ก์ ชั น ของแรงดั น กระต้ น ทุ ติ ย ภู มิ ( Secondary
Excitation Voltage ) E s และอิมาิแดนซ์ของวงจรกระตุน้ Ze ในขีะเดียวกันกระแสทุติยภูมิ Is
ก็เป็ นฟั งก์ชนั ของแรงดัน E s กักอิมาิแดนซ์ รวมของเกอร์ เดนในวงจรทุ ติยภูมิ อิมาิแดนซ์วงจร
ทางด้านปฐมภูมิ มี ผลต่ อขนาดกระแสปฐมภู มิ เท่ านั้น แต่ ไ ม่ มี ผ ลต่ อค่ าอัตราส่ วนผิดาลาด เมื่ อ
กาหนดเส้นโค้งสมกัติแม่เหล็กของหม้อแปลงกระแสให้เราสามาร คานวีหาอัตราส่ วนผิดาลาด
ได้ตามลาดักดังต่อไปนี้ โดยการสมมุติค่ากระแสทุติยภูมิ Is ทีละค่าแล้วคานวีแรงดันทุติยภูมิ E s
จาก Is( Zcr +Zb ) จากค่า E s อ่านค่า Ie จากกราฟเส้นโค้งสมกัติแม่เหล็ก ผลรวมของ Ie กัก Is
คือ I p /N และอัตราส่ วนผิดาลาดอาจคานวีโดยประมาีจาก ( NIe / I p )  100 นาเอาค่า E s ,
I p และอัตราส่ วนผิดาลาดหลายๆค่าที่ Is ต่างๆ กันมาลงไว้ในตารางเรี ยงลาดัก เมื่อทรากค่า I p
ก็สามาร เทียกค่าจากตารางหาค่า E s , Is และอัตราส่ วนผิดาลาดได้
การคานวีความแม่นยาของหม้อแปลงกระแสโดยใช้เส้ นโค้งสมกัติแม่เหล็กดังกล่ าว
ข้างต้นใช้ได้เฉาาะเมื่อขนาดของกระแสหรื อค่าของเกอร์ เดนเป็ นไปโดยที่ค่าอัตราส่ วนผิดาลาดมี
ค่าประมาีไม่มากกว่า 10 % า้ อัตราส่ วนผิดาลาดสู งกว่า 10 % รู ปคลื่นของกระแสกระตุน้ จะ
เาี้ยนซึ่ งมี ผลให้กระแสทุ ติยภูมิเาี้ ยนไปด้วย ทั้งนี้ เาราะแกนเหล็กของหม้อแปลงกระแสอิ่ มตัว
ผลลัาธื ที่ไดจากการคานวีโดยวิธีขา้ งต้นเชื่ อ ื อไม่ได้เาราะการคานวีตั้งอยูก่ นสมมุติฐานที่ว่า
รู ปคลื่นของกระแสเป็ นรู ปคลื่นซายน์และการอิ่มตัวของหม้อแปลงกระแสทาให้เกิดความไม่เป็ นเชิ ง
22

เส้ นขึ้ นกระแสปฐมภูมิยิ่งมี ขนาดสู งขึ้ นเท่าใดผลลัธ์ที่ได้ก็ยิ่งไม่ตอ้ งมากขึ้นเท่านั้น และ ึ งแม้ว่า


คนเราจะสามาร คานาีค่ากระแสและรู ปคลื่นได้อย่าง ูกต้องก็ยงั คงไม่ทรากว่ารี เลย์จะตอกสนอง
ต่อกระที่ ไม่เป็ นรู ปซายน์อย่างไรในคลื่ นได้อย่าง ูกต้องก็จะยังไม่ทรากว่ารี เลย์จะตอกสนองต่อ
กระแสที่ ไ ม่ เป็ นรู ป ซายน์ อ ย่ า งไรในกรีี เช่ น นี้ วิ ธี ที่ เหมาะสมก็ ท าได้โ ดยการทดสอกดู ก าร
ตอกสนองต่อกระแสของรี เลย์จากขนาดกระแสจริ งๆ

2.8 คุณลักษณะของหม้ อแปลงกระแส [3]

2.8.1 เพาเวอร์ แฟคเตอร์ (p.f.) ของเบอร์ เดน (Burden) และค่ าผิดพลาดทางด้ านทุติยภูมิ
อัตราส่ วนผิดาลาด (Error Ratio) จากการสังเกตากว่า เกอร์ เดน (Burden) เหนี่ ยวนาของ
กระแสทุติยภูมิ (I5) จะล้าหลังแรงเคลื่อนที่เหนี่ยวนาของทุติยภูมิ (ES) ดังนั้น ค่า  จะมีค่าเป็ นกวก
ซึ่ งภายในสภาาเช่นนี้ อตั ราส่ วนการแปลงจะมากกว่าอัตรารอกเสมอ แต่ า้ เกอร์ เดนเหนี่ ยวนาของ
กระแสทุติยภูมิ (I5) นาหน้าแรงเคลื่อนเหนี่ ยวนาของทุติยภูมิ (ES) แล้ว  จะมีค่าเป็ นลก อัตราส่ วน
การแปลงจะน้อยกว่าอัตราส่ วนและค่า  มีค่าประมาี -90๐
มุมเฟส (Phase Angle) จากตัวอย่างสมการ 2.17 จะากว่า ค่าเกอร์ เดนเหนี่ยวนาและมุมเฟส
จะเป็ นกวก และค่ า  จะมี ค่ า น้อ ย (p.f ของขดทุ ติย ภู มิ สู ง ) แต่ จ ะกลายเป็ นค่ า ลกเมื่ อ เกอร์ เดน
เหนี่ยวนามีค่ามากขึ้น และมีค่าประมาี 90๐ สาหรักค่า  า้ เป็ นลก มุมเฟสจะเป็ นกวกเสมอ
อีกทางหนึ่ งที่จะอธิ กาย ก็คือ ค่าเหนี่ ยวนาของเาาเวอร์ แฟคเตอร์ ทุติยภูมิจะเาิ่มขึ้นมุมซึ่ ง
ต้องนาเฟสเซอร์ nIS และ IO มาปิ ดแต่ละด้าน (จากภาาที่ 2.17) และค่า IS เาิ่มขึ้นจะทาให้อตั ราการ
แปลงสู งขึ้น อัตราส่ วนผิดาลาดก็มีค่าเป็ นลกมากขึ้ น ดังนั้น ค่า IP และ nIS ก็จะลดลงมุ มเฟสก็จะ
ลดลง ทาให้ค่ากวกน้อยลงด้วย ค่าเาาเวอร์ แฟคเตอร์ ของ Lagging ทุติยภูมิ
การเปลี่ยนของอัตราการแปลง (a) และมุมเฟส () รวมทั้งจะแสดงไว้ในภาาที่ 2.14 มัน
ควรจะกันทึ กว่า อัตราส่ วนและมุ มของการเหนี่ ยวนาแม่เหล็กและการสู ญเสี ยส่ วนประกอกของ
กระแสกระตุน้ เท่ากักมุมเฟสของวงจรทุ ติยภูมิ เาราะฉะนั้นจากข้อมูลเกื้ องต้นและกราฟสามาร
นาไปใช้เป็ นค่าขนาดความต้านทานคงที่ของทุติยภูมิ
23

ก. Variation of Transformation Ratio

ข. Phase angle with p.f. of Secondary


Winding Circuit
ภาาที่ 2.13 Variation and Phase angle of Transformation

2.8.2 ผลของกระแสปฐมภูมิทเี่ ปลีย่ นแปลง (Effect of Change of Primary Current)


า้ กระแสปฐมภูมิที่เปลี่ ยนแปลง เป็ นสัดส่ วนกักกระแสทุติยภูมิที่เปลี่ ยนค่าของกระแส
ปฐมภู มิ (IO) หรื อค่ า ของกระแสทุ ติ ย ภู มิ (I5) จะต่ ากว่า กระแสกระตุ ้น (Im) และกระแสสู ญ เสี ย
ส่ วนประกอก (I0) ก็จะเป็ นสัดส่ วนมากขึ้น นัน่ คือ กระแสปฐมภูมิ (I0) เาิ่มกระแสทุติยภูมิ (I5) ก็จะ
เาิ่ม จะท าอัตราส่ วนผิดาลาด และมุ มเฟสมี ค่าลดลงจะทาความเข้าใจได้ชดั เจนจากสมการ 2.14
และ 2.15 การเปลี่ยนแปลงของอัตราส่ วนผิดาลาดและมุมเฟส เมื่อเทียกกักกระแสทุติยภูมิ แสดงไว้
ในภาาที่ 2.14 และ 2.15)

ภาาที่ 2.14 Variation of Ratio R with Secondary Current


24

ภาาที่ 2.15 Variation of phase angle with secondary current

2.8.3 ผลของการเปลีย่ นเบอร์ เดนทุติยภูมิ (Effect of Change in Secondary Burden)


ในการเาิ่มของความต้านทานเกอร์ เดนทุติยภูมิหมายความว่า อัตราโวลท์แอมป์ เาิ่มขึ้นการ
เาิ่มของแรงดันเหนี่ ยวนาทุ ติยภูมิ สามาร เาิ่มได้โดยการเาิ่มฟลัก๊ และความหนาแน่ นของฟลัก๊
เาราะฉะนั้นกระแสความเหนี่ ยวนาแม่ เหล็ก (Im) และ (I0) ก็ จะเาิ่ ม ขึ้ น ซึ่ งาอคาดได้ว่าค่าความ
ผิดาลาดก็ จะเาิ่ ม ด้วย เาราะค่ าของเกอร์ เดนทุ ติย ภู มิ เาิ่ ม แต่ โดยทั่วไปแล้วเกอร์ เดนเาิ่ ม จะไม่
เาียงแต่ทาให้อตั ราส่ วนการเปลี่ ยนแปลงเาิ่มเท่านั้น แต่จะทาให้มุมเฟส ระหว่างกระแสทุ ติยภูมิ
และกระแสปฐมภูมิเลื่อนออกไปด้วย มีค่าเป็ นกวกมากขึ้นแสดงไว้ในภาาที่ 2.15 และ 2.16

2.8.4 ผลของความถี่ทเี่ ปลีย่ นแปลง (Effect of Change of Frequency)


ผลของความ ี่ เาิ่มขึ้น จะเป็ นสัดส่ วนผกผันกักความหนาแน่ นของฟลัก๊ โดยทัว่ ไปแล้ว
ผลของความ ี่ที่เาิม่ ก็จะคล้ายกักทาให้ค่าความต้านทานของเกอร์ เดนทุติยภูมิลดลง
หม้อแปลงกระแสไฟฟ้ า ไม่ค่อยใช้ความ ี่มาเป็ นตัวาิจารีาในการออกแกกเหมือนหม้อ
แปลงประเภทอื่น เาราะฉะนั้นผลความ ี่จึงไม่ค่อยสาคัญ

2.8.5 สาเหตุของการเกิดค่ าผิดพลาด (Causes of Errors)


หม้อแปลงอุดมคติ ค่าอัตราส่ วนการเปลี่ยนแปลงจะต้องเท่ากักค่าอัตราส่ วนรอก และมุม
เฟสต้องเป็ นศูนย์ แต่เนื่ องจากขีดจากัดของทางด้านกายภาา (ฟิ สิ กส์ ) ทาให้เกิดค่าผิดาลาดได้ดงั นี้
1. เกิดกระแสกระตุน้ (Exciting) ที่ขดปฐมภูมิสร้างฟลัก๊ ขึ้น จึงทาให้หม้อแปลงมีกระแส
เหนี่ยวนาแม่เหล็กขึ้น (Im)
25

2. อินาุทหม้อแปลงจะต้องมีส่วนประกอกซึ่ งทาให้เกิดการสู ญเสี ยที่แกนเหล็กและการ


สู ญเสี ย I2R ของขดลวดหม้อแปลง เาราะฉะนั้นการสู ญเสี ยส่ วนประกอก I0 จึงเป็ นส่ วนหนึ่ งของ
การสู ญเสี ยที่เกิดขึ้นจากฟลัก๊ และการสู ญเสี ยที่ขดลวดก็ข้ ึนอยูก่ กั กระแสที่ไหลผ่าน (I0)
3. ความหนาแน่ นของฟลัก๊ ที่แกนเหล็กไม่ลิเนี ยร์ แรงเหนี่ ยวนาแม่เหล็ก เช่ น แกน เหล็ก
อิ่มตัวแล้ว
4. เกิดการสู ญเสี ยของสนามแม่เหล็กเสมอ ซึ่ งการสู ญเสี ยฟลัก๊ ของปฐมภูมิจะไม่เท่ากัก
การสู ญเสี ยฟลัก๊ ทุติยภูมิ

2.8.6 การลดค่ าสู ญเสี ย (Reduction of Errors)


สาหรักชนิ ดของเกอร์ เดน (Burden) ความแตกต่างระหว่างอัตราส่ วนการแปลงจริ ง กัก
อัตราส่ วนรอกขึ้นอยูก่ กั ค่าสู ญเสี ยส่ วนประกอก (I0) อย่างมากและมุมเฟสของหม้อแปลงขึ้นอยูก่ กั
ขนาดของกระแสเหนี่ ยวนาแม่เหล็ก (Im) า้ จะให้ชดั เจน อัตราส่ วนการแปลงใกล้เคียงกักอัตราส่ วน
รวก และมุมเฟสมีค่าน้อย (I0) และ (Im) จะต้องน้อยลงเมื่อเทียกกักกระแสปฐมภูมิ (Ip)
ตัวอย่างสาหรักการออกแกก
2.8.6.1 แกนเหล็ก (Core) ในการทาให้มีค่าผิดาลาดน้อยที่สุดจะต้องทาให้ขนาดกระแส
เหนี่ ยวนาแม่เหล็ก (Im) และการสู ญเสี ยส่ วนประกอก (I0) จะต้องมี ค่าน้อย ซึ่ งหมายความว่าแกน
เหล็กต้องมี ค่ารี ลกั ซ์ แต๊นท์ และการสู ญเสี ยแกนเหล็กต่ า การลดค่ารี ลกั ซ์ แต๊นท์ การลดค่ารี ลกั ซ์
แตนท์ของทางเดินฟลัก๊ ทาได้โดยการใช้วสั ดุที่มีค่าซึ มผ่านได้สูง ทางเดินของเส้นแรงแม่เหล็กต้อง
สั้น ภาตัดของแกนเหล็กต้องใหญ่ และมีค่าความหนาแน่นของฟลัก๊ ต่า
ปั จจุกนั วัสดุที่นามาทาเป็ นหม้อแปลงกระแส แก่งได้เป็ น 3 ประเภท คือ
1. เหล็กซิลิกอนที่เป็ นลักษีะกลมร้อน (Hot Rolled Silicon Steel)
2. เหล็กซิลิกอนที่เป็ นลักษีะกลมเย็น (Cold Rolled Silicon Steel)
3. เหล็กผสมนิเกิล (Nickel Iron Alloys)
ในทางปฏิ กตั ิหม้อแปลงกระแสใช้เหล็กซิ ลิกอนลักษีะกลมร้อน (Hot Rolled Silicon
Steel) จะ ูกนามาทาหลายรู ปร่ าง รู ปวงแหวนจะเป็ นที่ใช้ทวั่ ไปสาหรักแกก T-U, L หรื อ E และ I ก็
สามาร ใช้ได้ แต่ า้ มีคุีภาาสู งสุ ดต้องมีรูปร่ างเป็ นวงแหวน ซึ่ งลักษีะเป็ นทรงกระกอก ดังภาา
ที่ 2.16 แกน Employs ซึ่ งเป็ นลักษีะที่ขดเป็ นวงกลมเหมือน Look Spring (ภาาที่ 2.17) วิธีแกน
เหล็กจะมีทางเดินของได้ดีและค่ารี แอคแต๊นท์ (Reluctance) จะน้อยลง ข้อดี ของแกนแกกขดนี้ เป็ น
วงนี้จะทาให้ขอ้ ต่อลดลงไปได้หมด
26

ภาาที่ 2.16 Ring Type Core ภาาที่ 2.17 Spiral Type Core

แกนเหล็กนิ กเกิ ลมีความซึ มซากได้สูงจึง ูกนามาใช้เป็ นหม้อแปลงกระแส Mimetal (มี


นิเกิล 76%) มักนามาทาเป็ นแกนเาราะมีคุีสมกัติการซึ มซากที่ดีมีค่าสู ญเสี ยน้อย และค่าความเก็ก
ความร้อนต่าด้วย ทั้งหมดนี้ คือข้อดีของหม้อแปลงกระแส แต่ค่าซึ มซากที่สูง (90000) จะทาให้เกิ ด
ความหนาแน่ น ของฟลั๊ก เาี ย ง 0.35 wb/m2 (เวเกอร์ /ตารางเมตร) (4500) แต่ ใ ห้ ค วามหนาแน่ น
ของฟลัก๊ เาียง 0.5 wb/m2 (เวเกอร์ /ตารางเมตร) เาราะเหตุน้ ี Munetal ไม่เาียงแต่นามาใช้เป็ นหม้อ
แปลงกระแสเาื่ อใช้งานเป็ นโอเวอร์ โหลดรี เลย์ แต่ ยงั มี ราคา ู ก อี ก ด้วย Perm ender (มี คาร์ ก อน
49%) มี ขอ้ ดี คือมี ความหนาแน่ นอิ่มตัวสู ง ตั้งแต่ 2 ึ ง 4 เวเกอร์ /ตารางเมตร ในขีะที่โลหะผสม
(Alloy) ที่มีความซึ มซากสู ง ก็มีความหนาแน่นอิ่มตัวเาียง 0.7-0.8 เวเกอร์ ต่อตารางเมตร
Hyperlink (เหล็ก 50% นิ เกิล 50%) มีค่าความซึ มซากสู ง ความหนาแน่นของฟลัก๊ ต่า และ
ความหนาแน่นอิ่มตัวสู งมาก เาราะฉะนั้นวัสดุชนิดนี้จึงนามาทาเป็ นหม้อแปลงกระแส
2.8.6.2 อัตรากระแสปฐมภูมิ (Primary Current Ratings)
แม้ว่าใช้หม้อแปลงกระแสต่อเข้ากักอุปกรี์ การใช้งาน สิ่ งที่อยากได้คืออัตราส่ วนของ
กระแสกระตุน้ (Exciting) กักกระแสปฐมภูมิควรจะมี ค่าน้อย นั้นหมายความว่าอัตราส่ วน m.m.f
ของแอ๊กไซเตชัน่ (Excitation) ต่อค่า m.m.f. ยังมีค่าน้อย แต่ให้การทางานเป็ นประสิ ทธิ ภาาดีข้ ึน ซึ่ ง
หมายความว่าก็ตอ้ งเาิ่มค่ากระแสปฐมภูมิเาิ่มขึ้น แนวทางแก้ไขที่ดีคือ ค่าอัตรา m.m.f. ของปฐมภูมิ
จะใช้กกั กระแสในช่วง 500 แอมป์ ึงจะเหมาะสม เาราะฉะนั้น หม้อแปลงที่ใช้กระแส 500 แอมป์
หรื อมากกว่าจะใช้ขดปฐมภูมิขดเดี ยว ในขีะที่ ้าใช้กกั กระแสที่ ต่ ากว่า 500 แอมป์ ขดปฐมภูมิ
จะต้องมีหลายขด ทาให้แกนเหล็กต้องลดขนาดลงด้วย
แต่ดว้ ยการาัฒนาวัสดุของการเหนี่ยวนาแม่เหล็กและวิธีการาัฒนาความซึ มซากของแกน
เหล็กทาให้เราสามาร ใช้ขดปฐมภูมิเาียงขดเดียวกักกระแส 100 แอมแปร์ได้
2.8.6.3 ความต้านทานรั่ ว ไหล (Leakage Reactance) ค่ าความต้านทานรั่ ว ไหลขึ้ น กัก
อัตราส่ วนผิดาลาด เาราะฉะนั้นจะต้องให้ขดปฐมภูมิและขดทุติยภูมิอยูใ่ กล้กนั มากที่สุด เาื่อที่จะ
27

ลดค่าความต้านทานรั่วไหลที่ขดทุติยภูมิแกนเหล็กก็ตอ้ งใช้รูปร่ างแกกวงแหวน การาันลวดควราัน


แกก Toroidal ก็จะทาให้ลดค่าความต้านทานรั่วไหลได้
2.8.6.4 การชดเชยจานวนรอก (Turns Compensation) เรามีอตั ราส่ วนจริ งของการแปลง
a = n  (I0 / I5)
ด้วยเหตุน้ ี า้ เราทาอัตราส่ วนอัตราส่ วนในนาม (Nominal) ให้เท่ากักอัตราส่ วนรอกแล้ว
อัตราส่ วนจริ งของการแปลงก็จะมีค่ามากกว่าอัตราส่ วนในนามตอนนี้ า้ เราลดค่าอัตราส่ วนรอก
และรักษาค่าอัตราส่ วนในนามไว้เท่ากักค่าช่วงต้น ค่าอัตราส่ วนจริ งการแปลงก็จะลดลงนี้ เอง ที่ทา
ให้อตั ราส่ วนจริ ง การแปลงเข้าใกล้กกั ค่าอัตราส่ วนในนามเาื่อให้เข้าใจ ลองาิจารีาจากตัวอย่าง
ต่อไปนี้
หม้อแปลงกระแส 1000/5 แอมป์ ค่าสู ญเสี ยส่ วนประกอกมีค่า 0.6% ของกระแส Exciting
อัตราส่ วน Nominal Kp = 1000 = 200
5

ค่าสู ญเสี ยประกอก I0 =  0.6 


   1000 = 6 A
 100 
ให้จานวนรอกของปฐมภูมิ TP = 1
า้ ให้อตั ราส่ วนรอกเท่ากักอัตราส่ วน Nominal
n = 200
เาราะฉะนั้น ขดทุติยภูมิ TS = n
Tp = 200  1 = 200
อัตราส่ วนจริ ง a = n   I o  = 200   6 
 Is  5

า้ สมมติขดทุติยภูมิไม่ใช้ 200 แต่ใช้ 199 แทนอัตราส่ วนจริ งของการแปลงกักการชดเชย


จานวนรอก
a = n   I o 
 Is 
= 199   6 
5
= 200.2
ด้วยเหตุน้ ีเราจะเห็นว่า า้ ลดจานวนรอกขดทุติยภูมิค่าใกล้เคียงอัตราส่ วน Nominal
28

โดยปกติจานวนรอกของขดทุติยภูมิที่ดีที่สุดคือ มีค่าเท่ากัก 1 หรื อให้น้อยกว่า 2 เาื่อค่า


อัตราส่ วนจริ งของการแปลงมี ค่ าเท่ ากัก อัตราส่ วน Nominal ของหม้อแปลง มุ มเฟสจะผิดาลาด
น้อยลงขึ้นกักผลของการเปลี่ยนจานวนรอกทุติยภูมิ 1 รอก หรื อ 2 รอก
การแก้ไขโดยการลดจานวนรอกทุติยภูมิ เาื่อให้ค่ากระแสและความต้านทานของเกอร์
เดนเป็ นจริ งนี้ ในหม้อแปลงกระแสเราเรี ยกว่า การชดเชย (Compensated)

2.9 โครงสร้ าง (Construction) [3]

2.9.1 แบบวาวน์ (Wound)


เป็ นหม้อแปลงกระแสที่จะมีขดปฐมภูมิมากกว่าหนึ่งขด าักจนเต็มกนแกนเหล็ก

ภาาที่ 2.18 หม้อแปลงกระแส Wound Type

2.9.2 แบบบาร์ (Bar)


หม้อแปลงกระแสแกกการ์ น้ ี ขดปฐมภูมิจะประกอกด้วยการ์ที่มีขนาดาอเหมาะและแกก
รอกเป็ นส่ วนหนึ่ งของหม้อแปลง ภาาที่ 2.19 และ 2.20 แสดงหม้อแปลงแกกวาวน์ (Wound) และ
แกกการ์ (Bar) แกกของหม้อแปลงที่ ง่าย ๆ ที่ใช้ในหม้อแปลงกระแสจะทาลักษีะเป็ นวงแหวน
หรื อแกกหน้าต่าง ๆ ภาาที่ 2.27 แสดงแกกทัว่ ไปที่นิยมใช้คืน แกกสนาม (Stadium) แกกวงกลม
(Circular) และแกกสี่ เหลี่ ย ม (Rectangular) ส าหรั ก แกน ้า เป็ นโลหะผสมนิ เกิ ล หรื อ Oriental
29

Electric Steel มักจะใช้กกั หม้อแปลงแกก Wound แต่หม้อแปลงกระแสที่ใช้ Hot Rolled Steel จะ


ประกอกด้วยปอกวงแหวน แล้วค่อยาันขดลวดปฐมภูมิ หลังจากนั้นจะมีฉนวนหุ ้มอีกชั้น โดยการ
ใช้ Elephantine หรื อ าันรอก ๆ แม้วา่ แกนนี้จะมีฉนวนอยูต่ รงกลาง ก็ตอ้ งระวังขดทุติยภูมิจะสัมผัส
ได้ เนื่องจาก ูกทาลายทางด้านกล ขึ้นอยูก่ กั ความชันของมุม

ภาาที่ 2.19 หม้อแปลงกระแสแกก Bar Type

ก. ข. ค.
ภาาที่ 2.20 Stampings for Window Type Current Transformer
ก. Stadium ข. Circular ค. Rectangular

การาันขดลวดทุ ติยภูมิลงกนแกนจะท าด้วยเครื่ องาันลวด (Toroibal Winding Machine)


เว้นแต่การาันด้วยมื อยังเป็ นที่ นิยมสาหรักการาันในจานวนรอกน้อย ๆ หลังจากนั้นาันขดลวด
ทุติยภูมิลงกนแกนเสร็ จแล้วหม้อแปลงแกกวงแหวนก็จะาันด้วยเทปภายนอกอีกครั้ง
30

หม้อแปลงกระแสแกกวงแหวนมีลกั ษีะใกล้เคียงกักแกก Bushing Type ซึ่ งตามความ


เป็ นจริ งแล้วแยกไม่ออกจากหม้อแปลงวงแหวน แต่ตวั ที่จะใช้แยกได้ก็คือหม้อแปลงกระแสที่มีขด
ปฐมภู มิ ป้ องกัน ฉนวนด้ว ยน้ ามัน ที่ ป ลาย Bushing ของ Power Transformer หรื อ น้ ามัน Circuit
Breaker
หม้อแปลงแกนแกก Split แกนจะ ู กแยกออกเป็ นสองส่ วนโดยแต่ละส่ วนแยกโดยใช้
กราวด์หรื อช่ องว่างอากาศ (Lopped Gap Faces) หม้อแปลงกระแสแกกนี้ จะใช้เป็ นตัวนาทางปฐม
ภูมิ (On Sice) สาหรักการทาเป็ นตัวนา าวรหรื อชัว่ คราว
ในหม้อแปลงกระแสแกกการ์ แกนและขดลวดทุติยภูมิจะเหมือนกักแกกวงแหวนแต่ขด
ปฐมภูมิเาี ยงขดเดี ยวและฉนวนตลอดตัวนาการ์ ฉนวนกนตัวนาปฐมภูมิอาจเป็ นหลอดกระดาษ
หรื อเรซิ นห่อหุ ม้ โดยตรงและติดตั้งกนการ์
หม้อแปลงกระแสแกกวาวน์ที่ใช้สาหรักโวล์ทเตจต่าขดลวดทุติยภูมิจะาันกนแกนแกก
เกอร์ ไรด์ (Beaker rite) หรื อก๊อกกิ้น (Bobbin) และตัวนาปฐมภูมิ า้ ไม่านั ทักขดทุติยภูมิที่มีฉนวน
เหมาะสมหุ ้มไว้ที่านั แยกโดยใช้เทปหรื อวัสดุ ที่เป็ นฉนวนาันรวมกันกนแกนเดี ยวกันในการผลิ ต
หม้อแปลงกระแสแผ่นเหล็กกาง ๆ ที่นามารวมกัน ต้องการอะไรก้างเป็ นสิ่ งที่ตอ้ งาิจารีามากกว่า
หม้อแปลงธรรมดา เาื่อที่ จะท าให้ค่า Reluctance ต่ าลงและ ้าจะท าให้กระแสเหนี่ ยวนาแม่เหล็ก
น้อยที่สุด กางครั้งก็ตอ้ งใช้วิธีตดั แกนเมื่อไหร่ ก็ตามที่านั ขดลวดทุติยภูมิ ควรจะาันให้ตลอดความ
ความยาวของแกนขดลวดทุติยภูมิควรมีช่องว่างที่เหมาะสมในเวลาาัน และฉนวน
ระหว่างทุติยภูมิกกั แกนควรจะมีความต้านทานโวล์เตจได้สูง ในกรีี า้ ขดลวดทุติยภูมิ
เกิ ดวงจรขาดและขดปฐมภูมิยงั มีกระแสไหลผ่านอยู่และในกรีี จานวนรอกของขดทุติยภูมิมากก็
ต้องาันหลายชั้น เทคนิ คการาันขดทุติยภูมิเป็ นส่ วน ๆ จะ ูกนามาใช้เาื่อลดค่าาีค (Peak) โวล์เตจ
ระหว่างชั้นลงได้ ส่ วนการาันขดปฐมภูมิของหม้อแปลงกระแสไม่ค่อยจะมีปัญหามากนักแต่มนั มี
ความส าคัญ ที่ ต้องายายามให้ ข ดปฐมภู มิ และขดทุ ติยภู มิ อยู่ในตาแหน่ งที่ ดี เาื่ อท าให้ ค่ า Assail
Forces ของทั้งสองขดน้อยที่สุดที่เกิดจากกระแสลัดวงจรที่ขดปฐมภูมิ
กระาันลวด (Windings) การาันขดลวดควรให้ใกล้กนั มากที่สุด เาื่อลดค่าความต้านทาน
รั่วไหลของทุติยภูมิ เาราะค่าความต้านทานรั่วไหลนี้ เาิ่มมากขึ้นจะทาให้เกิ ดค่าความผิดาลาดมาก
ขึ้นด้วย ลดทองแดงขนาดาื้นที่หน้าตัดประมาี 3 ตารางมิลลิเมตร ูกใช้ก่อยในการาันขดทุติยภูมิ
ขนาด 5 แอมป์ ลวดทองแดงเปลื อย (Copper Strip) จะใช้ในการาันขดปฐมภูมิ สาหรักขนาดก็จะ
ขึ้นอยูก่ กั กระแสที่ไหลผ่านขดปฐมภูมิน้ นั เมื่อค่าใช้ปฐมภูมิแกก Bar เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกของ
หลอด จะต้องใหญ่าอที่จะเป็ นฉนวนไม่ให้แรงดันที่เาิ่มขึ้นออกมาสู่ ผิวนอกได้ การาันลวดก็ตอ้ ง
ออกแกกให้ดี แข็งแรง ทนทานต่อการ ูกทาลายโดยเฉาาะเมื่อเกิดการลัดวงจรจะต้องทนแรงที่เกิด
31

จากการลัดวงจรอย่างมาก เาื่อไม่ให้ระกกที่มีหม้อแปลงกระแสต่ออยูเ่ สี ยหายได้ การาันขดลวดก็


ต้องาันลักษีะแยกกันและมีฉนวนกั้น ซึ่ งอาจเป็ นเทปหรื อวานิช สาหรักหม้อแปลงที่ใช้กกั แรงดัน
ต่า า้ เป็ นหม้อแปลงสาหรักแรงดันสู งกว่า 7 kv ฉนวนก็จะต้องใช้เป็ นน้ ามันแทน

2.9.3 โครงสร้ างภายนอกของหม้ อแปลงกระแสแบบร้ อยสายผ่าน


หม้อแปลงกระแสแกกร้อยสายผ่าน หมาย ึง หม้อแปลงกระแสแกกที่มีานั ขดลวดทุติย
ภูมิกกั แกนเหล็กเท่านั้น สาหรักทางด้านปฐมภูมิน้ นั ใช้การร้อยสายไฟผ่านช่องเปิ ดทะลุที่ทาไว้ ซึ่ ง
มีอยูด่ ว้ ยกัน 3 แกก คือ
1. แกกร้ อ ยสายผ่ า นที่ มี ช่ อ งร้ อ ยสายเป็ นช่ อ งกลม (Epoxy Resin Mold) หม้อ แปลง
กระแสแกกช่องกลม เป็ นแกกที่ใช้กกั สายไฟหรื อสายเคเกิล้ ได้โดยการร้อยผ่านโดยตรงหม้อแปลง
กระแสแกกนี้ข้ วั k และ L ทางด้านปฐมภูมิจะอยูข่ า้ งเดียวกักขั้ว K และ I ของด้านทุติยภูมิตามลาดัก
ตามภาาที่ 2.21 หม้อแปลงกระแสแกกร้อยสายผ่านสามาร จะเปลี่ ยนอัตราการแปลงกระแสโดย
วิธีการร้อยสายผ่านดังภาาที่ 2.21

ภาาที่ 2.21 หม้อแปลงกระแสแกกร้อยสายผ่าน


32

2. หม้อแปลงกระแสแกกร้ อยสายผ่านแกกช่ องสี่ เหลี่ ยม (Epoxy Resin Mold Type) หม้อแปลง


กระแสแกกนี้ เป็ นแกกที่ช่องที่ให้ตวั นาทางด้านปฐมภูมิผา่ นมีรูปเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมเหมาะสมสาหรัก
ใช้กกั ตัวนาทางด้านปฐมภูมิที่เป็ นรู ปแ กทองแดง ดังภาาที่ 2.23 และ 2.24

ก.

ข.

ภาาที่ 2.22 หม้อแปลงกระแสแกกร้อยสายผ่านช่อง


ก.แกกร้อยสายผ่านช่องสี่ เหลี่ยมแนวตั้ง
ข.แกกร้อยสายผ่านช่องมีตวั นา
33

ภาาที่ 2.23 หม้อแปลงกระแสแกกร้อยสายผ่านแกกช่องสี่ เหลี่ยมแกกแนวนอน

3. หม้อแปลงกระแสแกกก้านตัวนา หม้อแปลงกระแสแกกนี้ เป็ นแกกที่ตวั นาด้านปฐมภูมิเป็ นก้าน


โลหะมีการาันเาียง 1 รอก ใช้สาหรักค่ากระแสปฐมภูมิที่มีค่า

2.10 แคลป์ ม - ออน แอมป์ มิเตอร์ (Clamp - on Ammeters) [3]

หม้อแปลงกระแสและลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน วงจรกริ ดจ์เร็ กติฟลายเออร์


และดี ซี แอมป์ มิ เตอร์ รวมกันทั้งหมดจะเป็ นอุ ป กรี์ ส าหรั กเป็ นมิ เตอร์ วดั ได้โดยแกนของหม้อ
แปลงสามาร แยกออกได้ โดยอาศัย Trigger Switch เาราะฉะนั้นแกนหม้อแปลงก็ ส ามาร จัก
(Clamp) กักลวดที่ มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน เาื่อทาการวัดกระแสได้และการปรักแต่งในการอ่าน
จาเป็ นต้องมีช้ นั ท์ความต้านทานของวงจรมิ ลลิ -แอมป์ มิเตอร์ ขนาด 0.5 A ึง 600 A มาต่อเาื่อให้
กระแสที่วดั แก่งการไหล เาื่อจะวัดได้ค่า ูกต้อง
34

ภาาที่ 2.24 Clamp - on Ammeter

Clamp - on Transformer แ ก ก นี้ (ห รื อ Split Core Transformers) จ ะ ใ ช้ ร่ ว ม กั ก


แอมป์ มิเตอร์ ซึ่ งหม้อแปลงแกกนี้ จะออกแกกใช้ขดลวดปฐมภูมิปฐมภูมิ และขดลวดทุติยภูมิใช้กกั
โวลต์เตจ 5 kv ได้ Clamp on Transformer มีหลายแกกหลายชนิ ด ซึ่ งสามาร ใช้วดั กระแสได้ใน
สายส่ ง รวมทั้งวัดค่า Reactive Power Factor

2.11 ผลของวงจรเปิ ดทางด้ านทุติยภูมิ (Effect of Secondary Open Circuit) [11]

หม้อแปลงกระแสมักใช้กกั วงจรปิ ดทางด้านทุติยภูมิ เช่น แอมป์ มิเตอร์ วัตต์มิเตอร์ คอยส์


กระแส รี เลย์คอยล์ แต่ก็มีขอ้ ควรระวัง ซึ่ งได้มาจากการสังเกตการใช้หม้อแปลงกระแสาอสรุ ปได้
ดังนี้
ต้องไม่ได้หม้อแปลงกระแสต่อกักด้านปฐมภูมิที่มีกระแสไฟฟ้ า โดยที่ ทางด้านทุ ติยภูมิ
ลอย ๆ ไม่ได้ต่ออะไรเลย ซึ่ งข้อควรระวังนี้สาคัญมาก เาราะจะทาให้เกิดอันตรายต่อหม้อแปลงและ
ผูป้ ฏิกตั ิงานใช้หม้อแปลงนัน่ อยู่ สาเหตุที่เป็ นอันตรายาอจะอธิ กายได้ดงั ต่อไปนี้
ความแตกต่างระหว่างหม้อแปลงกาลัง (Power Transformer) และหม้อแปลงกระแสก็คือ
หม้อแปลงกาลังนั้นในขีะที่ขดปฐมภูมิมีกระแสไหลสู งจะทาให้เกิดกระแสไหลในขดทุติยภูมิดว้ ย
แต่หม้อแปลงกระแสนั้นจะต่อเข้ากักกระแสไฟฟ้ าที่ไหลเข้าขดปฐมภูมิไม่สามาร ที่จะควกคุ มได้
หรื อขึ้นอยูก่ กั เงื่อนไขของด้านทุติยภูมิ (ยกเว้นแต่กรีี ที่ใช้กกั วงจรที่มีแรงดันต่า กระแสในขดปฐม
ภูมิของหม้อแปลงกระแสจะไม่มีผลอะไรกักทางด้านทุติยภูมิ)
35

หากการทางานปกติของหม้อแปลงกระแสนั้นขดปฐมภูมิและขดทุติยภูมิจะสร้าง m.m.f.
ก็จะเหลือน้อย ค่า m.m.f. ที่เหลื อน้อยนี้ จะทาให้เกิดฟลัก๊ ที่แกนเหล็ก ซึ่ งความหนาแน่นของฟลัก๊ ก็
จะต่าไปด้วย จึงทาให้เกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนาที่ขดทุติยภูมิเป็ นจานวนน้อยด้วย
า้ หากเราเปิ ดวงจรที่ทุติยภูมิในขีะที่ขดปฐมภูมิยงั มีกระแสไฟฟ้ าอยูเ่ หมือนเดิม ขดปฐม
ภูมิก็ยงั มีค่า m.m.f. อยู่ แต่ทางด้านทุติยภูมิน้ นั ค่า m.m.f. เป็ นศูนย์แล้ว ดังนั้น ค่า m.m.f. ทั้งหมดจริ ง
เท่ากัก m.m.f. ของปฐมภูมิ ซึ่ งมีค่าสู งมาก ค่า m.m.f. ที่สูงมากนี้จะทาให้เกิดฟลัก๊ ที่แกนเหล็กจน ึง
จุ ดอิ่ มตัว เาราะฉะนั้นก็ จะท าให้เกิ ดแรงดันเหนี่ ย วนามหาศาลที่ ข ดทุ ติยภู มิจนฉนวน ู ก ท าลาย
(แม้ว่าหม้อแปลงกระแสในปั จจุ ก นั นี้ จะออกแกกให้ฉ นวนทนแรงเคลื่ อนนี้ ได้) ก็จะท าให้เป็ น
อันตรายต่อผูป้ ฏิกตั ิงานกักหม้อแปลงขีะนั้นรวมทั้ง Eddy Current และ Hysteresis Lossed จะสู ง
มากด้วย จนทาให้เกิดความร้อนสู งที่หม้อแปลง แม้วา่ า้ ไม่เหตุการี์ขา้ งต้นดังกล่าว แกนเหล็กก็จะ
ูกทาให้กลายเป็ นแม่เหล็ก าวร และค่าอัตราส่ วนและมุมเฟสก็จะผิดาลาดไป
หม้อแปลงกระแสจานวนมากจะ ูกใช้กกั การต่อวงจรปิ ด หรื อต่อเข้ากักสวิทช์ที่ข้ วั ของ
ทุติยภูมิเสมอ ขดทุติยภูมิจะปลอดภัย เมื่อได้นามาต่อเข้ากักอุปกรี์การวัดเนื่ องจากอุปกรี์ การวัด
เหล่านี้ เป็ นเหมือนวงจรปิ ดตลอดเวลา เาราะมีค่าความต้านทานของ Burden เช่ นแอมมิเตอร์ วัตต์
มิเตอร์ ที่มีคอยล์กระแสที่มีค่าต่า

ภาาที่ 2.25 การต่อขดลวดทุติยภูมิของหม้อแปลงกระแสจะต้องไม่มีอุปกรี์ตดั ตอนวงจร เช่น ฟิ วส์

การตัดวงจรการวัดของขดลวดทุ ติยภูมิออกชัว่ ขีะ ทาให้เกิ ดเส้นแรงแม่เหล็กตกค้างที่


แกนเหล็ก เนื่องจากอิสเตอร์ รีชีส และเมื่อต่อวงจรเข้าไปใหม่ ทาให้การเทียกกระแสไฟฟ้ าของหม้อ
แปลงกระแสไฟฟ้ านี้ ได้ค่าไม่ ูกต้อง เนื่ องจากแมกเนไตซิ่ งเคิร์ฟ เลื่อนตาแหน่ งออกไปแล้ว และ
นอกจากจะเป็ นอันตรายต่อผูป้ ฏิกตั ิงานแล้ว นอกจากนั้นขดลวดปฐมภูมิยงั มีแรงเคลื่ อนไฟฟ้ าด้าน
กักแรงเคลื่ อนของระกก ซึ่ งทาให้หม้อแปลงกระแสทาหน้าที่เหมือนเป็ นโช๊คตัวหนึ่ งซึ่ งต่ออยู่ใน
วงจร
36

ภาาที่ 2.26 ขอกเขตแมกเนไตซิ่ งเคิร์ฟที่ ูกใช้งาน

2.11.1 การเป็ น แม่ เห ล็ ก ถาวรและการคลายความ เป็ น แม่ เห ล็ ก (Permanent


Memorization and it demagnetization)
การเป็ นแม่เหล็ก าวรของแม่เหล็ก อาจขึ้นอยูก่ กั เหตุผลต่อไปนี้
1. เมื่อทางด้านทุติยภูมิเป็ นวงจรเปิ ดในขีะที่ดา้ นปฐมภูมิยงั มีาลังงานหรื อกระแสไหล
อยูจ่ ะทาให้เกิดแรงเหนี่ ยวนาแม่เหล็กอย่างมาก ซึ่ งแรงเหนี่ ยวนาแม่เหล็กนี้ จะทาให้เกิดฟลัก๊ ที่แกน
เหล็ก และความหนาแน่นของฟลัก๊ ที่เกิดจากแรงเหนี่ ยวนาแม่เหล็กนี้ เมื่อหมดสิ้ นไปมันก็จะเกิดเป็ น
กาลังแม่เหล็กขึ้นอย่างมากทีเดียว
2. เกิดจากสวิทย์ชิ่ง ชัว่ ประเดี๋ยวทาให้เกิดการเป็ นแม่เหล็ก าวรขึ้นได้
3. การเป็ นแม่เหล็ก าวรของแกนแม่เหล็ก อาจมี ผลจากการที่ มีไฟ D.C. ไหลผ่าน เาื่อ
ทดสอกความต้านทานหรื อตรวจสอกหาขั้วก็ได้นอกจากนั้นการเป็ นแม่เหล็ก าวรอาจเกิดจากการที่
กระแสลัด วงจรชั่ว ประเดี๋ ย วในสายส่ ง ซึ่ งกระแสวงจรชั้ว ประเดี๋ ย วนี้ (Transient Shot Circuit
Current) มีท้ งั ไฟ A.C. และไฟ D.C. อยู่
ในปั จจุกนั นี้การเป็ นแม่เหล็ก าวรของแกนเหล็กในหม้อแปลงกระแสไฟฟ้ าอาจจะทาให้ความ
ซึ ม ซากของฟลัก๊ ลดลงในขีะที่ หม้อแปลงกระแสท างานปกติ เาราะฉะนั้นก่ อนนาหม้อแปลง
กระแสไปใช้งานตามปกติ ควรกาจัดการเป็ นแม่เหล็ก าวรออกเสี ยก่อน
37

2.11.2 การคลายความเป็ นแม่ เหล็กของแกนเหล็ก (Demagnetization of Core)


วิธีที่ 1 คือ ให้มีกระแสไหลผ่านเขตปฐมภูมิมีค่าเท่ากักกระแสที่ไหลผ่านขดปฐมภูมิเมื่อ
ด้านทุ ติยภู มิ เป็ นวงจรเปิ ด กระแสของปฐมภู มิ จะเคลื่ อนจากชุ ดก าเนิ ดกระแสสลัก มอเตอร์ ซึ่ ง
มอเตอร์ จะเป็ นตัวขนานที่ ท าให้กระแสลดลง ความเร็ วของชุ ดกาเนิ ดก็ จะต่ าลงโวลท์เต็จของชุ ด
กาเนิดก็จะต่าลงไปเป็ นศูนย์ จานวนสนามแม่เหล็กที่แกนเหล็กก็จะทาให้ขนาดลดลงจนกระทัง่ เป็ น
ศูนย์
วิธีที่ 2 คือให้กระแสที่ไหลผ่านปฐมภูมิ และด้านทุติยภูมิ มีความต้านทานปรักค่าได้หลาย
ร้ อ ยโอห์ ม ต่ อ กัก ด้านทุ ติ ย ภู มิ อ ยู่ ค่ า จ านวนนี้ จึ ง เปรี ย กเสมื อ นเป็ นหม้อ แปลงวงจรเปิ ด ความ
ต้านทานด้านทุติยภูมิน้ ี จะค่อย ๆ ปรักลดลงไปใกล้กกั ศูนย์มากที่สุดเท่าที่ทาได้ นัน่ หมายความว่า
ความเป็ นแม่เหล็กของแกนเหล็กหม้อแปลงกระแสก็จะค่อย ๆ ลดลงจากค่าสู งจน ึงค่าปกติ

ภาาที่ 2.27 Demagnetization of C.T. Core

2.12 ประเภทของหม้ อแปลงกระแส [12]

หม้อแปลงกระแส (Current Transformer) หรื อ C.T. โดยทั่วไปสามาร แก่ งออกตาม


วัต ุประสงค์ในการใช้งานเป็ น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
1. หม้อ แปลงกระแสส าหรั ก การวัด (Measuring of Current Transformer) หม้อ แปลง
กระแสแกกนี้ ใช้วดั ค่ากระแสโหลดตามปกติ โดยทัว่ ไปออกแกกมาเาื่อให้มีความแม่นยาในการวัด
ค่ากระแสโหลดอยูใ่ นช่วง 10-120% ของค่าาิกดั กระแสไว้สาหรักจ่ายโหลดให้กกั มิเตอร์ ต่าง ๆ เช่น
แอมมิเตอร์ วัตต์มิเตอร์
38

2. หม้อแปลงกระแสสาหรักการป้ องกัน (Protective Current Transformers) หม้อแปลง


กระแสแกกนี้ ออกแกกมาเาื่อใช้จ่ายกระแสให้กกั รี เลย์ป้องกัน ออกแกกมาให้มีความแม่นยาใน
การวัดกระแสจน ึง 10 เท่า หรื อ 20 เท่า ของาิกดั กระแส รี เลย์ป้องกันหลายชนิดต้องการค่าปริ มาี
กระแสลัดวงจรที่ ู กต้องไว้ใช้ เช่ น รี เลย์กระแสเกิ นแกกผกผันกักเวลา กระแสเกิ นมากขึ้นจะยิ่ง
ทางานเร็ วขึ้ น รี เลย์วดั ระยะทาง จาเป็ นต้องใช้ค่ากระแสในการคานวีหาค่า Impedance เป็ นต้น
ค่ากระแสลัดวงจรส่ วนใหญ่จะมีค่ามากกว่ากระแสาิกดั 10 ึง 20 เท่า

2.12.1 การแบ่ ง ชั้ นความแม่ น ย าของหม้ อ แปลงกระแส (Classification of Current


Transformer)
จากหัวข้อ 2.11 เราทรากว่าสามาร จาแนกแก่งออกตามวัต ุประสงค์ของการใช้งานได้ 2
ประเภท ได้แก่
1. หม้อแปลงกระแสสาหรักใช้งานกักการวัด ประกอกด้วยชั้นความแม่นยา 0.1, 0.2, 0.5,
1.0, 3.0 และ 5.0 โดยมีขีดจากัดของความคลาดเคลื่อนแสดงไว้ในตารางที่ 2.3 และตารางที่ 2.4 ซึ่ ง
เป็ นข้อกาหนดของมาตรฐาน BS 3938 (1973)

ตารางที่ 2.2 ขีดจากัดของความคลาดเคลื่อนสาหรักหม้อแปลงกระแสใช้งานกักการวัดชั้น 0.1-1.0

ชั้นความแม่ นยา + เปอร์ เซ็นต์ ความคลาดเคลือ่ นของกระแส มุมเฟสในหน่ วย Minutes*


(อัตราส่ วน) ทีเ่ ปอร์ เซ็นต์ของกระแสพิกดั ทีเ่ ปอร์ เซ็นต์ ของกระแสพิกดั
10-20% 20-10% 10-20% 20-100%
100-120% 100-120%
(ไม่ รวม 20%) (ไม่ รวม 100%) (ไม่ รวม 20%) (ไม่ รวม 100%)
0.1 0.25 0.20 0.10 10 8 5
0.2 0.50 0.35 0.20 20 15 10
0.5 1.00 0.75 0.50 60 45 30
1.0 2.00 1.50 1.00 120 90 60
1
*1 Minutes = องศา
60
39

ตารางที่ 2.3 ขีดจากัดของความคลาดเคลื่อนสาหรักหม้อแปลงกระแสใช้งานกักการวัดชั้น 3.0 และ 5.0

+ เปอร์ เซ็นต์ ความคลาดเคลื่อนของกระแส


ชั้นความแม่ นยา (อัตราส่ วน) ทีเ่ ปอร์ เซ็นต์ ของกระแสพิกดั
50% 120%
3.0 1.0 3.0
5.0 5.0 5.0

2. การระกุระดักความ ูกต้อง สาหรักหม้อแปลงกระแสระดักความ ูกต้อง (Accuracy


Class) โดยที่มีการยอมรักได้เปอร์ เซ็นต์ค่าผิดาลาดของกระแสจะเกี่ยวข้องกักระดักกระแสที่กาหน
ไว้ตาม Accuracy Class
3. มาตรฐานของระดัก ความ ูก ต้อง มาตรฐานของระดักความ ูกต้อง จากการจัดของ
หม้อแปลงกระแสจะเกี่ยวข้องกักระดักกระแสที่กาหนดไว้ตาม Accuracy Class
4. ขอกเขตค่ า ผิ ด าลาดของกระแสและแรงเคลื่ อ น จากระดัก ที่ 0.1-0.2-0.5 และ 1
ค่ากระแสผิดาลาดและแรงเคลื่อนของระดักความ ี่ จะไม่มากกว่าที่ระกุไว้ในตารางที่ 2.3 เมื่อเกอร์
เดนทางด้านทุติยภูมิจากระดักตั้งแต่ 25%-100% ของระดักค่าเกอร์ เดนจากระดักที่ 0.2 S และ 0.5 S
ค่ากระแสผิดาลาด และแรงเคลื่อนของหม้อแปลงกระแสเาื่อประโยชน์ให้เศษ (จุดสาคัญในการต่อ
เครื่ องมือวัดทางไฟฟ้ าที่ เหมาะสม ค่ากระแสจะอยู่ระหว่าง 50 มิลลิ แอมป์ และ 6 แอมป์ มักจะอยู่
ระหว่าง 1% จน ึง 120% ของระดักกระแส 5 แอมป์ ) ระดักความ ี่จะไม่มากไปกว่าที่ให้ไว้ใน
ตารางที่ 2.2 เมื่อเกอร์ เดนทางด้านทุติยภูมิมีค่าตั้งแต่ 25% ึง 100% ของค่าเกอร์ เดน ค่าที่
จะเหมาะสมสาหรั กอัตราส่ วน 25/5, 50/5 และ 100/5 โดยดู อย่างละเอี ยด เาื่อที่ จะให้ได้กระแส
ทางด้านทุติยภูมิ 5 แอมป์
ระดักที่ 3 และ 5 กระแสผิดาลาดที่ ระดักความ ี่ น้ นั ๆ จะมีค่าไม่เกิ นกว่าค่าที่ ให้ไว้ใน
ตารางที่ 2.3 เมื่อค่าเกอร์ เดนทางด้านทุติยภูมิเริ่ มตั้งแต่ 50% ึง 100% ของค่าเกอร์ เดน
ค่ า เกอร์ เดนทางด้า นทุ ติ ย ภู มิ ไ ว้เาื่ อ ทดสอกว่า จะมี ค่ า เาาเวอร์ แ ฟคเตอร์ ม ากกว่ า 0.8
Lagging เมื่อเกอร์ เดนน้อยกว่า 5 VA ที่เาาเวอร์ แฟคเตอร์ เท่ากัก 1 หากว่าไม่มีกรอกหรื อโครงสร้าง
จะทดสอกเกอร์ เดนน้อยกว่า 1 VA
5. ขอกเขตความสามาร ของกระแสหม้อแปลงจะมีระดักความ ูกต้อง (Accuracy Class)
0.1 ึง 1 จะกาหนดให้ขอกเขตของกระแสให้สามาร ยอมรักได้ตามต้องการโดย
40

- ความสามาร ของกระแสที่ทาให้เกิดความร้อนซึ่ งจะมีมากจากกระแสทางด้านปฐมภูมิ


จะแสดงออกมาเป็ นเปอร์ เซ็นต์ของค่ากระแสทางด้านปฐมภูมิ
- ระดักของค่ากระแสผิดาลาดและแรงเคลื่ อน กาหนดไว้ 120% ของกระแสทางด้าน
ปฐมภูมิในตารางที่ 2.3 จนกว่าจะ ึงขอกเขตของกระแสทางด้านปฐมภูมิ
ค่ามาตรฐานของขอกเขตความสามาร ของกระแสทางด้านปฐมภู มิจะมี 120% 150%
และ 200% ของค่ากระแสทางด้านปฐมภูมิ

2.13 การต่ อหม้ อแปลงกระแส (CT Connection) [10]

โดยทัว่ ไปหม้อแปลงกระแสจะต่อกักวงจร 3 เฟส ซึ่ งมีรูปแกกการต่อที่แตกต่างกัน 3


อย่างดังนี้
1. การต่ อแบบวาย (Wye Connection) การต่อแกกวายหม้อแปลงกระแสจะต่อเข้าที่แต่
ละเฟสและทางด้านทุติยภูมิก็ต่อเข้ากักเฟสรี เลย์ (51) เาื่อตรวจวัดฟอลต์ในแต่ละเฟส สาหรัก
ระกกที่ต่อลงจะมีรีเลย์ (51N) ต่อเข้ากักจุดต่อร่ วมลงดินของหม้อแปลงกระแสเาื่อตรวจวัดกระแส
โหลดที่ไหลในนิวทรอนหรื อลงดิน า้ มีรีเลย์ (51) ไม่สามาร ตรวจวัดกระแสฟอลต์ที่ไหลลงดินได้
เราจะต่อหม้อแปลงกระแสลูกที่สี่เข้ากักสายตัวนานิวทรอน ดังแสดงในภาาที่ 2.34 สาหรักกระแส
ทุติยภูมิจะมีเฟสเดียวกัน
41

ภาาที่ 2.28 การต่อหม้อแปลงกระแสแกกวาย

2. การต่ อแบบวีหรือเดลต้ าเปิ ด (Vee or Delta Connection) โดยาื้นฐานแล้วการต่อหม้อ


แปลงกระแสแกกวีจะเหมือนแกกวาย เาียงแต่จะมีเฟสหนึ่ งที่ไม่ต่อหม้อแปลงกระแส ดังนั้นจึงใช้
หม้อ แปลงเาี ย งสองลู ก ดัง แสดงในภาาที่ 2.29 การต่ อ หม้อ แปลงแกกวี น ามาใช้ ส าหรั ก
ตรวจวัดฟอลต์แกกสมมาตรสามเฟส และการฟอลต์ระหว่างเฟส ( Phase-to-Phase ) สาหรักการ
ตรวจวัดฟอลต์ลงดินจะต้องใช้หม้อแปลงกระแสลาดักศูนย์และรี เลย์ (51GS) โดยนาทั้งสามเฟส
และนิวทรอน ( า้ ระกกมีสายนิวทรอน ) ต้องนามาผ่านหม้อแปลงลาดักศูนย์
42

ภาาที่ 2.29 การต่อหม้อแปลงกระแสแกกวีหรื อเดลต้าเปิ ด

3. การต่ อ แบบเดลต้ า ( Delta Connection ) การต่ อ แกกเดลต้า ต้อ งใช้ ห ม้อ แปลง
กระแสสามลูก โดยนาขดลวดทุติยภูมิมาต่อกันแกกเดลต้าก่อนที่จะนามาต่อเข้ากักรี เลย์ การต่อ
แกกเดลต้าใช้สาหรักการป้ องกันหม้อแปลงกาลังที่มีการต่อขดลวดแกกเดลต้า - วาย ด้วยรู ปแกก
ของรี เลย์ผลต่างซึ่ งการป้ องกันหม้อแปลงกาลังด้วยรู ปแกกนี้ หม้อแปลงกระแสที่ต่อทางด้านเดลต้า
ของหม้อแปลงกาลังจะต่อแกกวาย และหม้อแปลงกระแสทางด้านวายจะต่อแกกเดลต้า ข้อควรจา
การต่อหม้อแปลงกระแสแกกเดลต้าจะทาให้มีกระแสไหลไปยังรี เลย์เท่ากัก 3 เท่าของกระแส
ทุติยภูมิ ดังนั้นจึงควราิจารีาการเลือกาิกดั กระแสปฐมภูมิของหม้อแปลงกระแสเมื่อจะนามาต่อ
แกกเดลต้าสาหรัก ภาาที่ 2.30 แสดงการต่อหม้อแปลงกระแสแกกเดลต้าและ า้ นามาประกอก
รวมกัก ภาาที่ 2.31 โดยการต่อขดลวดทางานของรี เลย์เข้ากักจุกต่อร่ วมสายกราวด์ของหม้อแปลง
กระแสก็จะได้รูปแกกการป้ องกันด้วยรี เลย์ผลต่างอย่างสมกูรี์
43

ภาาที่ 2.30 การต่อหม้อแปลงกระแสแกกเดลต้า

2.13.1 การต่ อหม้ อแปลงกระแสกับรีเลย์วดั ค่ าผลต่ างป้องกันสายส่ ง 1 เฟส


หลักการทางานของการป้ องกันแกกวัดค่าผลต่างตามวงจรในภาาที่ 2.31 คือเมื่อไม่เกิ ด
ผิดปกติข้ ึนที่ภายในเขตป้ องกันหรื อระกกยังทางานในสภาวะปกติ กระแส I1 และ I 2 จะมีปริ มาี
เท่ากันซึ่ งจะทาให้กระแสไหลผ่านรี เลย์มีค่าเท่ากัก 0 แอมป์ แต่ า้ เกิดเหตุการี์ผิดปกติ (ลัดวงจร)
ภายในเขตป้ องกันจะทาให้มีปริ มาีกระแส I1 และ I 2 ไม่เท่ากันทาให้มีกระแสไหลผ่านรี เลย์ ดังนั้น
การตรวจจักกระแสที่ไหลผ่านรี เลย์เป็ นการตรวจจักเหตุการี์ผิดปกติ (ลัดวงจร) ภายในเขตป้ องกัน
นัน่ เอง

ภาาที่ 2.31 การต่อหม้อแปลงกระแสกักรี เลย์วดั ค่าผลต่างป้ องกันสายส่ งแกก 1 เฟส


44

2.14 หม้ อแปลงกระแส (Current Transformer) [10]

โดยทัว่ ไปหม้อแปลงกระแสมีมาตรฐานาิกดั ของกระแสทุติยภูมิเท่ากัก 5 A และขดลวด


ของหม้อแปลงกระแสยังสามาร ทนต่อกระแสเกิ นาิกดั ได้ประมาี 10 หรื อ 20 เท่าของาิกดั
กระแสปกติในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ โดยขดลวดไม่ได้รักความเสี ยหาย ซึ่ งเหตุการี์น้ ี จะเกิดขึ้นกัก
หม้อแปลงกระแสก่อย ๆ ในระหว่างที่มีการลัดวงจรขึ้นในระกกไฟฟ้ ากาลัง ดังนั้นการาิจารีา
เลือกอัตราส่ วนกระแสของหม้อแปลงกระแสได้อย่าง ูกต้องและเหมาะสมทาให้ลดความเสี่ ยงที่จะ
เกิดความเสี ยหายต่อหม้อแปลงกระแสเอง และความผิดาลาดในการทางานจนทาให้อุปกรี์อื่น ๆ
ในระกกได้รักผลกระทกไปด้วย สาหรักมาตรฐานอัตราส่ วนกระแสของหม้อแปลงกระแสได้ใน
ตารางที่ 2.4

ตารางที่ 2.4 มาตรฐานอัตราส่ วนกระแสของหม้อแปลงกระแส

อัตราส่ วนกระแส อัตราส่ วนกระแส อัตราส่ วนกระแส


50 : 5 500 : 5 2500 : 5
100 : 5 600 : 5 3000 : 5
150 : 5 800 : 5 3500 : 5
200 : 5 900 : 5 4000 : 5
250 : 5 1000 : 5 5000 : 5
300 : 5 1200 : 5 6000 : 5
400 : 5 1500 : 5
450 : 5 2000 : 5

การาิจารีาเลือกใช้หม้อแปลงกระแสสิ่ งที่ตอ้ งาิจารีาในการเลือกใช้หม้อแปลงกระแสมีดงั นี้


1. าิกดั กระแสต่อเนื่อง ทางด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิ
2. าิกดั แรงดันด้านปฐมภูมิ โดยปกติทวั่ ไปหม้อแปลงกระแสสามาร ทางานได้ต่อเนื่ อง
สู งกว่า 10 เปอร์ เซ็นต์ของาิกดั ด้านแรงสู งาิกดั แรงดันหม้อแปลงกระแสด้านแรงดันสู ง
45

ตารางที่ 2.5 าิกดั แรงดันด้านแรงสู งของหม้อแปลงกระแส

แรงดัน ความคงทน
ชั้นแรงดันของฉนวน ระบบ แรงดันไฟฟ้าที่ พิกดั แรงดันอิม
(Insulation class) สู งสุ ด ความถี่ไฟฟ้ ากาลัง พัลต์ (BIL) (KV)
(KV) (KV)
VDE : 10 N , IEC/BS : 12 KV
12 36 75
ANSI : 8.7 KV
VDE : 15 N , IEC/BS : 17.5 KV
24 55 125
ANSI : 15 KV , 18 KV
VDE : 25 N,30 N, IEC/BS :36 KV
38 75 200
ANSI : 25 KV, 34.5 KV

3. าิกดั กระแสความร้อนกระแสสู งสุ ด เป็ นค่าความสามาร ของกระแสลัดวงจรสมมาตร


ในเวลา 1 นาที โดยที่ขดลวดของหม้อแปลงกระแสมีอุีหภูมิไม่เกิ นจนกระทัง่ ขดลวดเสี ยหาย
เช่น าิกดั กระแสความร้อนสู งสุ ดของ CT 120 kA ในเวลา 1 วินาที
4. ความแม่นยา ขีดความสามาร ของรี เลย์ข้ ึนอยูก่ กั ความแม่นยาของหม้อแปลงกระแส
5. ค่าเกอร์ เดน เป็ นค่าาิกดั โหลดหม้อแปลงสาหรักเครื่ องวัดและรี เลย์ ที่ต่อกักด้านทุติย
ภูมิของ CT มีหน่วยเป็ น VA ดังตารางที่ 2.6 า้ กระแสทุติยภูมิ 5A อิมามแดนต์ของหม้อแปลง
กระแส 2 โอห์ม ฉะนั้นขนาดเกอร์ เดนของหม้อแปลงกระแสจะมีค่า 50 VA (I2Z = 52 x 2= 50VA)

ตารางที่ 2.6 เกอร์เดนมาตรฐานของหม้อแปลงกระแส

เพาเวอร์ เพ็ก
ค่ าเบอร์ เดน ความต้ านทาน อินดักแตนซ์ อิมพิแดนต์
เตอร์
VA (Ω ) (mH) (Ω)
(P.F)
2.5 0.09 0.116 0.1 0.9*
5.0 0.18 0.232 0.2 0.9*
12.5 0.45 0.58 0.5 0.5**
46

ในการเลื อกอัตราส่ วนของกระแส ( Current Ratio ) จะต้องาิจารีากระแสสู งสุ ดเป็ น


หลัก โดยภายใต้ภาระโหลดสู งสุ ดกระแสทุติยภูมิจะต้องไม่เกินาิกดั กระแสสม่าเสมอ ( continuous
Current Ratio ) ของรี เลย์อ ัตราส่ วนผิด าลาด ( Ratio Error ) ของหม้อแปลงกระแสขีะเกิ ด
กระแสฟอลต์สู ง สุ ดจะต้องไม่ ร้ายแรงจนรี เลย์ไ ม่ ท างานตามที่ ต้อ งการ หม้อแปลงกระแสที่ มี
อัตราส่ วนผิดาลาดสู งสุ ดจะมี ขนาดแกนเหล็ ก ขนาดเล็ก และราคา ู ก กว่า การเลื อกหม้อแปลง
กระแสสาหรักใช้งานในระกกหนึ่ ง ๆ ควรใช้ หม้อแปลงกระแสที่มีความแม่นยาสู งาอเหมาะกัย
ระกกนั้นทั้งนี้ เาราะการใช้หม้อแปลงกระแสที่มีความแม่นยาสู งเกินความจาเป็ นก็ทาให้ตน้ ทุนสู ง
เกิ นไป ในปั จจุกนั รี เลย์ที่ใช้จานวนมากมีเวลาการทางานสั้นมาก ข้อควรระวังที่สาคัญก็คือหม้อ
แปลงกระแสจะต้องมีแกนเหล็กใหญ่าอสมควรที่จะไม่เกิดการอิ่มตัวภายใต้ภาวะทรานเชียนต์

2.15 การกาหนดขั้วของหม้ อแปลง [10]

1. Terminal Marking – General Rulen การกาหนดจุดต่อจะทาเครื่ องหมายที่


- ขดลวดทางด้านปฐมภูมิ และ ด้านทุติยภูมิ
- กางส่ วนของขดลวด
- การเทียกขั้วของขดลวดและกางส่ วนของขดลวด
- ระหว่างกลางจุดต่อ
2. วิธีการทดสอกขั้วที่จุดต่อจะแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนทั้งคู่กนผิวหนังหรื ออยูใ่ กล้ๆ กัน
3. การแสดงขั้วต่อการกาหนดขั้วของหม้อแปลงกระแสมีเครื่ องหมายแสดงตาม
ตารางที่ 2.7
47

ตารางที่ 2.7 ขั้วต่อของหม้อแปลงกระแส

Primary terminal
Secondary terminal

Primary terminal
Secondary terminal

4. เครื่ อ งหมายที่ ใ ช้ เที ย กเคี ย งขั้ว จากการที่ ก าหนดขั้ว ต่ อ เป็ น P1 S1 และ C1 จะ


เหมือนกักขั้วที่ใช้ทวั่ ๆ ไปทาให้เข้าใจง่ายขึ้น
5. อัตราการกาหนดขั้วลงกนเนมเาลทหม้อแปลงกระแส จะกาหนดขั้วตามกริ ษทั ผูผ้ ลิต
หรื อโดยกุคคลกาหนดให้เหมือน ๆ กัน
- ตามลาดักตัวเลขหรื อ ชนิดการออกแกก , เลือกเอาทั้งสองแกก
- ตามระดักกระทางด้านปฐมภูมิ และทางด้านทุติยภูมิ : เช่น
Kn = I n / I nA ( e.g Kn = 100 / 5A )
p s
- ตามขนาดของแรงดัน
- ตามระดักของเอาท์าุตเหมือนย่านของความ ูกต้อง าร้อมทั้งรายละเอียดการแนะนา
ต่าง ๆ
48

ข้อสังเกต ควรจะกาหนดตาแหน่ งของขดลวดทางด้านทุ ติยภู มิเป็ นชั้น ๆ ( เช่ น 15 , 15 VA,


class 0.5: 25, 30 VA class 1)
6. โดยป้ อนแรงดันสู ง ๆ ( เช่น 1.2 KV or 145 KV)
7. ตามระดักฉนวน ( เช่น 6 / - KV or 275 / 650 KV)
ข้อสังเกต ข้อ 6 และ ข้อ 7 จะทาการกาหนดทีละชั้น( เช่น 1.2 / 6 – KV หรื อ 145 / 275 / 650 KV)
หากกอกตาแหน่ งของหม้อแปลงกระแสไม่ละเอียดให้ดูที่เาลท ( Plate) กอกคุีสมกัติของหม้อ
แปลง

2.16 การกาหนดขั้วของหม้ อแปลงกระแส [13]

เนื่ องจากขดด้านทุติยภูมิ ของหม้อแปลงกระแสจะต่ออยูก่ กั วงจรป้ องกันที่มีความสาคัญ


และค่อนข้างซักซ้อน จึงต้องให้ความสาคัญในการกาหนดขั้วของหม้อแปลงกระแสให้ชดั เจน การ
กาหนดขั้วหรื อการกาหนด Dot หรื อ Polarity ของหม้อแปลงกระแสเป็ นการแสดงความสัมาันธ์
ระหว่างทิ ศทางของกระแสทางด้านปฐมภู มิ และทุ ติยภู มิ การก าหนดขั้วของหม้อแปลงกระแส
สามาร ให้เป็ นจุดทึก (Dot) ที่แสดงปลายด้านเริ่ มต้นของขดทั้งสอง และจากปลายด้านนี้จะเป็ นการ
าันไปในแกนด้วยทิศทางเดียวกัน (ตามเข็มหรื อทวนเข็มเหมือนกัน) ดังนั้น า้ กระแสไหลเข้าด้าน
จุดกาหนดของด้านปฐมภูมิก็จะทาให้กระแสไหลออกทางด้านจุ ดกาหนด ของด้านทุติยภูมิ (กระแส
ทั้งสองมี มุมเฟสเดี ยวกัน) การกาหนดอีกวิธีหนึ่ งคื อใช้ตวั อักษรกากักที่ แต่ละด้านของขดลวด ดัง
แสดงในภาาที่ 2 .32

ภาาที่ 2.32 การกาหนดขั้วของ CT


49

2.16.1 การตรวจสอบหม้ อแปลงกระแส


การตรวจสอกหม้อแปลงกระแสนั้นมีข้ นั ตอนทัว่ ไปดังต่อไปนี้
การตรวจสอกหม้อแปลงกระแสเกื้องต้นประกอกด้วย
a. การตรวจหมายเลขหรื อรหั ส สิ นค้า (Serial Number) หรื อหมายเลขรุ่ น (Model
Number) ซึ่ งเป็ นข้อมูลสาคัญในการนาไปอ่านรายละเอียดคุ ีสมกัติของหม้อแปลง
(Specification) ที่ ผผู ้ ลิ ตได้ทดสอกไว้และยังมี ประโยชน์ในการช่ วยให้มนั่ ใจว่าหม้อ
แปลงกระแสที่จะซื้ อนั้นเป็ นแกกเดียวกักของเดิมเมื่อต้องทาการซื้ อหม้อแปลงกระแส
มาเปลี่ยนหรื อเก็กไว้สารองด้วย
b. อัตราส่ วนหม้อแปลง (Turn Ratio) ซึ่งเป็ นข้อมูลที่สาคัญที่สุดในการใช้งานหม้อแปลง
กระแส อัตราส่ วนของหม้อแปลงจะสามาร ตรวจดูได้จากแผ่นป้ ายที่ตวั หม้อแปลง
c. ประเภทและค่ าความแม่น ยาของหม้อแปลง (Accuracy Class) ซึ่ งตามมาตรฐานจะ
ระกุดว้ ยตัวเลขและตัวอักษรดังแสดงในหัวข้อที่ 3 ซึ่ งตัวเลขตัวแรกจะแสดงค่าความ
คลาดเคลื่อนเป็ นเปอร์ เซ็นต์ของหม้อแปลงกระแส ทั้งนี้ ตอ้ งอ้างอิงค่าเกอร์ เดนที่หม้อ
แปลงต่ออยูด่ ว้ ยดังที่ได้กล่าวไปแล้ว
d. ตรวจสอกความเรี ยกร้อยภายนอกของหม้อแปลงว่ามีการชารุ ดเสี ยหายจากการขนส่ ง
และมีการติดตั้งที่เหมาะสมแข็งแรงหรื อไม่ โดยการติดตั้งหม้อแปลงกระแสจะต้องไม่
ใช้ตวั นาด้านปฐมภูมิเป็ นตัวยึดจักหม้อแปลง

2.16.2 การตรวจสอบการต่ อวงจร


การตรวจสอกนี้ เป็ นสิ่ งสาคัญมากในการตรวจสอกหม้อแปลงกระแส เนื่ องจากการต่อ
วงจรหม้อแปลงกระแสที่ผดิ าลาดอาจก่อให้เกิดปั ญหาในการทางานของอุปกรี์โดยเฉาาะอุปกรี์
ป้ องกัน ที่ มี ต รวจสอกทิ ศ ทางของกระแสในการท างานด้วย ้าการต่ อขั้วหม้อ แปลงกลัก กัน ก็
สามาร แก้ไขโดยการกลักขั้วที่ดา้ นทุติยภูมิได้ การตรวจสอกระยะห่างในการติดตั้ง
การตรวจสอกนี้เป็ นการตรวจสอกเาื่อความปลอดภัยในการใช้งาน ซึ่ งระยะห่ างระหว่าง
ตัวนาปฐมภูมิและทุติยภูมิไม่ควรอยูช่ ิดกันเกินไป (การคิดอย่างง่ายระยะห่างประมาี KV ละ 1 นิ้ว)
และไม่ควรมีการติดตั้งเดินคู่กนั ไประหว่างตัวนาด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิเนื่ องจากอาจเกิดกระแส
เหนี่ ยวนาในสายตัวนาทุ ติยภูมิจากกระแสด้านปฐมภูมิได้ และ ้าเดิ นสายตัวนาทุ ติยภูมิอยู่เหนื อ
ตัวนาปฐมภูมิก็จะต้องมีการยึดจักที่คงทน าวรเาื่อความปลอดภัย
50

การตรวจสอกการลัดวงจรด้านทุติยภูมิ
ในกรีี ที่วงจรด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงกระแสไม่สามาร ติ ดตั้งมาจากโรงงานได้ก็
มักจะมีการลัดวงจรด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงกระแสมา ดังนั้นจึงควรตรวจสอกการต่อวงจรด้าน
ทุติยภูมิและตรวจสอกค่าเกอร์ เดนให้เรี ยกร้อยก่อนจึงค่อยทาการปลดการลัดวงจรดังกล่าวก่อนการ
ใช้งาน (จากหัวข้อที่ 2 จะเป็ นว่าไม่ควรเปิ ดวงจรด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงกระแสในการใช้งาน)

2.16.3. การทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟ้าของหม้ อแปลงกระแส


การทดสอกคุีสมกัติทางไฟฟ้ าสามาร ทาได้ดงั ต่อไปนี้
 การทดสอบความต้ านทานของฉนวน (Insulation Resistance Test)
การทดสอกความต้านทานของฉนวนจะทดสอกด้วยแรงดันไฟฟ้ ากระแสตรง 1000 V ค่า
ความต้า นทานฉนวนไม่ ค วรต่ า กว่ า 100 เมกกะโอห์ ม การทดสอกนี้ อาจส่ ง ผลต่ อ รี เลย์แ กก
อิเล็กทรอนิ กส์ ที่ต่ออยูใ่ นวงจร ดังนั้นจึงควราิจารีา ึงความจาเป็ นในการทดสอกด้วย นอกจากนี้
ไม่ควรทาการทดสอกนี้ กกั Bushing CT ของหม้อแปลงกาลังขีะที่ งั หม้อแปลงเป็ นสุ ญญากาศ
เนื่องจากอาจทาให้เกิดการวากไฟตามผิวภายใน งั หม้อแปลงกาลังได้

 การทดสอบขั้วของหม้ อแปลงกระแส (Polarity Test)


การทดสอกขั้วของหม้อแปลงกระแสมีวิธีการที่ นิยมใช้กนั อยู่ 2 วิธี คือการทดสอกด้วย
ไฟฟ้ ากระแสตรงและไฟฟ้ ากระแสสลัก ดังต่อไปนี้

 การทดสอบด้ วยไฟฟ้ากระแสตรง
การทดสอกด้วยวิธีน้ ีเป็ นวิธีที่ทาได้ง่ายและรวดเร็ วแต่จะทาให้มีฟลักซ์แม่เหล็กตกค้างอยู่
ในตัวหม้อแปลงได้ ดังนั้นจึงควรทาการทดสอกการคุีลักษีะการกระตุน้ ของหม้อแปลงกระแส
(Excitation Test) ตามหัวข้อ 6.4 หลังจากที่ทดสอกแล้ว วิธีน้ ี จะใช้เาียงแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง
(ซึ่ งสามาร ใช้แกตเตอรี่ ) และโวลต์มิ เตอร์ วดั แรงดันไฟฟ้ ากระแสตรง (ควรเป็ นแกกเข็ม) และ
สายตัวนา
1. ทาการต่อวงจรเาื่อเตรี ยมจ่ายแรงดันไฟฟ้ ากระแสตรงที่ขดลวดทุติยภูมิ
2. ทาการวัดแรงดันที่เกิดขึ้นที่ตวั นาทางด้านปฐมภูมิตามขั้วที่แสดงกนหม้อแปลงกระแส
ใช้วธิ ีวดั แรงดันกนตัวนาปฐมภูมิ
51

a. า้ เป็ นหม้อแปลงกระแสที่ ติดอยู่กกั ขั้วของต่อของหม้อแปลงหรื อเครื่ องกาเนิ ด


ไฟฟ้ าก็ ส ามาร วัด ค่ า แรงดั น ตกคร่ อ มขดลวดของอุ ป กรี์ ที่ ข้ ัว ได้ แต่ ค วร
ตรวจสอกวงจรให้แน่นอนว่าเป็ นแรงดันที่วดั แรงดันที่เทียกได้กกั ตกคร่ อมตัวนา
ปฐมภูมิของหม้อแปลงกระแส หรื อ
b. า้ เป็ นหม้อแปลงกระแสที่ติดอยู่กกั ขั้วของต่อของเซอร์ กิตเกรกเกอร์ ก็ทาการปิ ด
หน้าสัมผัสของเซอร์ กิตเกรกเกอร์ แล้วทาการวัดแรงดันตกคร่ อมหน้าสัมผัสของ
เซอร์ กิตเกรกเกอร์ ที่ข้ วั ของเซอร์ กิตเกรกเกอร์
3. กรีี ที่ไม่มีสัญลักษี์ แสดงขั้วกนตัวหม้อแปลงกระแส ให้ทาเครื่ องหมายไว้ที่ข้ วั หม้อ
แปลงกระแส
4. ทาการสักสวิตช์จ่ายแรงดันไฟฟ้ ากระแสตรงเาียงชัว่ ขีะ
5. สังเกตเข็มของโวลต์มิเตอร์ ขีะสักสวิตช์ หากเข็มเคลื่อนไปในทิศทางกวกแสดงว่าขั้ว
ที่ กาหนดไว้ ูกต้องแล้ว แต่ า้ เข็มเคลื่อนไปทางขั้วลกแสดงว่าการกาหนดขั้วนี้ไม่ ูกต้อง

ตัวนาปฐมภูมิ H1

หม้อแปลงกระแส
10/5 A X1
X2

H2

V
- +
+ -
12 V
แสดงค่า 12/(10/5) = 6 V
ชัว่ ขณะ
ภาาที่ 2.33 การทดสอกขั้วของหม้อแปลงกระแสด้วยไฟฟ้ ากระแสตรง
52

 การทดสอบด้ วยไฟฟ้ากระแสสลับ
วิธี การนี้ จะซัก ซ้อนกว่าการใช้ไฟฟ้ ากระแสตรงและสามาร ใช้ในการทดสอกขั้วหม้อ
แปลงได้ทุกชนิ ด โดยจะใช้จ่ายแรงดันผ่านแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสสลักที่ปรักค่าได้ เช่ น วาริ แอค
(Variac) และโวล์ตมิเตอร์ สาหรักวัดค่าแรงดันไฟฟ้ ากระแสสลัก โดยมีการต่อวงจรดังภาาที่ 2.34
H1

หม้อแปลงกระแส
15/5 A
V X1
VM3 X2
แสดงค่า VM1+VM2 = 20 V

H2
V

V
15 V
Variac
VM2
VM1 แสดงค่า 15/(15/5) = 5 V
แสดงค่า 15 V
ภาาที่ 2.34 การทดสอกขั้วของหม้อแปลงกระแสด้วยไฟฟ้ ากระแสสลัก
1. ต่อวงจรเาื่อจ่ายแรงดันไฟฟ้ ากระแสสลักทางด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงกระแส และทา
การวัดแรงดันที่จ่ายไว้ดว้ ย (VM1)
2. ต่อลัดวงจรระหว่าง X1 กัก H2 (หรื อ X2 กัก H1)
3. วัดแรงดันตกคร่ อมตัวนาปฐมภูมิระหว่าง H1 กัก H2 (VM2) ซึ่ งควรจะมีค่าเป็ นไปตาม
อัตราส่ วนของหม้อแปลงกระแส
4. วัดแรงดันตกคร่ อม H2 กัก X2 (VM3) ซึ่ งควรจะมีค่าเท่ากัก VM1+VM2
5. า้ แรงดัน VM3 = VM1+VM2 แสดงว่าการกาหนดขั้วของหม้อแปลงกระแสไว้ ูกต้อง
แล้ว แต่ า้ VM3 มีค่าน้อยกว่า VM1 แสดงว่าการกาหนดขั้วนี้ไม่ ูกต้อง

 การทดสอบอัตราส่ วนของหม้ อแปลง (Ratio Test)


การทดสอกอัตราส่ วนของหม้อแปลงกระแสจะนิ ยมใช้การจ่ายแรงดันทดสอกและวัดค่า
เปรี ยกเทียกระหว่างแรงดันด้านทุติยภูมิและปฐมภูมิแทนที่จะจ่ายกระแสทดสอก ทั้งนี้ เนื่องจากการ
หาแหล่งจ่ายกระแสสลักขนาดใหญ่น้ นั ทาได้ยากกว่าการหาแหล่งจ่ายแรงดันกระแสสลักขนาดเล็ก
53

ตัวอย่างเช่นต้องการทดสอก หม้อแปลงกระแสอัตราส่ วน 400/5 A หรื อเทียกได้ 80/1 A ก็สามาร


ใช้แรงดันทดสอก 80 V ทางด้านทุติยภูมิทดสอกดูว่าจะได้แรงดัน 1 V ทางด้านปฐมภูมิหรื อไม่ ดัง
แสดงในภาาที่ 2.35
H1

หม้อแปลงกระแส
400/5 A
X1
X2

H2
V

V
80 V
Variac
VM2
VM1 แสดงค่า 80/(400/5) = 1 V
แสดงค่า 80 V
ภาาที่ 2.35 การทดสอกอัตราส่ วนของหม้อแปลงกระแส

 การทดสอบคุณลักษณะการกระตุ้นสนามแม่ เหล็กไฟฟ้า (Excitation Test)


คุีลักษีะการกระตุน้ ของหม้อแปลงกระแสเป็ นการทดสอกตรวจหาจุดอิ่มตัวของหม้อ
แปลงกระแสเาื่อยืนยันว่าหม้อแปลงมีจุดอิ่มตัวที่ สูงกว่าาิกดั ของหม้อแปลง การทดสอกนี้ ทาได้
โดยการต่อวงจรจ่ายแรงดันกระแสสลักผ่านขดลวดทุติยภูมิและวัดค่ากระแสที่ไหลผ่านไว้ ดังแสดง
ในรู ปที่ 2.36 ทาการเาิ่มค่าแรงดันขึ้นช้า ๆ และกันทึกค่ากระแสไว้ ซึ่ งค่ากระแสที่ไหลจะน้อยมาก
จึงควรใช้แอมมิเตอร์ ที่ละเอียดมากาอในการวัด จนกระทัง่ สังเกตเห็นว่ากระแสเาิ่มขึ้นน้อยลงกว่า
ในตอนแรกมาก นั่นคือหม้อแปลงได้เริ่ มอิ่มตัวแล้ว ทาการกันทึกเกิ นจุดนี้ ไปเล็กน้อยและค่อย ๆ
ลดแรงดันลงจนเป็ นศูนย์
จากนั้นทาการเขียนกราฟความสัมาันธ์ระหว่างแรงดันกักกระแสที่กนั ทึ กไว้ (ควรเป็ น
Log Scale) จุดอิ่มตัวของหม้อแปลงจะต้องอยูส่ ู งกว่าค่าาิกดั ของหม้อแปลงกระแส และในกรีี ที่มี
ข้อมูลจากผูผ้ ลิตก็สามาร เปรี ยกเทียกผลที่ทดสอกได้กกั ข้อมูลดังกล่าว
54
H1

หม้อแปลงกระแส
X1
X2
A

H2

V
Variac

ภาาที่ 2.36 การทดสอกคุีสมกัติการกระตุน้ ของหม้อแปลงกระแส

จุดเริ่ มอิ่มตัว (Knee Point) ซึ่ งควรอยูส่ ู ง


กว่าพิกดั เบอร์ เดนของหม้อแปลงกระแส

ค่าพิกดั เบอร์ เดน

สภาวะที่หม้อแปลง
กระแสอิ่มตัว (Saturate)

ช่วงการทางานปกติของหม้อแปลงกระแส
มีค่าความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแส
เป็ นเชิงเส้น
ภาาที่ 2.37 คุีสมกัติการกระตุน้ ของหม้อแปลงกระแส
55

2.14.16 การทดสอบค่ าเบอร์ เดนของหม้ อแปลงกระแส


การทดสอกนี้ ไม่ใช้การทดสอกหม้อแปลงกระแสแต่เป็ นการทดสอกค่าเกอร์ เดนหรื อ
ภาระทางด้านทุติยภูมิที่ต่ออยูก่ กั หม้อแปลงกระแสว่าเกินกว่าค่าที่หม้อแปลงกระแสได้ ูกออกแกก
ไว้หรื อไม่ และยังเป็ นการยืนยันในขั้นตอนสุ ดท้ายว่าหม้อแปลงกระแสไม่ได้ ูกเปิ ดวงจรทางด้าน
ทุ ติย ภู มิ ไ ว้ การทดสอกนี้ ท าโดยจ่ ายกระแสไฟฟ้ าตามาิ ก ัดกระแสด้านทุ ติย ภู มิ ข องหม้อแปลง
กระแส (เช่น 5 A) เข้าที่วงจรที่ต่อด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงและทาการวัดค่าแรงดันตกคร่ อมหม้อ
แปลง จากนั้นคานวีค่าความต้านทานรวมของวงจรด้านทุ ติยภูมิของหม้อแปลงโดยใช้กฎของ
โอห์ม

You might also like