You are on page 1of 43

.

หน่ วยการเรียนรู ้ที 6 ไฟฟ้า


$ วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรมและแบบขนาน
เรือง
โดย ครูจฑ
ุ าร ัตน์ สุวรรณร ัตน์
ทบทวนความรู ้ก่อนเรียน

หลอดไฟฟ้ า

สวิตช ์

เซลล ์ไฟฟ้ า
ฝึ กการเขียน
แผนภาพวงจรฟ้า
ฝึ กการเขียน
แผนภาพวงจรฟ้า
ฝึ กการเขียน
แผนภาพวงจรฟ้า
ฝึ กการเขียน
แผนภาพวงจรฟ้า
ฝึ กการเขียน
แผนภาพวงจรฟ้า
ฝึ กการเขียน
แผนภาพวงจรฟ้า
การต่อวงจรไฟฟ้ า
• วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม
• วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน
• วงจรไฟฟ้ าแบบผสม
วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม

หมายถึง การนํ าอุปกรณ์ไฟฟ้ ามาต่อเรียงลําดับกันไป


โดยนํ าปลายด ้านใดด ้านหนึD งของอุปกรณ์ตวั ทีหนึ
D D งมาต่อกับ
D
อุปกรณ์ตวั ทีสอง จากนัGนนํ าปลายทีเหลื
D อของอุปกรณ์ทสอง ีD
D
ไปต่อกับอุปกรณ์ตวั ทีสาม และต่อในลักษณะทีเรีD ยงกันไปเรือย
D ๆ
D อเข ้ากับแหล่งกําเนิ ดไฟฟ้ า
จนถึงอุปกรณ์ตวั สุดท ้ายให ้ต่อปลายทีเหลื
วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่
D านตัวต ้านทานแต่ละตัวจะมี
ค่าเท่ากัน แต่ความต่างศักย ์รวมจะเท่ากับผลบวกของความต่างศักย ์แต่ละตัวนํ ามาบวก
D นตามจํ
กัน ความต ้านทานรวมจะเพิมขึ G านวนหลอดไฟฟ้ าทีนํD ามาต่อกัน

กระแสไฟฟ้ า ความต่างศักย ์
I1 = I2 = I3 Vรวม = V1 + V2

ความต ้านทาน
Rรวม = R1 + R2
ถ ้าอุปกรณ์ไฟฟ้ าตัวใดตัวหนึD ง
เสียหายหรือไม่ทาํ งานก็จะทําให ้วงจร
เปิ ดไม่มก
ี กระแสไฟฟ้ าในวงจร
ีD อก็จะไม่ทาํ งาน
อุปกรณ์ทเหลื
กิจกรรมที; 6.4
วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรมเป็ น
อย่างไร
ตารางบันทึกผลการทดลอง ค่าความต่างศ ักย ์ไฟฟ้าระหว่างจุดต่าง ๆ

ค่าความต่างศ ักย ์ไฟฟ้าระหว่างจุดต่าง ๆ (V)


AB BC AC

ตารางบันทึกผลการทดลอง ค่ากระแสไฟฟ้าจุดต่าง ๆ
A ดต่าง ๆ (A)
ค่ากระแสไฟฟ้าทีจุ
A B C
ตารางบันทึกผลการทดลอง ค่าความต่างศ ักย ์ไฟฟ้าระหว่างจุดต่าง ๆ

ค่าความต่างศ ักย ์ไฟฟ้าระหว่างจุดต่าง ๆ (V)


AB BC AC
2.0 4.0 6.0

ตารางบันทึกผลการทดลอง ค่ากระแสไฟฟ้าจุดต่าง ๆ
A ดต่าง ๆ (A)
ค่ากระแสไฟฟ้าทีจุ
A B C
0.335 0.335 0.335
แผนภาพการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม
สรุปผลการทดลอง
ในการต่อหลอดไฟฟ้ าสองหลอดแบบอนุ กรม กระแสไฟฟ้ าทีD
G
ผ่านหลอดไฟฟ้ าทังสองจะเท่ D อม
ากัน ส่วนความต่างศักย ์ไฟฟ้ าทีคร่
หลอดไฟฟ้ าแต่ละหลอดรวมกันจะเท่ากับความต่างศักย ์ไฟฟ้ ารวมของ
วงจร
แบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม

1
เฉลยแบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม
1
5 10

5 15

5 25
แบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม

2
เฉลยแบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม
2 3 3
3 6
3
3 6 18
แบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม

3
แบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม

3
4
4 16
4 6 24
แบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม

4
แบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม

4
3 9
3
3 11 33
วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน

หมายถึง การนําอุปกรณ์ไฟฟ้าตั7งแต่ : ตัวขึ7นไปมาต่อเรี ยงแบบขนานกัน


โดยนําปลายด้านเดียวกันของอุปกรณ์แต่ละตัวมาต่อเข้าด้วยกัน
แล้วต่อปลายของอุปกรณ์แต่ละตัวทีEต่อกันแล้วนั7นเข้ากับแหล่งกําเนิดไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน ความต่างศักย ์ทีตกคร่
D อมตัวต ้านทานแต่ละตัวจะมี
ค่าเท่ากัน แต่กระแสรวมจะเท่ากับผลบวกของกระแสแต่ละตัวนํ ามารวมกัน ความ
D อยทีสุ
ต ้านทานรวมจะน้อยลงและน้อยกว่าความต ้านทานทีน้ D ดในวงจร

กระแสไฟฟ้ า ความต่างศักย ์

Iรวม = I1 + I2 V1 = V2 = V3

ความต ้านทาน
1 = 1 + 1
Rรวม R1 R2
ถ ้าอุปกรณ์ไฟฟ้ าตัวใดตัวหนึD งเสียหาย
หรือไม่ทาํ งานจะยังมีกระแสไฟฟ้ าใน
D อให ้
วงจรผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ าทีเหลื
ทํางานต่อไปได ้
กิจกรรมที; 6.5
วงจรไฟฟ้ าแบบขนานเป็ น
อย่างไร
ตารางบันทึกผลการทดลอง ค่าความต่างศ ักย ์ไฟฟ้า
ระหว่างจุดต่าง ๆ
ค่าความต่างศ ักย ์ไฟฟ้าระหว่างจุดต่าง ๆ (V)
BC DE AF

ตารางบันทึกผลการทดลอง ค่ากระแสไฟฟ้าจุดต่าง ๆ
A ดต่าง ๆ (A)
ค่ากระแสไฟฟ้าทีจุ
A B D F
ตารางบันทึกผลการทดลอง ค่าความต่างศ ักย ์ไฟฟ้า
ระหว่างจุดต่าง ๆ
ค่าความต่างศ ักย ์ไฟฟ้าระหว่างจุดต่าง ๆ (V)
BC DE AF
2.3 2.3 2.3

ตารางบันทึกผลการทดลอง ค่ากระแสไฟฟ้าจุดต่าง ๆ
A ดต่าง ๆ (A)
ค่ากระแสไฟฟ้าทีจุ
A B D F
0.6 0.25 0.35 0.6
แผนภาพการต่อวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน
สรุปผลการทดลอง
ในการต่อหลอดไฟฟ้ าสองหลอดแบบขนาน ความต่าง
G
ศักย ์ไฟฟ้ าของหลอดไฟฟ้ าทังสองจะเท่
ากัน และเท่ากับความต่าง
D านหลอดไฟฟ้ าแต่ละหลอด
ศักย ์ไฟฟ้ ารวมของวงจร กระแสไฟฟ้ าทีผ่
รวมกันจะเท่ากับกระแสไฟฟ้ ารวมของวงจร
แบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน

1
เฉลยแบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน
1 6 12
12
3 12
13 1 12
9
แบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน

2
เฉลยแบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน
2
20
2 20
6 1 20
15
แบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน

3
เฉลยแบบฝึ กหัด วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน
3 2 12
1 12
1 12
18
วงจรไฟฟ้ าแบบผสม

หมายถึง การต่อวงจรทั2งแบบอนกรมและแบบขนานเข้าไปในวงจรเดียว
การต่อแบบนี2โดยทัวA ไปไม่นิยมใช้กนั เพราะเกิดความยุง่ ยาก
จะใช้กนั แต่ในทางด้านอิเล็กทรอนิกส์เป็ นส่ วนใหญ่ เช่น
ตัวต้านทานตัวหนึAงต่ออนุกรมกับตัวต้านทานอีกตัวหนึAง
แล้วนําตัวต้านทานทั2งสองไปต่อตัวต้านทานอีกชุดหนึAง
วงจรไฟฟ้ าในบ ้าน

วงจรไฟฟ้ าภายในบ ้านส่วนใหญ่จะต่อแบบขนาน


D นการต่อวงจรทําให ้อุปกรณ์และ
ซึงเป็
D
เครืองใช ้ไฟฟ้ า
แต่ละชนิ ดอยูค D
่ นละวงจร ถ ้าเครืองใช ้ไฟฟ้ าชนิ ด
หนึD งเกิดขัดข ้องเนืD องจากสาเหตุใดก็ตาม
D
เครืองใช D ยงั คงใช ้งานได ้ตามปกติ
้ไฟฟ้ าชนิ ดอืนก็
เพราะไม่ได ้อยูใ่ นวงจรเดียวกัน
< ้ในวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ไฟฟ้ าทีใช

สะพานไฟ ฟิ วส ์ สวิตช ์ เต ้าร ับและเต ้าเสียบ


ทําแบบฝึ กหัดท ้าย
หน่ วย

You might also like