You are on page 1of 8

่ าเนิ ดไฟฟ้ า

การขนานเครืองก
กระแสสลับ
่ าเนิ ดไฟฟ้ ากระแสสลับตังแต่
• การขนานเครืองก ้ 2
่ นไป
เครืองขึ ้ ่ ้องคานึ งถึง คือ
มีหลักการสาคัญทีจะต

แรงเคลือนไฟฟ้ ่ าเนิ ดไฟฟ้ าแต่ละตัวต ้องมี
าของเครืองก
่ ากัน และการเรียงลาดับ
ค่าเท่ากัน มีคา่ ความถีเท่
เฟสเหมือนกันด ้วย เครืองมื่ อทีใช
่ ้ในการขนานเครือง ่
กาเนิ ดไฟฟ้ าประกอบด ้วย โวลต ์มิเตอร ์ (Voltmeter)

ใช ้วัดแรงเคลือนไฟฟ้ า ฟรีเควนซีมิ่ เตอร ์
(Frequency meter)ใช ้วัดความถี่ และชุดหลอดไฟ
ซิงโครไนซ ์ ใช ้สาหร ับตรวจสอบการเรียงลาดับเฟส
่ องมีการขนานเครือง
ความจาเป็ นทีจะต้ ่
กาเนิ ดไฟฟ้า
1. การทีมี ่ เครืองก
่ าเนิ ดไฟฟ้ าหลายๆ เครือง ่ จะช่วย

แก ้ปัญหาในกรณี เครืองใดเครื ่
องหนึ ่ งเกิดการชารุด

เสียหาย ก็สามารถทีจะถอดไปซ่ อมแซมและบารุงร ักษา
ได ้
2. เนื่ องจากโหลดทีใช ่ ้ประจาในช่วงเวลาทีมี ่ โหลด
่ นเครื
เพิมขึ ้ ่ าเนิ ดไฟฟ้ าเพียงเครืองเดี
องก ่ ยวอาจจ่าย
กระแสไฟฟ้ าให ้แก่โหลดได ้ไม่เพียงพอ
การต่อขนานเครืองก ่ าเนิ ดสิงส
่ าคัญทีต
่ ้อง
คานึ งถึงมีดงั นี ้
1. แรงดันไฟฟ้ าของเครืองก ่ าเนิ ดไฟฟ้ าทังสอง


เครืองจะต ้องเท่ากัน (ความแตกต่างกันของ
แรงดัน 5% จะทาให ้มีทรานเชียนท ์เสิร ์จ

(transient surge) เกิดขึนประมาณ 25% ของ
่ ้งานเต็มที่ และจะไหลวนเวียนอยู่
กระแสเมือใช

ระหว่างเครืองได ้)
2. ความถีจะต่ ้องเท่ากันแบบไอเด็นติคอล
(Identical) ส่วนความเร็วของตัวเครืองต ่ ้นกาลัง
ไม่จาเป็ นจะต ้องเท่ากันก็ได ้
วิธก ่
ี ารขนานเครืองกาเนิ ดไฟฟ้า
การขนานเครืองก ่ าเนิ ดไฟฟ้ าโดยใช ้หลอดไฟในปัจจุบน

มีอยู่ 3 วิธค
ี อื

• แบบหลอดไฟดับทังสามหลอด (dark out)

• แบบหลอดไฟสว่างหมดทังสามหลอด (bright up)
• แบบสว่างสองหลอดและดับหนึ่ งหลอด (two bright
and one dark)
วิธก ่
ี ารขนานเครืองกาเนิ ดไฟฟ้าด้วยซิง
โครสโคป
• ซิงโครสโคปประกอบด ้วยขดลวด 2 ชุด ชุดหนึ่ งจะต่อ
เข ้ากับบัสบาร ์ และอีกชุดหนึ่ งจะต่อเข ้ากับเครือง

่ ามาขนาน
กาเนิ ดทีจะน
การขนานเครืองก่ าเนิ ดไฟฟ้าสองต ัวเข้า
ด้วยก ันโดยไม่มโี หลดต่ออยู ่

่ ไฟฟ้ าต่อเฟสของเครืองก
• แรงเคลือน ่ าเนิ ดไฟฟ้ าทัง้
สองจะไม่ทบ ั กัน เนื่ องจากความเร็วเชิงมุมของเครือง ่

กาเนิ ดไฟฟ้ าทังสองไม่ เท่ากันก่อนทีจะท่ าการ
ซิงโครไนซ ์ทาให ้เกิดแรงเคลือนไฟฟ้ ่ าลัพธ ์ขึน้

แรงเคลือนไฟฟ้ ้ ยกว่า “แรงเคลือนไฟฟ้
าลัพธ ์นี เรี ่ า
ซิงโครไนซ ์” ผลของแรงเคลือนไฟฟ้ ่ าลัพธ ์จะทาให ้เกิด
กระแสไฟฟ้ าไหลวนในเครืองก ่ าเนิ ดไฟฟ้ าทังสองโดยมี

ตัวหนึ่ งจ่ายกระแสไฟฟ้ า และอีกตัวหนึ่ งร ับกระแสไฟฟ้ า
กระแส ไฟฟ้ านี เรี ้ ยกว่า “กระแสซิงโครไนซิง” ่
กาลังไฟฟ้ าและแรงบิดทีร่ ักษาสภาพซิงโครไนซ ์
(synchronizing power and synchronizing torque)
• กระแสซิงโครไนซ ์จะร ักษาสภาพซิงโครไนซ ์ไว ้จึงเรียกว่า “กาลังไฟฟ้ าทีร่ ักษา
สภาพซิงโครไนซ ์” กาลังไฟฟ้ าทีร่ ักษาสภาพซิงโครไนซ ์ จะเป็ นตัวปร ับสภาพให ้
่ าเนิ ดไฟฟ้ าทังสองมี
เครืองก ้ ความเร็วเชิงมุมเท่ากัน หลังจากสับสวิตช ์ซิงโครไนซ ์
่ าเนิ ดไฟฟ้ าตัวหนึ่ งจะเป็ นตัวจ่ายพลังงานและอีกตัวหนึ่ งเป็ น
กันแล ้วคือ เครืองก
ตัวร ับพลังงาน

You might also like