You are on page 1of 18

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
เวลา 20 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสาร
และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง
และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 2.3 ม.3/1 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศั กย์กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน และ
คานวณปริมาณที่เกี่ยวข้องโดยใช้สมการ V = IR จากหลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.3 ม.3/2 เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า และความต่างศักย์ไฟฟ้า
ว 2.3 ม.3/3 ใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณทางไฟฟ้า
ว 2.3 ม.3/4 วิเคราะห์ความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าเมื่อต่อตัวต้านทานหลายตั ว
แบบอนุกรมและแบบขนานจากหลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.3 ม.3/5 เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและขนาน
ว 2.3 ม.3/6 บรรยายการทางานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรจากข้อมูลที่รวบรวมได้
ว 2.3 ม.3/7 เขียนแผนภาพและต่อชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรไฟฟ้า
ว 2.3 ม.3/8 อธิบายและคานวณพลังงานไฟฟ้าโดยใช้สมการ W = Pt รวมทั้งคานวณค่าไฟฟ้าของ
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
ว 2.3 ม.3/9 ตระหนักในคุณค่าของการเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าโดยนาเสนอวิธีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ า
อย่างประหยัดและปลอดภัย

2. สาระการเรียนรู้
2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. เมื่ อ ต่ อ วงจรไฟฟ้ า ครบวงจรจะมี ก ระแสไฟฟ้ า ออกจากขั้ ว บวกผ่ า นวงจรไฟฟ้ า ไปยั ง ขั้ ว ลบของ
แหล่งกาเนิดไฟฟ้า ซึ่งวัดค่าได้จากแอมมิเตอร์
2. ค่าที่บอกความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้าต่อหน่วยประจุระหว่างจุด 2 จุด เรียกว่า ความต่างศักย์ซึ่งวัด
ค่าได้จากโวลต์มิเตอร์
3. ขนาดของกระแสไฟฟ้ามีค่าแปรผันตรงกับความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของตัวนา โดยอัตราส่วน
ระหว่างความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้ามีค่าคงที่ เรียกค่าคงที่นี้ว่า ความต้านทาน
4. ในวงจรไฟฟ้าประกอบด้วยแหล่งกาเนิดไฟฟ้า สายไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้า โดยอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละชิ้น
มีความต้านทาน ในการต่อตัวต้านทานหลายตัวมีทั้งต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน

1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

5. การต่อตัวต้านทานหลายตัว แบบอนุกรมในวงจรไฟฟ้า ความต่างศักย์ที่คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวมีค่า


เท่ากับผลรวมของความต่างศักย์ที่คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัว โดยกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละ
ตัวมีค่าเท่ากัน
6. การต่อตัวต้านทานหลายตัวแบบขนานในวงจรไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ผ่านวงจรมีค่าเท่ากับผลรวมของ
กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว โดยความต่างศักย์ที่คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน
7. ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์มีหลายชนิด เช่น ตัวต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ ตัวเก็บประจุ โดยชิ้นส่วน
แต่ละชนิดทาหน้าที่แตกต่างกันเพื่อให้วงจรทางานได้ตามต้องการ
8. ตัวต้านทานทาหน้าที่ควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า ไดโอดทาหน้าที่ให้กระแสไฟฟ้าผ่าน
ทางเดียว ทรานซิสเตอร์ทาหน้าที่เป็นสวิตช์ปิดหรือเปิดวงจรไฟฟ้าและควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุทาหน้าที่เก็บและคายประจุไฟฟ้า
9. เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิกส์หลายชนิดที่ทางานร่วมกัน การต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์โดยเลือกใช้ชิ้นส่วนนั้น ๆ จะสามารถทาให้วงจรไฟฟ้าทางานได้ตามต้องการ
10. เครื่องใช้ไฟฟ้าจะมีค่ากาลังไฟฟ้าและความต่างศักย์กากับไว้ กาลังไฟฟ้ามีหน่วยเป็นวัตต์ ความต่างศักย์
มี ห น่ ว ยเป็ น โวลต์ ค่ า ไฟฟ้ า ส่ ว นใหญ่ คิ ด จากพลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ใ ช้ ทั้ ง หมด ซึ่ ง หาได้ จ ากผลคู ณ ของ
กาลังไฟฟ้า ในหน่ วยกิโลวัตต์ กับเวลาในหน่วยชั่ว โมง พลังงานไฟฟ้ามีห น่ว ยเป็นกิโลวัตต์ ชั่วโมง
หรือหน่วย
11. วงจรไฟฟ้าในบ้านมีการต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบขนานเพื่อให้ความต่างศักย์เท่ากัน การใช้เครื่องใช้ ไฟฟ้า
ในชีวิตประจาวันต้องเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์และกาลังไฟฟ้าให้เหมาะกับการใช้งาน
และการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าต้องใช้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และประหยัด
2.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
กระแสไฟฟ้ า เป็ น ปริ มาณประจุ ไฟฟ้ าที่เคลื่ อนที่ห รือ ถ่ายเทจากจุด หนึ่งไปยัง อีกจุด หนึ่ง เป็น ความ
แตกต่างของพลังงานไฟฟ้าต่อหน่วยประจุระหว่างจุด 2 จุด ซึ่งทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า โดยกระแสไฟฟ้าจะไหล
จากจุดที่มีระดับพลังงานไฟฟ้าสูงกว่าไปยังจุดที่มีระดับพลังงานไฟฟ้าต่ากว่า และจะหยุดไหลเมื่อศักย์ไฟฟ้าของ
ทั้งสองจุดเท่ากัน สามารถวัดค่ากระแสไฟฟ้าได้โดยใช้ แอมมิเตอร์ ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและ
ความต่างศักย์ เป็นไปตามกฎของโอห์ม มีใจความสาคัญว่า เมื่ออุณหภูมิคงที่ กระแสไฟฟ้าในตัวนาโลหะจะแปร
ผันตรงกับความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้ง 2 ข้าง ของตัวนานั้น

2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

การอ่านค่าความต้านทานที่แสดงไว้บนตัวต้านทานอ่านได้หลายแบบ เช่น ตัวต้านทานค่าคงที่ มักมีแถบสี


ปรากฏอยู่บนตัวต้านทานแตกต่างกันไปตามค่าความต้านทาน โดยจะมีทั้งแบบ 4 แถบสี และ 5 แถบสี ซึ่งการ
อ่านค่าความต้านทานจะต้องนาตัวต้านทานไปเทียบกับตารางแสดงรหัสสีของแถบสีบนตัวต้านทานแล้วแปลง
ออกมาเป็นค่าความต้านทาน และอุปกรณ์ไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้าแต่ละชิ้นมักจะมีความต้านทาน เมื่อนามาต่อเข้า
กันเป็นวงจรส่วนใหญ่จะเป็นการต่อแบบอนุกรมและแบบขนานขึ้นอยู่กับการใช้งาน โดยความต่างศักย์ที่ตก
คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวกับกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านในวงจรจะมีค่าแตกต่างกันไปตามรูปแบบการต่อวงจร
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เป็นอุปกรณ์ที่สาคัญอย่างหนึ่งในวงจรไฟฟ้า โดยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แต่ละอย่าง
จะมี ห น้ า ที่ แตกต่ า งกั น ไป เช่ น ตั ว ต้ า นทาน ทาหน้ า ที่ ค วบคุ ม ปริ ม าณกระแสไฟฟ้ าในวงจรไฟฟ้ า ไดโอด
ทาหน้าที่ให้กระแสไฟฟ้าผ่านทางเดียว ทรานซิสเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสวิตช์ปิดหรือเปิดวงจรไฟฟ้ าและควบคุม
ปริมาณกระแสไฟฟ้า ตัวเก็บประจุ ทาหน้าที่เก็บและคายประจุไฟฟ้า การต่อชิ้นส่ว นอิเล็ กทรอนิกส์ เข้าใน
วงจรไฟฟ้าจะต้องทาการต่อให้ถูกต้องและถูกหลักการทางไฟฟ้า จึงจะทาให้วงจรไฟฟ้านั้นทางานได้ตามที่
ต้องการและมีประสิทธิภาพ
พลังงานไฟฟ้าเป็นงานหรือพลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนที่หรือการถ่ายเทของประจุ ไฟฟ้าจากจุดหนึ่งไปยัง
จุ ดหนึ่ ง พลั งงานไฟฟ้าที่ใช้ไปในหนึ่ งหน่ว ยเวลา เรียกว่า ก าลั งไฟฟ้า มีห น่ว ยเป็น วัตต์ หรือจูล ต่อวินาที
กล่าวได้ว่า กาลังไฟฟ้า คือ อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้า เครื่องมือที่ใช้ในการวัดปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้า
เข้าสู่บ้านเรือนเรียกว่า มาตรไฟฟ้า
ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านเรือนโดยทั่วไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ การส่งพลังงานไฟฟ้า
เข้าบ้านจะใช้สายไฟฟ้า 2 สาย คือ สายมีศักย์ เป็นสายที่มีพลังงานศักย์ไฟฟ้า อาจเรียกว่าสาย L และสายกลาง
มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์เมื่อเทียบกับดิน อาจเรียกว่า สาย N วงจรไฟฟ้าในบ้านมีการต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบขนาน
เพื่อให้ความต่างศักย์เท่ากัน เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเมื่อแบ่งตามลักษณะพลังงานที่ได้รับจากเครื่องใช้ไฟฟ้า
สามารถแบ่ ง ได้ เ ป็ น 3 ประเภท ได้ แ ก่ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ เ ปลี่ ย นพลั ง งานไฟฟ้ า เป็ น พลั ง งานแสงสว่ า ง
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น
พลังงานกล
การใช้พลังงานไฟฟ้ามากจะทาให้เสียค่าไฟฟ้าต่อหน่ว ยมากขึ้นด้วย เพื่อความประหยัดควรเลื อกใช้
เครื่องใช้ไฟฟ้าให้เหมาะสมกับความต้องการในการใช้งานเท่าที่จาเป็น เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้ไฟฟ้าควรใช้
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างระมัดระวัง รวมทั้งตรวจสอบสภาพการใช้งานอย่างสม่าเสมอ

3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย รับผิดชอบ
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
1) ทักษะการวัด 3. มุ่งมั่นในการทางาน
2) ทักษะการสังเกต
3) ทักษะการทดลอง
4) ทักษะการคานวณ
5) ทักษะการวิเคราะห์
6) ทักษะการนาความรู้ไปใช้
7) ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล
8) ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- การสร้างชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้า

6. การวัดและการประเมินผล
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
6.1 การประเมินชิ้นงาน/
ภาระงาน (รวบยอด)
- ออกแบบและ - ตรวจชิ้นงาน - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดับคุณภาพ 2
สร้างชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์จากการ ภาระงาน (รวบยอด) ผ่านเกณฑ์
สิ่งประดิษฐ์จากการ ต่อวงจรไฟฟ้า
ต่อวงจรไฟฟ้า
6.2 การประเมินก่อนเรียน
- แบบทดสอบ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ประเมินตามสภาพจริง
ก่อนเรียน หน่วยการ ก่อนเรียน หน่วยการ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
เรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและ เรียนรู้ท่ี 5 ไฟฟ้า ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ และอิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์

4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน


6.3 การประเมินระหว่าง
การจัดกิจกรรม
1) ความสัมพันธ์ - ตรวจใบงานที่ 5.1 - ใบงานที่ 5.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ระหว่างกระแสไฟฟ้า - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กับความต่างศักย์ หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี ม.3
เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2
เล่ม 2
2) ผลบันทึกการปฏิบัติ - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กิจกรรม หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ความสัมพันธ์ วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี ม.3
ระหว่าง เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2
กระแสไฟฟ้ากับ เล่ม 2
ความต่างศักย์
3) ตัวต้านทาน - ตรวจใบงานที่ 5.2 - ใบงานที่ 5.2 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี ม.3
เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2
เล่ม 2
4) ผลบันทึกการปฏิบัติ - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กิจกรรมการต่อตัว หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ต้านทานแบบ วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี ม.3
อนุกรม เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2
เล่ม 2
5) ผลบันทึกการปฏิบัติ - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กิจกรรมการต่อตัว หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ต้านทานแบบขนาน วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี ม.3
เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2
เล่ม 2

5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน


6) วงจรอิเล็กทรอนิกส์ - ตรวจใบงานที่ 5.3 - ใบงานที่ 5.3 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เบื้องต้น - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี ม.3
เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2
เล่ม 2
7) ผลบันทึกการปฏิบัติ - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กิจกรรมการต่อวงจร หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ทรานซิสเตอร์ วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี ม.3
เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2
เล่ม 2
8) พลังงานไฟฟ้า - ตรวจใบงานที่ 5.4 - ใบงานที่ 5.4 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กาลังไฟฟ้า และการ - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
คานวณค่าไฟฟ้า หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี ม.3
เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2
เล่ม 2
9) วงจรไฟฟ้าและ - ตรวจใบงานที่ 5.5 - ใบงานที่ 5.5 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เครื่องใช้ไฟฟ้าใน - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
บ้าน หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี ม.3
เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2
เล่ม 2
10) การใช้ไฟฟ้าอย่าง - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ประหยัดและ หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ปลอดภัย วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี ม.3
เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2
เล่ม 2
11) การนาเสนอผลงาน/ - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2
การปฏิบัติกิจกรรม ผลงาน/การปฏิบัติ นาเสนอผลงาน/การ ผ่านเกณฑ์
กิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรม

6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน


12) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
ทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
13) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
ทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
14) คุณลักษณะอันพึง - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
ประสงค์ รับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์
และมุ่งมัน่ ในการ อันพึงประสงค์
ทางาน
6.4 การประเมินหลังเรียน
- แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 หลังเรียน หน่วยการ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
ไฟฟ้าและ เรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้า ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ และอิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์

7. กิจกรรมการเรียนรู้
 แผนที่ 1 : ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์ เวลา 3 ชั่วโมง
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
 แผนที่ 2 : ตัวต้านทาน เวลา 5 ชั่วโมง
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
 แผนที่ 3 : วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น เวลา 4 ชั่วโมง
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
 แผนที่ 4 : พลังงานไฟฟ้า กาลังไฟฟ้า และการคานวณค่าไฟฟ้า เวลา 3 ชั่วโมง
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
 แผนที่ 5 : วงจรไฟฟ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เวลา 2 ชั่วโมง
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
 แผนที่ 6 : การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย เวลา 3 ชั่วโมง
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
(รวมเวลา 20 ชั่วโมง)

7
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
3) ใบงานที่ 5.1 เรื่อง กฎของโอห์ม
4) ใบงานที่ 5.2 เรื่อง ตัวต้านทาน
5) ใบงานที่ 5.3 เรื่อง ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
6) ใบงานที่ 5.4 เรื่อง พลังงานไฟฟ้า
7) ใบงานที่ 5.5 เรื่อง ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
8) วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์
9) วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
10) วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการต่อตัวต้านทานแบบขนาน
11) วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการต่อวงจรทรานซิสเตอร์
12) วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรม Fun Science Activity เรื่อง ไฟฉายจากขวดพลาสติก
13) PowerPoint เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์
14) PowerPoint เรื่อง ตัวต้านทาน
15) PowerPoint เรื่อง วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
16) PowerPoint เรื่อง พลังงานไฟฟ้า
17) PowerPoint เรื่อง วงจรไฟฟ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
18) PowerPoint เรื่อง การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย
19) สลากหมายเลข
20) ตัวต้านทานค่าคงที่
21) บัตรคา
22) บัตรภาพ
23) QR Code เรื่อง ระบบการส่งกระแสไฟฟ้า
24) สมุดประจาตัวนักเรียน
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด
3) อินเทอร์เน็ต

8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้อเดียว


1. เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าคือข้อใด 6. ถ้าต้องการต่อเครื่องสูบน้ากับวงจรไฟฟ้าที่มีความต่าง
1. แอมมิเตอร์ ศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์ กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านได้ 5
2. โวลต์มิเตอร์ แอมแปร์ จะมีกาลังไฟฟ้าเท่าใด
3. โอห์มมิเตอร์ 1. 110 วัตต์
4. แกลวานอมิเตอร์ 2. 225 วัตต์
2. ข้อใดเป็นหน่วยของกาลังไฟฟ้า 3. 1,100 วัตต์
1. วัตต์ 4. 2,200 วัตต์
2. กิโลวัตต์ 7. ห้องเช่าห้องหนึ่งติดเครื่องปรับอากาศขนาด 1,000 วัตต์
3. จูลต่อวินาที จานวน 1 เครื่อง เปิดใช้งานวันละ 10 ชั่วโมง จะต้องเสียค่า
4. ถูกทุกข้อ ไฟฟ้าเดือนเมษายนเท่าใด ถ้าค่าไฟฟ้าตามห้องเช่าคิด
3. เครื่องใช้ไฟฟ้าข้อใดที่ให้พลังงานความร้อนทั้งหมด หน่วยละ 7 บาท
1. เตาอบไมโครเวฟ เตารีดไฟฟ้า 1. 1,800 บาท
2. เตารีดไอน้า เครื่องปรับอากาศ 2. 2,100 บาท
3. เครื่องปรับอากาศ เครื่องสูบน้า 3. 2,900 บาท
4. เครื่องเป่าผมไฟฟ้า หม้อต้มกาแฟ 4. 3,200 บาท
4. กระแสไฟฟ้าไหลจากบริเวณศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังบริเวณ 8. การตรวจไฟฟ้ารั่วที่เครื่องใช้ไฟฟ้าหรือไม่ วิธีการทีเ่ กิดความ
ศักย์ไฟฟ้าต่า หมายความว่าอย่างไร ปลอดภัยและทาง่ายที่สุดคือข้อใด
1. กระแสไฟฟ้าจากทีส่ ูงไปยังทีต่ ่า 1. ดูที่ค่าไฟฟ้า
2. กระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ 2. ใช้มิเตอร์วัด
3. กระแสไฟฟ้าไหลจากความต้านทานมากไปยังความ 3. ใช้มือสัมผัส
ต้านทานน้อย 4. ใช้ไขควงตรวจสอบไฟฟ้า
4. กระแสไฟฟ้าไหลจากความต้านทานน้อยไปยังความ 9. การกระทาของนักเรียนคนใดถูกต้องและเหมาะสมที่สดุ
ต้านทานมาก 1. สมศรีชอบเล่นว่าวใกล้สายไฟฟ้า
5. การเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าจะต้องตรวจสอบค่าสิ่งใดเพื่อให้ 2. สมชายใช้ลวดทองแดงต่อแทนฟิวส์
เหมาะสมกับความต้องการ 3. ธันวาถอดปลั๊กทุกครั้งหลังจากเลิกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า
1. จานวนวัตต์และค่ากระแสไฟฟ้า 4. กาญจนาติดปลั๊กไฟฟ้าไว้ในระดับต่าเพื่อไม่ให้เกะกะ
2. จานวนวัตต์และค่าความต้านทาน 10. สายดินป้องกันกระแสไฟฟ้ารัว่ ได้อย่างไร
3. จานวนวัตต์และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า 1. ทาให้ความต่างศักย์ลดลงครึง่ หนึ่ง
4. ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าและค่าความต้านทานไฟฟ้า 2. ถ้ากระแสไฟฟ้ารั่วสวิตช์อัตโนมัติจะตัดเอง
3. ถ้ากระแสไฟฟ้ารั่วความต้านทานจะสูงขึ้นมาก
4. ถ้ากระแสไฟฟ้ารั่วกระแสไฟฟ้าจะไหลไปทางสายดิน

เฉลย 1. 2 2. 1 3. 1 4. 2 5. 3 6. 3 7. 2 8. 4 9. 3 10. 4

9
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้อเดียว


1. อุปกรณ์ใดจะต้องต่อแบบอนุกรมเข้ากับวงจรไฟฟ้าเท่านั้น 7. ค่าความต้านไฟฟ้าของเส้นลวดเส้นหนึ่งจะขึ้นอยู่กับข้อใด
1. แอมมิเตอร์ 1. แปรผันตรงกับความยาวของเส้นลวด
2. โวลต์มิเตอร์ 2. แปรผันตรงกับพื้นที่ภาคตัดขวางของเส้นลวด
3. โอห์มมิเตอร์ 3. แปรผกผันกับความยาว แต่แปรผันตรงกับพื้นที่
4. แกลวานอมิเตอร์ ภาคตัดขวางของเส้นลวด
2. อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าคือข้อใด 4. แปรผันตรงกับความยาว แต่แปรผกผันกับพื้นที่
1. กาลังไฟฟ้า ภาคตัดขวางของเส้นลวด
2. ความจุไฟฟ้า 8. เมื่อนาถ่านไฟฉายขนาด 1.5 โวลต์ มาต่ออนุกรม 4 ก้อน
3. ความต่างศักย์ แล้วนาไปต่อขนานกับหลอดไฟที่มีความต้านทาน 3 โอห์ม
4. พลังงานไฟฟ้า จานวน 3 หลอด กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านทั้งวงจรมีค่าเท่าใด
3. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมมีข้อเสียอย่างไร 1. 4 แอมแปร์
1. ไม่ปลอดภัยต่อผู้ใช้งาน 2. 5 แอมแปร์
2. ต้องใช้อุปกรณ์ในการต่อมาก 3. 6 แอมแปร์
3. กระแสไฟฟ้าในวงจรเดินไม่สะดวก 4. 7 แอมแปร์
4. ถ้าสายไฟขาดจะทาให้วงจรเปิดทั้งวงจร 9. อรอุมาต่อตู้เย็นกับความต่างศักย์ 220 โวลต์ มีกระแสไฟฟ้า
4. นิชาต่อวงจรไฟฟ้าโดยต่อแบตเตอรี่เข้ากับไดโอด แล้วต่อ ไหลผ่าน 2.2 แอมแปร์ ตูเ้ ย็นเครื่องนี้มีกาลังไฟฟ้าเท่าไร
เข้ากับหลอดไฟ หากนิชาต่อไดโอดสลับขั้วจะเกิดอะไรขึ้น 1. 264 วัตต์
1. หลอดไฟดับ 2. 484 วัตต์
2. หลอดไฟจะติด ๆ ดับ ๆ 3. 684 วัตต์
3. ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง 4. 884 วัตต์
4. หลอดไฟจะสว่างมากขึ้น 10. บ้านหลังหนึ่งมีหลอดไฟขนาด 50 วัตต์ จานวน 10 ดวง
5. เพราะเหตุใดจึงนิยมต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านแบบขนาน เปิดใช้งานวันละ 10 ชั่วโมง และเครื่องปรับอากาศขนาด
1. เมื่อเครื่องใช้ไฟฟ้าชารุดไฟฟ้าจะไม่ดับทั้งหมด 2,500 วัตต์ จานวน 1 เครื่อง เปิดใช้งานวันละ 8 ชั่วโมง
2. สามารถเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าตามต้องการได้ ในเดือนกันยายนบ้านหลังนี้จะต้องชาระค่าไฟเท่าใด
3. ทาให้ความต่างศักย์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดมีค่าเท่ากัน (กาหนดอัตราค่าไฟฟ้าหน่วยละ 3 บาท)
4. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา 1. 1,500 บาท
6. โวลต์มเิ ตอร์มีวิธีการต่อกับสิ่งที่ต้องการจะวัดในวงจรไฟฟ้า 2. 1,750 บาท
แบบใด 3. 2,200 บาท
1. ต่อคร่อมขั้วแบตเตอรี่ 4. 2,250 บาท
2. ต่อสลับขั้วกับแบตเตอรี่
3. ต่อแบบขนานกับสิ่งที่จะวัด
4. ต่อแบบอนุกรมกับสิ่งที่จะวัด

เฉลย 1. 1 2. 1 3. 4 4. 1 5. 4 6. 3 7. 4 8. 3 9. 2 10. 4
10
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้า
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การออกแบบชิ้นงาน
2 การเลือกใช้วัสดุเพื่อสร้างชิ้นงาน
3 ความสมบูรณ์ของชิ้นงาน
4 การสร้างสรรค์ชิ้นงาน
5 กาหนดเวลาส่งงาน
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................

11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

เกณฑ์การประเมินชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้า


ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. การออกแบบชิ้นงาน ชิ้นงานมีความถูกต้องที่ ชิ้นงานมีความถูกต้องที่ ชิ้นงานมีความถูกต้องที่ ชิ้ น ง า น ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง ที่
ออกแบบไว้ มี ข นาด ออกแบบไว้ มี ข นาด ออกแบบไว้ มี ข นาด ออกแบบไว้ มี ข นาดไม่
เ ห ม า ะ ส ม รู ป แ บ บ เ ห ม า ะ ส ม รู ป แ บ บ เ ห ม า ะ ส ม รู ป แ บ บ เหมาะสม รู ป แบบไม่
น่าสนใจ แปลกตา และ น่าสนใจ และสร้างสรรค์ น่าสนใจ น่าสนใจ
สร้างสรรค์ดี
2. การเลือกใช้วัสดุเพื่อ เลื อ กใช้ วั ส ดุ ม าสร้ า ง เลื อ กใช้ วั ส ดุ ม าสร้ า ง เลื อ กใช้ วั ส ดุ ม าสร้ า ง
เลื อ กใช้ วั ส ดุ ม าสร้ า ง
สร้างชิ้นงาน ชิ้นงานตามที่กาหนดได้ ชิ้นงานตามที่กาหนดได้ ชิ้ น งานตามที่ ก าหนด ชิ้ น งา นไ ม่ ต รง ตา ม ที่
ถูกต้อง และวัสดุมีความ ถูกต้อง และวัสดุมีความ แต่วัสดุมีความเหมาะสม ก าหนด และวั ส ดุ ไ ม่ มี
เหมาะสมกั บ การสร้ า ง เหมาะสมกั บ การสร้ า ง กั บ การสร้ า งชิ้ น งานที่
ความเหมาะสมกั บ การ
ชิ้นงานดีมาก ชิ้นงานดี ออกแบบไว้ สร้างชิ้นงานที่ออกแบบ
ไว้
3. ความสมบูรณ์ของ ชิ้ น งานมี ค วามแข็ งแรง ชิ้ น งานมี ค วามแข็ งแรง ชิ้ น ง า น ไ ม่ มี ค ว า ม ชิ้ น ง า น ไ ม่ มี ค ว า ม
ชิ้นงาน ทนทาน สามารถ ท น ท า น ส า ม า ร ถ แข็ ง แรง แต่ ส ามารถ แ ข็ ง แ ร ง แ ล ะ ไ ม่
นาไปใช้ งานได้ จ ริงและ นาไปใช้ งานได้ จ ริงและ นาไปใช้งานได้บ้าง สามารถนาไปใช้งานได้
ใช้ได้ดีมาก ใช้ได้ดี
4. การสร้างสรรค์ ต ก แ ต่ ง ชิ้ น ง า น ไ ด้ ต ก แ ต่ ง ชิ้ น ง า น ไ ด้ ต ก แ ต่ ง ชิ้ น ง า น ไ ด้ ชิ้ น ง า น ไ ม่ มี ค ว า ม
ชิ้นงาน สวยงามดีมาก สวยงามดี สวยงามน้อย สวยงาม
5. กาหนดเวลาส่งงาน ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด
กาหนด 1-2 วัน เกิน 3 วัน ขึ้นไป เกิน 5 วัน ขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18-20 ดีมาก
14-17 ดี
10-13 พอใช้
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง

12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ


ระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./................../..................

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้อง และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
ได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดย ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึง ทันเวลา และทา
ในขณะปฏิบัติ ไม่ต้องได้รับคาชี้แนะ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง ทากิจกรรมเสร็จไม่ อุปกรณ์เสียหาย
กิจกรรม และทากิจกรรมเสร็จ และทากิจกรรมเสร็จ ทันเวลา
ทันเวลา ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล ทากิจกรรมได้ถูกต้อง ทากิจกรรมได้ถูกต้อง บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
การปฏิบัติ รัดกุม นาเสนอผลการ แต่การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทา สรุป และนาเสนอผล
กิจกรรม ทากิจกรรมเป็นขั้นตอน ทากิจกรรมยังไม่เป็น กิจกรรม การทากิจกรรม
ชัดเจน ขั้นตอน

13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
3 2 1
1 ความถูกต้องของเนื้อหา   
2 ความคิดสร้างสรรค์   
3 วิธีการนาเสนอผลงาน   
4 การนาไปใช้ประโยชน์   
5 การตรงต่อเวลา   
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............/................./...................

เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น   
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย   
4 ความมีน้าใจ   
5 การตรงต่อเวลา   
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............/.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
การมี
การทางาน
การแสดง การยอมรับ ส่วนร่วมใน รวม
ชื่อ–สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ
ลาดับที่ ความคิดเห็น ฟังคนอื่น การปรับปรุง 15
ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............./.................../...............
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิน
อันพึงประสงค์ด้าน 3 2 1
1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้
กษัตริย์ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์
ต่อโรงเรียน
1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตามหลักศาสนา
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนจัดขึ้น
2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง
2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง
3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว
มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน
4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนาไปปฏิบัติได้
4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม
4.3 เชื่อฟังคาสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แย้ง
4.4 ตั้งใจเรียน
5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด
5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า
5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน
6. มุ่งมั่นในการทางาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย
6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ
7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทางาน
8.2 รู้จักการดูแลรักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียนและโรงเรียน

ลงชื่อ .................................................. ผู้ประเมิน


............/.................../................

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน 51-60 ดีมาก
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี
30-40 พอใช้
ต่ากว่า 30 ปรับปรุง
18

You might also like