You are on page 1of 98

ค�ำน�ำ

การไฟฟ้านครหลวงนอกจากจะบริการให้ความสะดวกรวดเร็วแก่ท่านผู้ใช้ไฟฟ้าในด้าน
ต่างๆ รวมทั้งด้านความมั่นคงในระบบจ�าหน่ายไฟฟ้า คือท�าให้ไฟฟ้าไม่ขัดข้องหรือเกิดการ
ดับบ่อยแล้ว ยังค�านึงถึงความปลอดภัยและการประหยัดค่าไฟฟ้าจากการใช้ไฟฟ้าอีกด้วย เพราะ
ไฟฟ้านั้นมีอันตรายแฝงอยู่ในตัว ถ้าผู้ใช้ไฟฟ้าไม่มีความรู้หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และขาดความ
ระมัดระวัง อาจเกิดอันตรายได้ทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สิน ในท�านองเดียวกัน การใช้ไฟฟ้าถ้าใช้
อย่างฟุ่มเฟือย เนื่องจากไม่รู้จักประหยัดใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ก็จะเป็นเหตุให้
สูญเสียค่าใช้จ่ายโดยไม่จ�าเป็นเช่นกัน
ด้วยเหตุดังกล่าวนี้ การไฟฟ้านครหลวงจึงได้จัดท�าหนังสือ “การใช้ไฟฟ้าอย่างมี
ประสิทธิภาพและปลอดภัย” เผยแพร่แก่ผใู้ ช้ไฟฟ้าและประชาชนทัว่ ไป เพือ่ เป็นคูม่ อื ให้ผใู้ ช้ไฟฟ้า
ได้ใช้ไฟฟ้าอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ นอกจากนี ้ เพือ่ ให้เนือ้ หามีความสมบูรณ์-
แบบและมีคณ ุ ค่าเหมาะทีจ่ ะมีไว้ใช้ประจ�าบ้านมากยิง่ ขึน้ การไฟฟ้านครหลวงจึงได้รวบรวมความ
รู้เกี่ยวกับไฟฟ้าแรงสูงที่ผู้ใช้ไฟฟ้าควรทราบ รวมทั้งวิธีปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ได้รับ
อันตรายจากไฟฟ้าเข้าไว้ในหนังสือเล่มนี ้ พร้อมทั้งเบอร์โทรศัพท์ติดต่อแต่ละเขตอีกด้วย
การไฟฟ้านครหลวงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหากท่านได้รับหนังสือเล่มนี้แล้วน�าไปศึกษา
ให้เข้าใจและปฏิบัติตามค�าแนะน�าที่ให้ไว้อย่างถูกต้อง ก็จะเกิดผลดีและเป็นประโยชน์ต่อท่าน
อย่างแน่นอน

การไฟฟ้านครหลวง
กุมภาพันธ์ 2562

หนังสือคู่มือฉบับนี้ เนื้อในพิมพ์ด้วยกระดาษที่ผลิตจากวัสดุทางการเกษตรที่ใช้แล้ว
ผสมเยื่อกระดาษหมุนเวียนท�าใหม่ 100% โดยไม่ใช้ต้นไม้ใหม่แม้แต่ต้นเดียว
สำรบัญ

1. ค�ำและควำมหมำยของค�ำที่เกี่ยวข้อง 3

2. กำรใช้ไฟฟ้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพและปลอดภัย 9

3. ค�ำแนะน�ำด้ำนควำมปลอดภัยของอุปกรณ์ติดตั้งทำงไฟฟ้ำ 18
3.1 สายไฟฟ้า 18
3.2 เมนสวิตช์ 25
3.3 สวิตช์ปิด-เปิด 28
3.4 เต้าเสียบ-เต้ารับ 28
3.5 ชุดสายพ่วง 36

4. เครื่องตัดไฟรั่ว และสำยดิน 40
4.1 เครื่องตัดไฟรั่ว 40
4.2 สายดิน 43
4.3 หลักดิน 50

5. กำรใช้ไฟฟ้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพและปลอดภัย 52
ส�ำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ำทั่วไป

6. ข้อควรทรำบเกี่ยวกับไฟฟ้ำแรงสูง 71
• มาตรฐานระยะห่างที่ปลอดภัยฯ 73
• ข้อควรระวังอันตรายจากสายไฟฟ้าแรงสูงขาด 80

7. กำรช่วยเหลือผู้ประสบภัยอันตรำยจำกไฟฟ้ำและกำรปฐมพยำบำล 83

8. มีปัญหำปรึกษำที่นี่ 87

2
1. ค�ำและควำมหมำยของค�ำที่เกี่ยวข้อง

1.1 ระบบแรงต�ำ่ (Low Voltage System) ตู้เมนสวิตช์ชนิดที่ใช้กับบ้านอยู่อาศัย


หมายถึงระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันระหว่าง ทุกวันนี ้ นอกจากจะประกอบด้วยตัวเมนสวิตช์
เฟส (Phase to Phase) ไม่เกิน 1,000 โวลต์ แล้ว มักจะมีอุปกรณ์ป้องกันอื่นๆ เช่น เครื่อง
หรือแรงดันเทียบดินไม่เกิน 600 โวลต์ ตัดไฟรัว่ เบรกเกอร์ยอ่ ยส�าหรับป้องกันวงจรย่อย
1.2 ระบบแรงสูง (High Voltage System) หลายๆ ตัว รวมกันอยูใ่ นกล่องหรือตู ้ ทีม่ กั รูจ้ กั
หมายถึงระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันระหว่าง กันว่า ตูค้ อนซูมเมอร์ยนู ติ (Consumer Unit)
เฟส (Phase to Phase) เกิน 1,000 โวลต์หรือ 1.4 เบรกเกอร์ (เซอร์กติ เบรกเกอร์) หรือ
แรงดันเทียบดินเกิน 600 โวลต์ สวิตช์ตัดไฟอัตโนมัติ
1.3 เมนสวิ ต ช์ (Main Switch) หรื อ หมายถึ ง อุ ป กรณ์ ที่ ส ามารถใช้ ตั ด หรื อ
สวิตช์ประธำน ต่อวงจรไฟฟ้าได้ในขณะใช้งานปกติ และยัง
หมายถึ ง อุ ป กรณ์ ตั ว หลั ก ที่ ใ ช้ ตั ด ต่ อ สามารถตัดกระแสไฟฟ้าเกินหรือกระแสไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า ของสายเมนเข้ า อาคารกั บ สาย ลัดวงจรโดยอัตโนมัตไิ ด้ดว้ ย ทัง้ นี ้ การเลือกใช้
ภายในทั้ ง หมด จึ ง เป็ น อุ ป กรณ์ สั บ -ปลด เบรกเกอร์จะต้องเลือกขนาดพิกัดในการตัด
วงจรไฟฟ้ า ตั ว แรกถั ด จากมิ เ ตอร์ วั ด หน่ ว ย กระแสลัดวงจร (IC) ของเบรกเกอร์ให้สงู กว่า
ไฟฟ้าเข้ามาในบ้าน เมนสวิตช์อาจเป็นอุปกรณ์ ขนาดกระแสลัดวงจรทีเ่ กิดขึน้ ในวงจรนัน้ ๆ
ตัดไฟหลักตัวเดียว หรือจะอยู่รวมกับอุปกรณ์
อื่นๆ ในตู้แผงสวิตช์ (Switchboard) กรณี
หลังจะรวมเรียกว่า ตู้เมนสวิตช์ เมนสวิตช์
จึ ง อาจจะเป็ น สวิ ต ช์ คั น โยกที่ ตั ด โหลดได้ เบรกเกอร์
(Load-Break Switch) อาจเป็นเบรกเกอร์
(อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น กระแสเกิ น หรื อ ลั ด วงจร) 1.5 ฟิวส์ (Fuse)
หรื อ เป็ น สวิ ต ช์ ที่ มี ฟ ิ ว ส์ ใ นตั ว ก็ ไ ด้ แต่ ไ ม่ ว ่ า หมายถึงอุปกรณ์ป้องกันกระแสไฟฟ้า
จะเป็นแบบใด จะต้องมีคุณสมบัติของเครื่อง เกินชนิดหนึ่ง ท�าหน้าที่ตัดไฟฟ้าโดยอัตโนมัต ิ
ปลดวงจรที่เมื่อปลดวงจรดับไฟแล้ว สามารถ เมือ่ มีกระแสไฟฟ้าไหลเกินค่าทีก่ า� หนด ซึง่ เมือ่
ท�างานได้อย่างปลอดภัย

ฟิวส์
เมนสวิตช์ หรือตู้คอนซูมเมอร์ยูนิต

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
3
ฟิวส์ทา� งานแล้วจะต้องเปลีย่ นฟิวส์ใหม่ ฟิวส์ที่ 1.7 เครื่องตัดไฟรั่ว หรือเครื่องตัดวงจร
ใช้เปลีย่ นต้องมีขนาดกระแสไม่เกินขนาดฟิวส์ เมื่ อ มี ก ระแสไฟฟ้ ำ รั่ ว ลงดิ น หรื อ
เดิ ม และต้ อ งมี ข นาดพิ กั ด การตั ด กระแส เครือ่ งตัดกระแส (เศษ) เหลือ (ELCB,
ลัดวงจร (IC) สูงกว่าขนาดกระแสลัดวงจร GFCI, RCD, RCCB, RCBO)
สูงสุดทีไ่ หลผ่านฟิวส์ ตัวอย่างของฟิวส์ตามรูป หมายถึงสวิตช์อัตโนมัติที่สามารถปลด
เป็นฟิวส์กระปุก หรือคาร์ทริดจ์ฟิวส์ชนิด D ที่ วงจรเมื่อมีกระแสไฟฟ้ารั่วได้อย่างรวดเร็ว
มีคา่ IC สูงมาก (75 ถึง 100 kA) และมีราคาถูก ภายในระยะเวลาที่ก�าหนดไว้ เครื่องตัดไฟรั่ว
1.6 พิกดั กำรตัดกระแสลัดวงจร (IC) หรือ ใช้ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าดูด โดยเฉพาะ
Interrupting Capacity (Interrupting อย่างยิ่งจะใช้ได้ดีเมื่อใช้กับระบบไฟฟ้าที่มี
Rating) สายดินอยู่แล้ว และจะช่วยป้องกันอัคคีภัย
คือความสามารถในการตัดกระแสไฟฟ้า จากไฟฟ้ารั่วได้ดีอีกด้วย เครื่องตัดไฟรั่วนี้มัก
ลัดวงจรของอุปกรณ์ป้องกันได้อย่างปลอดภัย จะต้องมีปุ่มส�าหรับกดเพื่อทดสอบการท�างาน
โดยไม่ท�าให้อุปกรณ์ป้องกันนั้นเสียหายหรือ อยู่เสมอ ชาวบ้านมักเรียกเครื่องตัดไฟรั่วนี้ว่า
ไหม้ลุกลาม โดยทั่วไปแล้ว IC จะมีหน่วยเป็น เป็นเครื่องป้องกันไฟดูด
kA หรือกิโลแอมแปร์ ซึง่ เป็นหน่วยของ 1,000
แอมแปร์ ค่าพิกดั ของการตัดกระแสลัดวงจรนี้
จะขึ้นอยู่กับมาตรฐานอ้างอิงและแรงดันที่ใช้
ในการทดสอบ เช่น ฟิวส์หรือเบรกเกอร์ที่มี
พิกดั IC=10 kA ทีแ่ รงดันทดสอบ 120 V หาก
น�าไปทดสอบที่แรงดัน 240 V อาจมีพิกัด IC เครื่องตัดไฟรั่ว
เหลือเพียง 5 kA เป็นต้น
1.8 สำยดินเพือ่ ควำมปลอดภัย, สำยเขียว,
สำยดินของอุปกรณ์ไฟฟ้ำ, สำยดิน
พิกัด IC หรือ AIC เครื่องใช้ไฟฟ้ำ หรือสำยดินป้องกัน
= 10 kA หมายถึง (Equipment Grounding Conductor
สามารถตัดกระแสลัดวงจร หรือ Protective Conductor หรือ P.E.)
ได้สูงถึง 10,000 แอมป์ ค�าเหล่านี้ล้วนมีความหมายเดียวกัน คือ
สายดินป้องกัน หมายถึงสายไฟเส้นที่มีไว้
เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยต่อการใช้ไฟฟ้า ปลาย
พิกัดการตัดกระแสลัดวงจร (IC)
ด้านหนึ่งของสายดินจะต้องมีการต่อลงดิน
ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งจะต่อเข้ากับวัตถุหรือ

4
ดินได้โดยสะดวก วัตถุทจี่ ะน�ามาใช้เป็นหลักดิน
เช่ น แท่ ง ทองแดงขนาดเส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ลาง
16 มม. (5/8 นิ้ว) ความยาวมาตรฐานต้องยาว
สัญลักษณ์สายดิน ไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร เป็นต้น
1.10 สำยต่อหลักดิน (Grounding Electrode
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องการให้มีศักยภาพไฟฟ้า Conductor หรือ Earthing Condutor)
เป็ น ศู น ย์ เ ท่ า กั บ พื้ น ดิ น และมี ก ารท� า งาน คือสายตัวน�าที่ใช้ต่อระหว่างหลักดิน
ร่วมกับอุปกรณ์ป้องกันวงจร เช่น ฟิวส์ หรือ กับส่วนที่ต้องการต่อลงดิน ซึ่งในที่นี้หมายถึง
เบรกเกอร์ สายที่ต่อระหว่างหลักดินกับขั้วต่อสายศูนย์
การเดินสายดินป้องกันที่ถูกต้องให้เกิด (นิวทรัล) หรือกับขั้วต่อสายดินในแผงสวิตช์
ความปลอดภัยจะต้องท�าให้เป็นระบบสาย ประธาน (ตูเ้ มนสวิตช์) เพือ่ ให้ระบบไฟฟ้าและ
ดินฯ โดยมีการต่อเข้ากับสายนิวทรัลที่เมน อุปกรณ์ไฟฟ้ามีการต่อลงดิน
สวิตช์ (ยกเว้นห้องชุดของอาคารชุด) มิใช่การ
เดินสายดินไปลงดินอย่างเดียว (รายละเอียดดู
ในเรื่องสายดิน และเมนสวิตช์)
หมายเหตุ สายดินโดยทัว่ ไปจะมีสองชนิดคือ
1. สายดินเพื่อให้ท�างานได้ (Functional สายต่อหลักดิน
Earthing Conductor) เป็นสายดินที่
ไม่เกีย่ วข้องกับเรือ่ งความปลอดภัย 1.11 เต้ำรับ (Socket-Outlet หรือ
2. สายดินป้องกัน (Protective Earthing Receptacle) หรือปลั๊กตัวเมีย
Conductor) เป็นสายดินทีม่ ไี ว้เพือ่ ความ คื อ อุ ป กรณ์ ส� า หรั บ เป็ น ที่ ร องรั บ การ
ปลอดภัย สายดินที่จะกล่าวถึงทั้งหมด เสียบของหัวเสียบทีม่ าจากเครือ่ งใช้ไฟฟ้าปกติ
ในเอกสารนี้จะหมายถึงเฉพาะ สายดิน เต้ารับจะติดตั้งอยู่กับที่ เช่น ติดอยู่กับผนัง
ป้องกัน โดยจะเรียกสัน้ ๆ ว่า สายดิน อาคาร เป็นต้น
1.9 หลักดิน (Ground Rod หรือ
Grounding Electrode หรือ
Earth Electrode)
L
G
N
หมายถึ ง แท่ ง หรื อ
แผ่นโลหะที่ฝังอยู่ในดิน เต้ารับ
เพื่อท�าหน้าที่แพร่หรือ
กระจายประจุไฟฟ้าหรือ
กระแสไฟฟ้าให้ไหลลงสู่ หลักดิน

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
5
1.12 เต้ำเสียบ หรือปลั๊ก (Plug) หรือ 1.14 เครื่องใช้ไฟฟ้ำประเภท 2
ปลั๊กตัวผู้ หมายถึงเครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีม่ กี ารหุม้ ฉนวน
คือหัวเสียบที่มีขั้วโลหะติดอยู่ที่ปลาย หนาเป็ น 2 เท่ า ของความหนาฉนวนที่ ใ ช้
หั ว เสี ย บนี้ จ ะต่ อ มาจากสายไฟที่ ม าจาก ส�าหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าปกติ (ฉนวนไฟฟ้าอาจ
เครือ่ งใช้ไฟฟ้า เพือ่ ใช้เสียบเข้ากับเต้ารับท�าให้ จะมี ช้ั น เดี ย วหรื อ 2 ชั้ น ก็ ไ ด้ ) โดยมั ก มี
สามารถใช้เครื่องไฟฟ้านั้นได้ สัญลักษณ์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2 เป็น
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซ้อนกัน ติดอยู่ที่หน้า-
ปั ด ของเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ซึ่ ง เต้ า เสี ย บที่ ใ ช้ ก็
ไม่ ต ้ อ งมี ส ายดิ น มั ก มี ลั ก ษณะของขาปลั๊ ก
เต้าเสียบ เพียง 2 ขา และมีฉนวนหุ้มที่โคนขา

1.13 เครื่องใช้ไฟฟ้ำประเภท 1
หมายถึงเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เต้าเสียบต้อง
สัญลักษณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2
มีสายดิน เพราะมีความหนาของฉนวนไฟฟ้า
เพียงพอส�าหรับการใช้งานปกติเท่านั้น และ
มักจะมีเปลือกนอกของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ท�า เต้าเสียบเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2
ด้วยโลหะ เพือ่ ความปลอดภัย ผูผ้ ลิตจ�าเป็นจะ
ต้องมีการต่อสายดินของอุปกรณ์ไฟฟ้า เข้ากับ 1.15 เครื่องใช้ไฟฟ้ำประเภท 3
ส่วนที่เป็นโลหะนั้น เพื่อให้สามารถต่อลงดิน หมายถึงเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้กับแรงดัน
มายังตู้เมนสวิตช์ โดยผ่านทางขั้วสายดินของ ไฟฟ้ากระแสสลับไม่เกิน 50 โวลต์ (หรือ 120
เต้าเสียบ-เต้ารับ จึงต้องใช้เต้าเสียบที่มีขั้ว โวลต์ไฟฟ้ากระแสตรง) เครือ่ งใช้ไฟฟ้าประเภท
สายดิน เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทนี้ หากผู้ผลิต นี้ไม่ต้องมีสายดิน สัญลักษณ์ของเครื่องใช้
มิได้ต่อสายดินมาให้ ถือว่าเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า ไฟฟ้าประเภท 3 นี้คือ
ประเภท 0 ซึ่งปัจจุบันนี้มาตรฐานสากลไม่
รับรองหรือยินยอมให้ผลิตมาใช้งาน
สัญลักษณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 3

1.16 หลอดฟลูออเรสเซนต์
คื อ ห ล อ ด ไ ฟ ฟ ้ า ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป ็ น
สัญลักษณ์สายดิน
หลอดยาวสีขาว กินไฟขนาด 18 W และ 36 W
บางชนิดจะขดเป็นวงกลมกินไฟ 32 W หลอด
ขั้วสายดิน ฟลูออเรสเซนต์นี้ชาวบ้านมักจะเรียกกันผิดๆ
เต้าเสียบเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 1
ว่าหลอดนีออน

6
หลอดตะเกียบ หรือหลอดคอมแพคก็จดั 1.22 วัตต์ (W หรือ Watt)
เป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดหนึ่งที่มีขนาด คือหน่วยทีใ่ ช้เรียกขนาดของก�าลังไฟฟ้า
เล็ก โดยสามารถติดตั้งได้กะทัดรัดกว่าหลอด จริง เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าเขียนไว้ว่า 2,000 W
ฟลูออเรสเซนต์ธรรมดานั่นเอง หมายความว่าเครื่องใช้ไฟฟ้านี้ใช้ก�าลังไฟฟ้า
2,000 วัตต์ (หรือกินไฟ 2,000 วัตต์)
1.23 กิโลวัตต์ (kW หรือ Kilowatt)
คื อ หน่ ว ยของก� า ลั ง ไฟฟ้ า เท่ า กั บ
หนึ่งพันวัตต์ เช่น 2 kW หมายถึงก�าลังไฟฟ้า
1.17 หลอด LED 2,000 วัตต์ ส�าหรับหน่วยของก�าลังไฟฟ้าหนึ่ง
คือสารกึ่งตัวน�าไฟฟ้าที่ยอมให้กระแส ล้านวัตต์ จะเรียกว่าเมกะวัตต์ (Megawatt
ไฟฟ้าไหลผ่าน แล้วปล่อยแสงสว่างออกมาได้ หรือ MW)
ทันที
1.18 โวลต์ (V หรือ Volt) 1 กิโลวัตต์ (kW) = 1,000 วัตต์
คื อ หน่ ว ยที่ ใ ช้ เ รี ย กขนาดของแรงดั น
ไฟฟ้า เช่น 230 V หมายถึง ขนาดของแรงดัน 1 เมกะวัตต์ (MW) = 1,000,000 วัตต์
ไฟฟ้าเท่ากับ 230 โวลต์
1.19 เควี (kV หรือ Kilovolt หรือกิโลโวลต์) 1.24 หน่วยไฟฟ้ำหรือยูนติ (Unit) หรือ kWh
คื อ หน่ ว ยของแรงดั น ไฟฟ้ า ที่ คิ ด เป็ น หมายถึ ง หน่ ว ยที่ ใ ช้ บ อกขนาดหรื อ
พันโวลต์ เช่น 24 เควี หมายถึง 24,000 โวลต์ ปริมาณของพลังงานที่ใช้งานพลังงานไฟฟ้า
1 ยูนติ หรือ 1 หน่วย เท่ากับ 1 กิโลวัตต์-ชัว่ โมง
1 เควี (kV) = 1,000 โวลต์ (Kilowatt Hour = ก�าลังไฟ 1 กิโลวัตต์ ใช้งาน
นาน 1 ชั่วโมง)
1.20 แอมป์ หรือแอมแปร์ (A หรือ Ampere) 1.25 วำร์ หรือกิโลวำร์ (Var or Kilovar)
คือหน่วยที่ใช้เรียกปริมาณของกระแส วาร์ คือหน่วยวัดก�าลังไฟฟ้ารีแอ็กทีฟ
ไฟฟ้าทีไ่ หลผ่านตัวน�าไฟฟ้า เช่น 5 A หมายถึง หรือก�าลังไฟฟ้าไร้งาน โดยหน่วยวัดก�าลังไฟฟ้า
ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลเท่ากับ 5 แอมแปร์ รี แ อ็ ก ที ฟ หนึ่ ง พั น วาร์ จ ะเรี ย กว่ า กิ โ ลวาร์
1.21 กิโลแอมป์ หรือกิโลแอมแปร์ และหนึ่งล้านวาร์เรียกว่า เมกะวาร์ (Mvar)
(kA หรือ Kilo-Ampere)
Apparent Power (VA)
คื อ หน่ ว ยของกระแสไฟฟ้ า คิ ด เป็ น Reactive
หน่วยของหนึ่งพันแอมป์ เช่น 5 kA หมายถึง Power
5,000 แอมแปร์ VAR

1 เคเอ (kA) = 1,000 แอมแปร์ Real Power (W)


อธิบาย 1.23-1.25

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
7
1.26 ก�ำลังไฟฟ้ำปรำกฏ (Apparent Power) 1.29 สำยนิวทรัล หรือสำยเส้นศูนย์
คือผลคูณของแรงดันไฟฟ้ากับกระแส (Neutral)
ไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโวลต์แอมป์หรือ วีเอ (VA) มัก หมายถึ ง สายไฟเส้ น หนึ่ ง ในสองเส้ น
ใช้เรียกขนาดก�าลังไฟฟ้าของหม้อแปลงไฟฟ้า ที่มาจากการไฟฟ้า โดยเป็นสายเส้นที่เมื่อใช้
1.27 เควีเอ (kVA) หรือ Kilovolt Ampere ไขควงลองไฟดู ไฟจะไม่ ติ ด โดยจะเป็ น
คือหน่วยของก�าลังไฟฟ้าปรากฏเป็น เส้ น ทางไหลกลั บ ออกจากเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า
หนึ่งพันวีเอ มักใช้เรียกขนาดหม้อแปลง เช่น สายนิวทรัลปกติจะต้องมีการต่อลงดินเพื่อ
1 เควีเอ เท่ากับหนึ่งพันวีเอ และ 1 เอ็มวีเอ การอ้างอิงให้มีแรงดันเป็นศูนย์ที่หม้อแปลง
เท่ากับ หนึ่งล้านวีเอ ของการไฟฟ้า
1.30 มำตรฐำนสีของสำยไฟ
1 เควีเอ = 1,000 วีเอ (วีเอ = โวลต์แอมแปร์) สี ข องสายไฟจะถู ก ก� า หนดให้ เ ป็ น
มาตรฐานเพื่ อ ให้ มี ก ารติ ด ตั้ ง เดิ น สายอย่ า ง
ถูกต้องโดยอ้างอิงมาตรฐาน มอก. 11-2553
1.28 ตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้ำ หรือ พำวเวอร์
ดังนี้
แฟ็กเตอร์ (Power Factor)
คืออัตราส่วนระหว่างก�าลังไฟฟ้าจริง
(วัตต์) กับก�าลังไฟฟ้าปรากฏ (วาร์) โดยมี สำยไฟระบบ สีของสำยไฟ
หน่วยวัดเป็นเปอร์เซ็นต์ หรือร้อยละ ตัวประกอบ 1 เฟส (มอก.11-2553)
ก�าลังไฟฟ้าถือได้ว่าเป็นตัววัดประสิทธิภาพ
ของการส่ ง จ่ า ยหรื อ การใช้ ก� า ลั ง ไฟฟ้ า ได้ เส้นที่มีไฟ L น�้าตาล
อย่ า งหนึ่ ง ตั ว ประกอบก� า ลั ง ไฟฟ้ า ที่ ดี ค วร เส้นนิวทรัล N ฟ้า (น�้าเงิน)
มีค่าไม่ต�่ากว่า 85-90%
สายดิน G หรือ E หรือ เขียวแถบเหลือง

%Power Factor =

Real Power
x 100
Apparent Power สีของสำยไฟ (มอก. 11-2553)

8
2. กำรใช้ไฟฟ้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพและปลอดภัย

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ไฟฟ้ า นั้ น มี ป ระโยชน์ ม ากมายก็ จ ริ ง


มีหลักอยู่ว่า เมื่อมีความจ�าเป็นต้องใช้ไฟฟ้า แต่ ใ นเวลาเดี ย วกั น ก็ มี อั น ตรายอยู ่ ใ นตั ว
แล้ว ท�าอย่างไรการใช้ไฟฟ้านั้นจึงจะเป็นการ ของมั น เอง ถ้ า ใช้ ผิ ด วิ ธี ก็ อ าจมี อั น ตราย
ใช้ไฟฟ้าที่คุ้มค่า ประหยัดค่าไฟฟ้า และเกิด ถึ ง แก่ ชี วิ ต ได้ เพราะความประมาทหรื อ
ประโยชน์สูงสุด ซึ่งจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่รู้จัก เพิกเฉยต่อสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เพียงเล็กน้อย อาจน�ามา
วิธกี ารเลือกใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ซึ่งความหายนะและความสูญเสียต่างๆ แม้
ให้เหมาะสมต่อการใช้งาน ตลอดจนมีความรู้ กระทั่งชีวิตของผู้ใช้ไฟฟ้าเอง ผู้ใช้ไฟฟ้าจึงมี
ความเข้าใจในเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างถ่องแท้ ความจ�าเป็นต้องเรียนรู้วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่าง
จึ ง จะใช้ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้าอย่างถูกวิธีได้ การ ปลอดภัยควบคู่ไปด้วย
ใช้ ไ ฟฟ้ า อย่ า งมี ป ระสิทธิภาพ นอกจากจะ องค์ ป ระกอบที่ ท� า ให้ เ กิ ด อั น ตราย
เป็นการช่วยประหยัดพลังงานแล้ว ยังมีผลดี จากการใช้ไฟฟ้านั้นมีอยู่สองส่วน คือส่วนของ
ต่อส่วนรวมของประเทศในแง่ของการอนุรักษ์ การติ ด ตั้ ง ทางไฟฟ้ า กั บ ส่ ว นของเครื่ อ งใช้
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้านการลดภาวะ ไฟฟ้า ซึ่งการใช้ไฟฟ้าให้เกิดความปลอดภัย
โลกร้อนได้อีกด้วย ก็ต้องพิจารณาในแต่ละส่วนแตกต่างกันดังนี้

ส่วนทีอ่ ำจเกิดอันตรำยในกำรใช้ไฟฟ้ำ ข้อควรพิจำรณำเพือ่ ให้เกิดควำมปลอดภัย

1. การติดตัง้ ทางไฟฟ้า เช่น สายไฟฟ้า การเดินสาย การต่อ ใช้อุปกรณ์ติดตั้งทางไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน


สาย อุปกรณ์ประกอบต่างๆ เช่น สวิตช์ เต้ารับ อุปกรณ์ มีการออกแบบที่ถูกต้องและปลอดภัยตามมาตรฐาน
เพื่อความปลอดภัย เช่น สายดิน เครื่องตัดไฟรั่ว และ ติดตั้งโดยผู้ที่มีความรู้ความสามารถอย่างถูกต้อง
อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน เป็นต้น มีระบบการตรวจสอบการติดตัง้ ทีถ่ กู ต้องและปลอดภัย
ตามมาตรฐาน
มีการตรวจสอบ/บ�ารุงรักษาตามรอบระยะเวลา
2. เครือ่ งใช้ไฟฟ้าต่างๆ เต้าเสียบ และเต้ารับ (ชุดสายพ่วง) มีการก�าหนดมาตรฐานความปลอดภัยในเครือ่ งใช้ไฟฟ้า
ที่ซื้อมาใช้ภายหลัง รวมทั้งส่วนที่มีการติดตั้งเพิ่มเติม ทุกชนิด โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สมอ.)
เพื่อประกอบการใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น ควบคุมการผลิตและน�าเข้าสินค้าให้เป็นไปตามมาตรฐาน
และมีระบบการตรวจสอบที่เข้มแข็งของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง เช่น ตรวจจับสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน
ต้องให้ความรู้แก่ผู้ซื้อให้รู้จักเลือกใช้สินค้า (คู่มือ)

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
9
ตัวอย่ำงของข้อควรปฏิบัติ 5. ทุกครั้งที่จะหยิบใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า
ในกำรใช้ไฟฟ้ำหรือเครื่องใช้ไฟฟ้ำ ขอให้ตรวจสอบสายไฟและเต้าเสียบ (ปลัก๊ ไฟ)
อย่ำงปลอดภัย ของเครื่อง ว่ามีร่องรอยของการช�ารุดหรือ
1. หากสามารถเลือกได้ ควรตรวจสอบ ไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากไม่ได้มีการใช้งาน
ให้ แ น่ ชั ด ก่ อ นการว่ า จ้ า งบริ ษั ท หรื อ ช่ า งที่ มาเป็นเวลานาน
จะด� า เนิ น การออกแบบและเดิ น สายติ ด ตั้ ง
ระบบไฟฟ้าว่าเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ความรู้
ความช�านาญแล้วเท่านั้น
2. อุปกรณ์การติดตั้งทางไฟฟ้าต้อง
เป็ น ชนิ ด ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองจากมาตรฐาน
ต่างๆ เช่น ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรม (สมอ.), UL, VDE, IEC เป็นต้น
ตัวอย่างเช่น เต้ารับที่น�ามาติดตั้งต้องเป็น 6. เมื่ อ จะเสี ย บปลั๊ ก ใช้ เ ครื่ อ งใช้
เต้ า รั บ ชนิ ด ที่ มี 3 รู ที่มีสายดิน และต้อง ไฟฟ้า จะต้องดูให้แน่ใจก่อนว่า สวิตช์ของ
ผ่านการรับรองจาก สมอ. ตามมาตรฐาน เครื่ อ งไม่ ไ ด้ เ ปิ ด อยู ่ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด
มอก. 166-2549 เท่านั้น อันตรายจากประกายไฟขณะเสียบ ซึ่งอาจ
ท� า ให้ เ ครื่ อ งช� า รุ ด และเมื่ อ เลิ ก ใช้ ใ ห้ ป ิ ด
สวิ ต ช์ ที่ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ก่ อ น แล้ ว จึ ง ถอด
ปลั๊ ก ออกจากเต้ า รั บ ทุ ก ครั้ ง เพื่ อ ป้ อ งกั น
อันตรายไม่ให้ถูกประกายไฟ และยังไม่ท�าให้
เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นช�ารุดง่ายอีกด้วย
3. การเดิ น สายและติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์
ไฟฟ้า ต้องเป็นไปตามมาตรฐานการติดตัง้ ทาง
ไฟฟ้าส�าหรับประเทศไทย
4. ก่ อ นใช้ เ ครื่ อ งใช้ไฟฟ้า ผู้ใช้ต้อง
อ่านและศึกษาคูม่ อื และแนะน�าการใช้งานให้
เข้ า ใจ และปฏิ บั ติ ต ามค� า แนะน� า อย่ า ง
เคร่งครัด

10
7. เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ มี เ ปลื อ กหุ ้ ม มี ส วิ ต ช์ เ ปิ ด ค้ า งไว้ โ ดยมอเตอร์ ไ ม่ ห มุ น
ภายนอกที่ ท� า ด้ ว ยโลหะทุ ก ชนิ ด หรื อ หรือไม่ สังเกตกลิ่นผิดปกติ และควรถอด
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่อาจมีไฟฟ้ารั่วมากับน�้า เช่น ปลั๊ ก พั ด ลมออกทุ ก ครั้ ง เมื่ อ เลิ ก ใช้ ง าน
ตู ้ เ ย็ น เตารี ด หม้ อ หุ ง ข้ า ว เตาไมโครเวฟ เป็นต้น
เครื่องซักผ้า หม้อต้มน�้าร้อน กระทะไฟฟ้า
เครื่องท�าน�้าอุ่น เตาไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ
เป็นต้น หากไม่ใช่เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2
หรือประเภท 3 แล้ว จ�าเป็นต้องมีการต่อสายดิน
ของเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้ากับระบบสายดิน คือ
7.1 ท่านจะต้องมีการติดตัง้ ระบบ 9. อย่ า พยายามเอาสิ่ ง ของต่ า งๆ
สายดินและต่อลงดินที่เมนสวิตช์อย่างถูกต้อง ไ ป ว า ง ห รื อ ค ร อ บ ค ลุ ม ต ก แ ต ่ ง บ น
(ดูรายละเอียดเรื่องสายดิน) เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือน�าเครื่องใช้ไฟฟ้าไปวาง
7.2 มีการเดินสายดินจากเมนสวิตช์ ในที่แคบอากาศถ่ายเทไม่สะดวก นอกจาก
ไปยังเต้ารับชนิดมีสายดิน จะท�าให้เครื่องใช้ไฟฟ้ามีอายุสั้น ช�ารุดได้ง่าย
7.3 มี ก ารใช้ เ ต้ า เสี ย บชนิ ด มี ขั้ ว เนือ่ งจากระบายความร้อนได้ไม่ดแี ล้ว ยังท�าให้
สายดิ น กั บ เต้ า รั บ ชนิ ด มี ขั้ ว สายดิ น ที่ เ ป็ น การท�างานมีประสิทธิภาพต�่า เนื่องจากความ
มาตรฐานเดียวกัน ร้ อ นสู ง จะท� า ให้ มี ก ารสู ญ เสี ย พลั ง งานมาก
ท�าให้กินไฟมาก แล้วยังอาจเป็นสาเหตุท�าให้
เกิดเพลิงไหม้ได้ด้วย

8. พั ด ลมไฟฟ้ า ชนิ ด ที่ มี คุ ณ ภาพต�่ า


หรือพัดลมที่มิได้มีการบ�ารุงรักษา หากเปิด 10. อย่าวางอุปกรณ์ไฟฟ้าทีเ่ กิดความ
ทิ้งไว้นานๆ มอเตอร์อาจจะหมุนช้าลงจน ร้อนใกล้วัสดุที่ติดไฟได้ เช่น อย่าวางไฟโคม
หยุดหมุน หากปล่อยทิ้งไว้มอเตอร์จะเกิด ใกล้กับผ้าม่าน เป็นต้น
ความร้ อ นสู ง และเกิ ด ไฟไหม้ ไ ด้ โ ดยง่ า ย
ดังนั้น จึงควรเลือกซื้อแต่พัดลมที่มีคุณภาพ
และหมั่นดูแลท�าความสะอาด รวมทั้งคอย
ตรวจสอบความผิ ด ปกติ อ ยู ่ เ สมอ (ให้ อ ยู ่ โคมไฟ
ในสายตา) เช่น แตะดูความร้อนที่ตัวพัดลม

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
11
11. หลีกเลี่ยงการน�าเครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างเดียวนั้นยังไม่เพียงพอ (ข้อส�าคัญก่อน
ไปใช้ในบริเวณที่มีฝนสาด เช่น หน้าต่าง ใช้ ง าน ต้ อ งตรวจสอบการต่ อ สายมิ ใ ห้ มี
หรื อ เฉลี ย ง หรื อ เอาภาชนะใส่ น�้ า ไว้ บ น การเข้ า สายไฟสลั บ เส้ น กั น ด้ ว ย มิ ฉ ะนั้ น
เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น ขันน�้า ตู้เลี้ยงปลา แจกัน เครื่องป้องกันอาจไม่ทา� งาน)
ดอกไม้ เพราะน�้าอาจหกใส่จนเกิดอันตราย 13. ควรแยกวงจรไฟฟ้ า ที่ น�้ า อาจ
หรือไฟรั่วได้ ท่วมถึง เช่น บริเวณชั้นล่างของอาคาร เพื่อ
ให้ ส ามารถปลดไฟออกได้ ทั น ที เ มื่ อ เกิ ด
น�า้ ท่วม และควรป้องกันวงจรทีแ่ ยกออกนีด้ ว้ ย
เครื่องตัดไฟรั่วด้วย
14. อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ที่ จ� า เป็ น ต้ อ งแช่
ในน�้า เช่น ปั๊มน�้าส�าหรับเติมอากาศ หรือ
12. เมือ่ ร่างกายเปียกชืน้ ห้ามแตะต้อง เครื่องกรองน�้าส�าหรับบ่อหรือตู้เลี้ยงปลานั้น
ส่ ว นที่ มี ไ ฟฟ้ า หรื อ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า เป็ น วงจรไฟฟ้าที่จ่ายไฟให้เครื่องฯ ต้องมีเครื่อง
อันขาด เพราะความต้านทานต่อไฟฟ้าของ ตัดไฟรั่ว และควรใช้ผ่านหม้อแปลงแยกวงจร
ผิวหนังที่เปียกชื้นจะลดลงอย่างมาก หากมี (Isolating Transformer) หรือใช้แรงดันต�่า
ไฟรั่วจะท�าให้กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่าน พิเศษจึงจะปลอดภัย และต้องมีการตรวจสอบ
ร่างกายได้โดยสะดวก อาจท�าให้เสียชีวิตได้ ด้านความปลอดภัยและมีการบ�ารุงรักษาอยู่
ข้อแนะน�าในกรณีทจี่ า� เป็นต้องใช้ไฟฟ้าขณะที่ เป็นประจ�าด้วย
ร่างกายเปียกชืน้ เช่น การใช้เครือ่ งท�าน�า้ อุน่ ใน
การอาบน�้า นอกจากจะต้องติดตั้งสายดิน
แล้ ว จะต้ อ งติ ด ตั้ ง เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว ที่ ไ ด้
มาตรฐานความปลอดภัย (มอก.) ในวงจร
ไฟฟ้ า ของเครื่ อ งท� า น�้ า อุ ่ น ด้ ว ย เพื่อเสริม
การท�างานของสายดินให้ปลอดภัยยิ่งขึ้น ซึ่ง
เครื่องตัดไฟรั่วที่ติดมาในเครื่องท�าน�า้ อุ่นเพียง 15. ห้ามลากชุดสายพ่วง เข้าไปใช้ใน
ห้องน�า้ หรือบริเวณทีเ่ ปียกน�า้ อาจเกิดอันตราย
ได้โดยง่าย

12
16. ใ น ก า ร เ ดิ น ส า ย ไ ฟ ห รื อ ล า ก 19. อย่ า ใช้ ส ารเคมี ที่ ไ วไฟใกล้ กั บ
สายไฟไปใช้ ง านนอกอาคารเป็ น การ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ก�าลังท�างาน เช่น สเปรย์
ชั่วคราวหรือถาวร เช่น งานก่อสร้าง, งาน ยาฆ่าแมลง หรือที่มีส่วนผสมของทินเนอร์
ต่ อ เติ ม ปรั บ ปรุ ง นอกอาคาร นอกจาก หรื อ อย่ า พยายามใช้ ไ ฟฟ้ า หรื อ เปิ ด สวิ ต ช์
อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า และสายไฟฟ้ า ต้ อ งเป็ น ชนิ ด ไฟฟ้า เช่น พัดลมระบายอากาศในบริเวณที่มี
ที่ กั น น�้ า และทนทานต่ อ สภาวะแวดล้ อ ม ไอของสารระเหยหรื อ ก๊ า ซที่ ไ วไฟปกคลุ ม
ทางกลและแสงแดดแล้ ว วงจรไฟฟ้ า อยู่เต็มพื้นที่ เช่น ก๊าซหุงต้ม ทินเนอร์ หรือ
หรื อ เต้ า รั บ นั้ น จะต้ อ งมี ก ารป้ อ งกั น ด้ ว ย ไอน�้ า มั น เบนซิ น เป็ น ต้ น อาจเกิ ด ระเบิ ด
เครื่องตัดไฟรั่ว ไฟลุกไหม้ได้
20. ให้ระมัดระวังการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า
ราคาถูกที่ผลิตแบบไม่ได้มาตรฐาน นอกจาก
จะมีอายุการใช้งานสั้นแล้วอาจไม่ปลอดภัย
ในการใช้งาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของ
อัคคีภัย
17. หมั่นตรวจสอบอุปกรณ์ติดตั้งทาง 21. อุ ป กรณ์ ที่ มี ก ารเสี ย บปลั๊ ก ทิ้ ง ไว้
ไฟฟ้าและเครือ่ งใช้ไฟฟ้าเป็นประจ�าอย่างน้อย นานๆ โดยไม่มีผู้ดูแล เช่น หลอดไฟทางเดิน
ปีละ 1 ครั้ง หรือบันได, หม้อแปลงไฟขนาดเล็ก (ที่เรียก
18. ฝึกให้เป็นคนช่างสังเกตสิง่ ผิดปกติ กันว่าอะแด็ปเตอร์), เครื่องชาร์จแบตเตอรี่
จากสี กลิ่น เสียง และการสัมผัสอุณหภูม ิ ขนาดเล็ก เป็นต้น หากมีความจ�าเป็นต้องใช้ ให้
รวมทั้ ง การใช้ เ ครื่ อ งมื อ ง่ า ยๆ เช่ น ไขควง พยายามหลี ก เลี่ ย งหรื อ ขจั ด ไม่ ใ ห้ มี วั ส ดุ
ลองไฟ* แตะดูว่ามีไฟรั่ว เป็นต้น ตัวอย่าง ที่ติดไฟได้อยู่ใกล้ๆ เป็นอันขาด เพื่อไม่ให้
สังเกต เช่น สีของสายไฟเปลี่ยน มีกลิ่นเหม็น มีการไหม้ลุกลามเกิดขึ้น
ไหม้ มีรอยเขม่า หรือมีรอยไหม้ การใช้หลังมือ
แตะหรือจับสวิตช์ไฟหรือปลัก๊ ไฟแล้วรูส้ กึ อุน่ ๆ
(แสดงว่ามีความร้อนผิดปกติเกิดขึ้น อาจเกิด
จากจุดต่อต่างๆ ไม่แน่น เต้าเสียบ-เต้ารับ
หลวม เป็นต้น หากด�าเนินการเองไม่ได้ ให้
เรียกช่างไฟฟ้ามาด�าเนินการตรวจสอบแก้ไข)
(*ดูค�ำแนะน�ำวิธีใช้ไขควงลองไฟท้ำยบท)

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
13
22. หลีกเลี่ยงหรืออย่าให้เด็กสามารถ 26. การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ได้ต่อ
เข้าถึงเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน เช่น ผ่านเต้าเสียบ-เต้ารับ เช่น เครื่องท�าน�้าอุ่น
โคมไฟที่ร้อน เตารีด เตาไฟฟ้า เครื่องเป่าผม เป็นต้น ท่านต้องมั่นใจว่าผู้ที่มาติดตั้งเครื่อง
หรื อ เครื่ อ งใช้ ที่ มี ก ารหมุ น เช่ น พั ด ลม
ให้ท่านเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในการติดตั้ง
เครื่องซักผ้า เป็นต้น ทางไฟฟ้าอย่างดี อย่าฝากชีวิตอันมีค่าของ
ท่านไว้กับผู้ขายสินค้าที่ไม่มีความรับผิดชอบ
ตั ว อย่ า งของอุ บั ติ เ หตุ ที่ เ คยเกิ ด ขึ้ น เช่ น
การใช้ตะปูคอนกรีตแทนสายดิน การต่อ
สายไฟสลั บ เส้ น การมี ส ายดิ น แต่ ไ ม่ ต ่ อ
หรือต่อไม่ถูกต้อง การไม่มีเครื่องตัดไฟรั่ว
23. พยายามอย่าให้สายไฟแตะสัมผัส เป็ น ต้ น หากไม่ แ น่ ใ จขอให้ ใ ช้ บ ริ ก ารจาก
กับส่วนของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน การไฟฟ้านครหลวง
เช่น เตารีด เครื่องเป่าผม เตาไฟฟ้า เป็นต้น
24. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ไฟมาก เช่น
หม้อหุงข้าว เตาไฟฟ้า เครื่องซักผ้า ควร
เป็นเต้ารับเดี่ยว อย่าพยายามต่อใช้ร่วม
เต้ารับเดียวกันกับเครื่องใช้ชนิดอื่น
27. หลีกเลีย่ งการใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าใน
ขณะที่ มี ฝ นตกฟ้ า คะนอง โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรทัศน์
วิ ดี โ อ เครื่ อ งเสี ย ง คอมพิ ว เตอร์ อุ ป กรณ์
สื่อสาร โทรศัพท์ เป็นต้น เพื่อป้องกันไม่ให้
25. อย่าพยายามซ่อมครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้ช�ารุดเสียหาย ดังนั้น
ด้ ว ยตั ว เอง หรื อ โดยช่ า งที่ มี ค วามรู ้ ค วาม เมื่อมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นในบริเวณใกล้เคียง
ช� า นาญไม่ เ พี ย งพอ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า บาง แนะน�าให้ปิดเครื่องและถอดปลั๊กไฟ รวมทั้ง
ประเภทจ�าเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์ตรวจสอบ สายอากาศ และสายโทรศัพท์ออกจากเครื่อง
ด้านความปลอดภัย เช่น เตาไมโครเวฟ ต้อง ทุกครั้ง
มี ก ารตรวจสอบการรั่ ว ของคลื่ น ไมโครเวฟ
ไม่ให้มีมากเกินอัตราที่ก�าหนด หรือเครื่องใช้
ที่มีสายดินต้องตรวจสอบความต่อเนื่องของ
สายดิน ทดสอบการทนกระแสลัดวงจรของ
จุดต่อสายดิน และทดสอบความเป็นฉนวน
ระหว่างสายดินกับสายศูนย์ เป็นต้น

14
28. เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีค่ วบคุมการเปิดปิด ป้องกันอันตรายจากเครื่องใช้
ด้วยรีโมตคอนโทรลหรือปุ่มสัมผัสอิเล็กทรอ- เช่น เตารีด เตาไฟฟ้าที่ติดค้างอยู่ เมื่อมี
นิกส์ โทรทัศน์ วิดีโอ เครื่องเสียง เครื่องปรับ ไฟกลับเข้ามาโดยไม่รู้ตัว
อากาศ หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น 30. เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ ท� า ความเย็ น
เครือ่ งเหล่านีเ้ มือ่ ปิดเครือ่ งแล้วจะยังมีไฟเลีย้ ง หรื อ ประกอบด้ ว ยเครื่ อ งคอมเพรสเซอร์
วงจรควบคุมภายในอยู่ตลอดเวลา จึงมักมี เช่น ตู้เย็น หรือเครื่องปรับอากาศ ทุกครั้ง
ตัวอย่างของการเกิดอุปกรณ์ควบคุมภายใน ที่ มี ไ ฟฟ้ า ดั บ หรื อ ไฟตกรุ น แรง เพื่ อ ไม่ ใ ห้
ช� า รุ ด และบางครั้ ง ท� า ให้ เ กิ ด ไฟลุ ก ไหม้ เครื่ อ งช� า รุ ด ควรรี บ ปิ ด เครื่ อ งหรื อ ถอด
ทรัพย์สินเสียหายอยู่เสมอ ดังนั้น จึงควรถอด ปลั๊กออกทันที การเปิดซ�้าควรท�าภายหลัง
ปลั๊ก หรือติดตั้งวงจรสวิตช์ตัดต่อวงจร เพื่อ ปิดเครื่องหรือไฟดับแล้วอย่างน้อย 3 นาที
ปลดไฟออกทุกครั้งที่เลิกใช้งาน

29. เมื่ อ ไฟจากการไฟฟ้ า ดั บ ให้ ป ิ ด 31. ก่ อ นออกจากห้ อ งทุ ก ครั้ ง ให้


สวิตช์เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดที่เปิดค้างอยู่ ตรวจดูว่าได้ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่จ�าเป็น
ทันที เพื่อ ออกเสียก่อน
ป้ อ งกั น เครื่ อ งใช้ ช� า รุ ด จาก
แรงดันทีผ่ ดิ ปกติ ขณะไฟดับไม่สนิท (แรงดัน
ตก) หรือขณะที่เริ่มมีไฟกลับเข้ามา (แรงดัน
อาจจะเกิน)
ป้ อ งกั น อุ ป กรณ์ ตั ด วงจร
ท�างาน เมื่อมีไฟกลับเข้ามา ถ้ามีเครื่องใช้
ที่กินไฟในการสตาร์ทมากเปิดใช้อยู่อาจจะ 32. ฝึกฝนให้รู้จักวิธีแก้ไขและป้องกัน
ท�าให้มีไฟดับอีกครั้ง รวมทั้งช่วยเหลือปฐมพยาบาลเมื่อมีอุบัติเหตุ
ทางไฟฟ้าเกิดขึ้น

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
15
33. ค�าแนะน�าวิธีใช้ไขควงลองไฟ 3.1 ชนิ ด ของไฟฟ้ า เช่ น
1. ไขควงลองไฟนัน้ เป็นเครือ่ งมือ ไฟฟ้ า กระแสตรง DC (ใช้ ใ นรถยนต์ )
อย่างง่ายส�าหรับใช้ตรวจสอบวัตถุหรือตัวน�า ไฟฟ้ากระแสสลับ AC (ใช้กับไฟที่มาจาก
ว่ามีไฟฟ้าหรือมีแรงดันไฟฟ้าอยู่หรือไม่ และ การไฟฟ้าฯ)
ยั ง ใช้ ต รวจสอบเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ว่ า มี ไ ฟรั่ ว 3.2 ขนาดแรงดันไฟฟ้าต้อง
หรือไม่อีกด้วย พอเหมาะ ไม่ สู ง หรื อ ต�่ า เกิ น ไป หากเลื อ ก
2. การท�างานของไขควงลองไฟ ไขควงมีค่าแรงดันต�่าอาจไวดี แต่ไม่ปลอดภัย
แบบธรรมดา ภายในจะประกอบด้วยหลอด นั ก คื อ จะรู ้ สึ ก ว่ า มี ไ ฟรั่ ว ผ่ า นไขควงมาก
นีออนต่ออยูก่ บั ความต้านทานค่าสูง โดยความ เวลาแตะสัมผัส เช่น ไฟฟ้าตามบ้านใช้ไฟ
ต้ า นทานมี ห น้ า ที่ จ� า กั ด ปริ ม าณกระแสไฟ 200-250 โวลต์ แต่ใช้ไขควงส�าหรับแรงดัน
ที่จะไหลผ่านหลอดนีออนและร่างกายไม่ให้มี 80-125 โวลต์ เป็นต้น
อันตราย หากมีการน�าไปแตะสัมผัสกับส่วนที่ 4. ระวั ง อย่ า ให้ นิ้ ว แตะสั ม ผั ส
มีไฟ ซึ่งจะเป็นการต่อไฟครบวงจร โดยไฟฟ้า ไขควงส่ ว นที่ เ ปลื อ ย ควรใช้ ไ ขควงที่ มี ก าร
จะไหลจากปลายไขควงผ่ า นหลอดนี อ อน หุ้มฉนวนให้เหลือเฉพาะปลายที่จะใช้สัมผัส
ตัวต้านทาน นิ้ว แขน ร่างกาย ลงสู่พื้นที่ยืน หากไม่ มี อ าจต้ อ งใช้ วิ ธี พั น ให้ ร อบด้ ว ยเทป
อยู่ โดยหลอดนีออนจะสว่างก็ต่อเมื่อแรงดัน พั น สายไฟก็ ไ ด้ ซึ่ ง จะช่ ว ยลดหรื อ ป้ อ งกั น
ทีห่ ลอดสูงถึงระดับพิกดั ทีห่ ลอดนีออนจะสว่าง อุบัติเหตุการเกิดลัดวงจรจากการใช้ไขควง
3. การเลื อ กไขควงลองไฟควร ที่ไม่ระมัดระวังด้วย
เลือกให้เหมาะกับไฟฟ้าที่จะใช้ ทั้งชนิดของ
ไฟฟ้าและขนาดแรงดัน

16
5. ไขควงลองไฟทั่วไปที่ใช้ตาม 8. ไขควงลองไฟที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ ง าน
บ้ า นมั ก จะมี ปุ ่ ม ด้ า นบนหรื อ เป็ น แบบคลิ ป
มานาน ไฟนี อ อนหรื อ ตั ว ต้ า นทานภายใน
หนีบปากกาไว้ส�าหรับให้ใช้นิ้วแตะเพื่อให้ไฟ อาจช� า รุ ด ใช้ ง านไม่ ไ ด้ (ไฟไม่ ติ ด ) หรื อ
ไหลครบวงจรผ่านร่างกาย ไฟนีออนจึงจะติด หากเป็ น แบบดิ จิ ทั ล ไฟแสดงผลอาจ
แดงขึ้นมาได้ ไม่ ท� า งาน ดั ง นั้ น ก่ อ นใช้ ง านควรทดสอบ
6. การใช้ ไ ขควงลองไฟที่ ถู ก ไขควงลองไฟนั้นว่ายังใช้ได้อยู่ โดยทดสอบ
วิ ธี นั้ น ให้ เ อาปลายแตะวั ต ถุ ที่ จ ะทดสอบ กับส่วนที่รู้แน่ว่ามีไฟเสียก่อน เช่น ไขควง
ก่ อ น แล้ ว จึ ง ใช้ นิ้ ว แตะปุ ่ ม ด้ า นบนหรื อ
ลองไฟชนิ ด ใช้ ไ ฟบ้ า นให้ ท ดสอบโดยแหย่
ตรงคลิปหนีบให้ครบวรจร และต้องไม่ยืน เข้าไปในรูเต้ารับทีผ่ นัง จะมีรหู นึง่ เท่านัน้ ทีม่ ไี ฟ
อยู่บนพื้นฉนวน หรือใส่รองเท้า เพราะไฟ เป็นต้น
อาจจะไม่ติด ท�าให้แปลความหมายผิดว่า 9. เวลาแหย่ไขควงลองไฟ ต้อง
ไม่มีไฟรั่วก็ได้ ระมั ด ระวั ง อย่ า ให้ ไ ขควงไปแตะส่ ว นอื่ น
ที่ เ ป็ น ขั้ ว ไฟคนละขั้ ว พร้ อ มกั น เช่ น ขั้ ว ไฟ
ต่ า งเฟส หรื อ ขั้ ว มี ไ ฟแตะกั บ ขั้ ว ดิ น หรื อ
นิวทรัล เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในที่แคบๆ
เพราะนั่นหมายถึงการท�าให้เกิดลัดวงจรและ
จะมีประกายไฟที่รุนแรงพุ่งเข้าสู่ใบหน้าและ
ดวงตาจนอาจเสียโฉมหรือพิการได้ ดังนั้น
ในสถานการณ์ ที่ มี ขั้ ว ไฟฟ้ า เปิ ด โล่ ง หรื อ
เปลือย เช่น ตู้แผงสวิตช์ หรือเต้ารับที่เปิดฝา
ออก ไม่แนะน�าให้ผู้ที่ไม่ใช่ช่างไฟฟ้าท�างาน
โดยเด็ดขาด
7. ทุกครั้งที่จะใช้ ให้ระมัดระวัง 10. ห้ามซ่อมหรือดัดแปลงไขควง
และระลึ ก ไว้ เ สมอว่ า อาจมี อั น ตราย เช่ น ลองไฟที่ช�ารุดเป็นอันขาด เช่น การเปลี่ยน
ไขควงลองไฟอาจช�ารุดหรือลัดวงจรภายในได้ ค่าความต้านทาน หรือต่อตรงความต้านทาน
จึงต้องแตะเพียงเล็กน้อยเท่านั้น เป็นต้น
11. ห้ า มน� า ไขควงลองไฟไปใช้
ทดสอบกับไฟฟ้าที่ไม่รู้ค่าแรงดัน หรือไฟฟ้า
แรงดันสูง

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
17
3. ค�ำแนะน�ำด้ำนควำมปลอดภัยของอุปกรณ์
ติดตั้งทำงไฟฟ้ำ

60227 IEC 01 60227 IEC 10

VAF NYY

VCT
ตัวอย่ำงสำยไฟฟ้ำแรงต�่ำชนิดต่ำงๆ

3.1 สำยไฟฟ้ำ การเดินร้อยในท่อก็มีส่วนช่วยป้องกันฉนวน


3.1.1 กำรเลือกใช้สำยไฟฟ้ำ ของสายจากแสงแดดได้ในระดับหนึ่ง
1. ใช้ เ ฉพาะสายไฟฟ้ า ที่ ไ ด้ 3. เลื อ กใช้ ช นิ ด ของสายไฟ
มาตรฐานจากส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ให้ เ หมาะสมกั บ สภาพการติ ด ตั้ ง ใช้ ง าน
อุตสาหกรรม (มีเครื่องหมาย มอก. 11-2553) เช่น สายไฟชนิดอ่อนห้ามน�าไปใช้เดินยึดติดกับ
เท่านั้น ผนั ง หรื อ ลากผ่ า นบริ เ วณที่ มี ก ารกดทั บ
2. สายไฟฟ้ า ชนิ ด ที่ ใ ช้ เ ดิ น สาย เช่น ลอดผ่านบานพับประตู หน้าต่าง
ภายในอาคารห้ามน�าไปใช้เดินนอกอาคาร หรือตู้ เนื่องจากฉนวนของสายไม่สามารถรับ
เพราะแสงแดดจะท�าให้ฉนวนแตกกรอบช�ารุด แรงกดกระแทกจากอุปกรณ์จับยึดสายหรือ
สายไฟชนิดทีใ่ ช้เดินนอกอาคารมักจะมีการเติม บานพับได้ การเดินสายใต้ดินก็ต้องใช้ชนิดที่
สารป้องกันแสงแดดไว้ในเปลือกหรือฉนวน เป็นสายใต้ดิน (เช่น สายชนิด NYY) พร้อมทั้ง
ของสาย สารป้องกันแสงแดดส่วนใหญ่ทใี่ ช้กนั มีการเดินร้อยในท่อเพือ่ ป้องกันสายใต้ดนิ ไม่ให้
มากนั้นจะเป็นสีด�า แต่อาจจะเป็นสีอื่นก็ได้ เสียหาย เป็นต้น

18
4. ขนาดของสายไฟฟ้า ต้องใช้ ของฟิวส์หรือสวิตช์อัตโนมัต ิ (เบรกเกอร์) ที่ใช้
สายตัวน�าทองแดงและเลือกให้เหมาะสมกับ ส�าหรับขนาดสายเมนและสายต่อหลักดินนั้น
ขนาดแรงดันไฟฟ้า (1 เฟส หรือ 3 เฟส) ปริมาณ ก็ต้องสอดคล้องกับขนาดของเมนสวิตช์และ
กระแสไฟฟ้าทีใ่ ช้งาน และสอดคล้องกับขนาด ขนาดของเครื่องวัดฯ ด้วย ตามตารางต่อไปนี้
ตำรำงที ่ 1 ขนำดสำยไฟฟ้ำตำมขนำดของเมนสวิตช์
ขนำดสูงสุด ขนำดต�่ำสุดของสำยเมนและ แรงดันไฟฟ้ำ
ขนำดเครื่องวัดฯ (สำยต่อหลักดิน) **ตร.มม.
(แอมแปร์) เฟส ของเมนสวิตช์ ของสำยเมน
(แอมแปร์) สำยเมนในอำกำศ สำยเมนในท่อ (โวลต์)

5 (15) 1 16 4 (10) 4,10**(10) 300


15 (45) 1 50 10 (10) 16 (10) 300
30 (100) 1 100 25 (10) 50 (16) 300
50 (150) 1 125 35 (10) 70 (25) 300
15 (45) 3 50 10 (10) 16 (10) 750
30 (100) 3 100 25 (10) 50 (16) 750
50 (150) 3 125 35 (10) 70 (25) 750
200 3 250 95 (25) 150 (35) 750
400 3 500 240 (50) 500 (70) 750
หมายเหตุ * สายต่อหลักดินขนาด 10 ตร.มม. ให้เดินในท่อ ส่วนสายเมนที่ใหญ่กว่า 500 ตร.มม.
ให้ใช้สายต่อหลักดิน ขนาด 95 ตร.มม. เป็นอย่างน้อย
** สายเมนที่ใช้เดินในท่อฝังดินต้องไม่เล็กกว่า 10 ตร.มม.

5. ขนาดของสายต่อหลักดิน ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าที่ก�าหนดไว้ในตารางต่อไปนี้
ตำรำงที ่ 2 ขนำดต�่ำสุดของสำยต่อหลักดิน
ขนำดสำยเมนเข้ำอำคำร ขนำดต�่ำสุดของสำยต่อหลักดิน
(ตัวน�ำทองแดง) (ตร.มม.) (ตัวน�ำทองแดง) (ตร.มม.)
ไม่เกิน 35 10 (ควรเดินในท่อ)
เกิน 35 แต่ไม่เกิน 50 16
เกิน 50 แต่ไม่เกิน 95 25
เกิน 95 แต่ไม่เกิน 185 35
เกิน 185 แต่ไม่เกิน 300 50
เกิน 300 แต่ไม่เกิน 500 70
เกิน 500 95

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
19
6. ขนาดต�่ า สุ ด ของสายดิ น ป้ อ งกั น สายดิ น ฯที่ เ ดิ น ไปยั ง อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า
(บริภัณฑ์ไฟฟ้า) หรือเต้ารับให้มีขนาดเป็นไปตามขนาดปรับตั้งของเครื่องป้องกันกระแสเกิน
ตามตารางต่อไปนี้
ตำรำงที่ 3 ขนำดต�่ำสุดของสำยดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้ำ
พิกัดหรือขนำดปรับตั้งของ ขนำดต�่ำสุดของสำยดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้ำ
เครื่องป้องกันกระแสเกิน ไม่เกิน (แอมแปร์) (ตัวน�ำทองแดง) (ตร.มม.)
20 2.5*
40 4*
70 6*
100 10
200 16
400 25
500 35
800 50
1,000 70
1,250 95
2,000 120
2,500 185
4,000 240
6,000 400
หมายเหตุ เครื่องป้องกันกระแสเกิน อาจจะเป็นฟิวส์หรือเบรกเกอร์ (สวิตช์อัตโนมัติ) ก็ได้
* หมายถึงขนาดต�่าสุดของสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้าส�าหรับที่อยู่อาศัยหรืออาคารของผู้ใช้ไฟฟ้า
ที่อยู่ห่างจากหม้อแปลงระบบจ�าหน่ายระยะไม่เกิน 100 เมตร หากเกินระยะ 100 เมตร ให้ศึกษา
เพิม่ เติมจากมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้า ส�าหรับประเทศไทย หรือใช้ขนาดเท่ากับขนาดสายเส้นไฟ

20
ขนำดสำยไฟที่มีสำยดิน (ตร.มม.) ตำม มอก.11-2553
สำยไฟ (L,N) สำยดิน (G)
2.5 2.5
4.0 4.0
6.0 6.0
10.0 10.0
16.0 16.0
25.0 16.0
35.0 16.0
หมายเหตุ 1.) การเลือกขนาดสายดินนั้นจะขึ้นอยู่กับขนาดกระแสลัดวงจรและความเร็วของอุปกรณ์ป้องกัน
ดังนั้นในกรณีที่สายดินเดินด้วยสายเดี่ยว เช่น สาย IEC 01 สีเขียว หากไม่มีข้อมูลใดๆ แนะน�า
ให้ใช้ขนาดสายดินเท่ากับขนาดสายเส้นไฟ
2.) ใน มอก.11-2553 ได้ก�าหนดขนาดของสายดินใหม่ตามตารางดังต่อไปนี้

ขนำดสำยไฟที่มีสำยดิน (ตร.มม.) ตำม มอก.11-2553


ขนำดสำยเส้นไฟ (ตร.มม.) ขนำดสำยดิน (ตร.มม.)
ไม่เกิน 16.0 ใช้ขนาดเดียวกับสายเส้นไฟ
25.0 16.0
35.0 16.0
50.0 25.0
70.0 35.0
95.0 50.0
120.0 70.0
150.0 95.0
185.0 95.0
240.0 120.0
300.0 150.0

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
21
7. การเลือกใช้ขนาดสายไฟฟ้าให้เหมาะสมกับสภาพการใช้งานต่างๆ ให้เป็น
ไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า ส�าหรับประเทศไทย

ตำรำงที่ 4 ตำรำงแสดงขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ำ อ้ำงอิงตำมมำตรฐำนกำรติดตั้ง


ทำงไฟฟ้ำส�ำหรับประเทศไทย
ขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ำทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มี/ไม่มีเปลือกนอก ส�ำหรับขนำดแรงดัน (U๐/U)
ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตัวน�ำ 70๐C อุณหภูมิโดยรอบ 40๐C เดินในช่องเดินสำยในอำกำศ
ลักษณะกำรติดตั้ง กลุ่มที ่ 1 กลุ่มที่ 2
จ�านวนตัวน�ากระแส 2 3 2 3
ลักษณะตัวน�ากระแส แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน

รูปแบบการติดตั้ง

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, NYY-G,
รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้งาน VCT.VCT-G, IEC 60502-1 และสายที่มีคุณสมบัติพิเศษต่างๆ เช่น สายทนไฟ, สายไร้ฮาโลเจน,
สายควันน้อย เป็นต้น
ขนาดสาย (ตร.มม.) ขนาดกระแส (แอมแปร์)
1 10 10 9 9 12 11 10 10
1.5 13 12 12 11 15 14 13 13
2.5 17 16 16 15 21 20 18 17
4 23 22 21 20 28 26 24 23
6 30 28 27 25 36 33 31 30
10 40 37 37 34 50 45 44 40
16 53 50 49 45 66 60 59 54
25 70 65 64 59 88 78 77 70
35 86 80 77 72 109 97 96 86
50 104 96 94 86 131 116 117 103
70 131 121 118 109 167 146 149 130
95 158 145 143 131 202 175 180 156
120 183 167 164 150 234 202 208 179
150 209 191 188 171 261 224 228 196
185 238 216 213 194 297 256 258 222
240 279 253 249 227 348 299 301 258
300 319 291 285 259 398 343 343 295
400 - - - - 475 - 406 -
500 - - - - 545 - 464 -

22
3.1.2 กำรเดินสำยไฟ 3. สายไฟฟ้ า ที่ ท ะลุ ผ ่ า นผนั ง
1. เลือกว่าจ้างช่างเดินสายไฟฟ้า หรือออกมาจากอุปกรณ์ไฟฟ้า ต้องมีฉนวน
ที่มีประสบการณ์สูง รองรับเพือ่ ป้องกันฉนวนของสายไฟฟ้าถูกบาด
2. หลี ก เลี่ ย งการมี จุ ด ต่ อ สาย จนช�ารุด
ไฟฟ้าเกินความจ�าเป็น หากมีการต่อสายก็ตอ้ ง 4. การต่อสายไฟแต่ละเส้นจะ
เลือกใช้อปุ กรณ์การต่อสายทีถ่ กู ต้องมัน่ คงแข็ง ต้องต่อให้ถูกกับขั้วตามมาตรฐานสีของฉนวน
แรง (ห้ามใช้ตะกั่วบัดกรีในการต่อสายโดย สายไฟ หากต่อไม่ถูกต้อง นอกจากเครื่องใช้
ล�าพังแต่อย่างเดียว เนื่องจากตะกั่วจะทน ไฟฟ้าอาจช�ารุดได้งา่ ยแล้ว ยังอาจเกิดอันตราย
อุณหภูมิได้ต�่าและหลอมละลายท�าให้จุดต่อ ถูกไฟฟ้าดูดถึงแก่ชีวิตได้
หลวม ยกเว้นจะต่อสายไฟให้มั่นคงแข็งแรง
ทางกลก่อนแล้วจึงใช้ตะกั่วบัดกรีทับเป็นการ
เสริมก็ได้)
มำตรฐำนสีของฉนวนสำยไฟฟ้ำ
มำตรฐำน สำยเส้นไฟฟ้ำ (L) สำยศูนย์ (N) สำยดิน (G)
มอก.11-2531 (เก่า) ด�า เทา เขียวแถบเหลือง
มอก.11-2553 (ใหม่) น�า้ ตาล ฟ้า เขียวแถบเหลือง
IEC น�า้ ตาล ฟ้า เขียวแถบเหลือง
เยอรมัน ด�า (น�้าตาล) ฟ้า เขียวแถบเหลือง
ฝรั่งเศส ด�า ฟ้า เขียวแถบเหลือง
อังกฤษ (ใหม่) น�้าตาล ฟ้า เขียวแถบเหลือง
อังกฤษ (เก่า) แดง ด�า เขียวแถบเหลือง
อเมริกัน ด�า (แดง) ขาว (เทาอ่อน) เขียว (เขียวแถบเหลือง)

5. อุปกรณ์ปอ้ งกันกระแสไฟฟ้า 6. กรณีที่จะมีการต่อเติมเดิน


เกิน เช่น ฟิวส์ หรือเบรกเกอร์ รวมทั้งสวิตช์ สายไฟบางส่ ว นแล้ ว พอว่ า การเดิ น สายไฟ
ปิ ด -เปิ ด ให้ ต ่ อ เฉพาะกั บ สายเส้ น ที่ มี ไ ฟ เดิ ม ทั้ ง บ้ า นใช้ สี ข องสายไฟสลั บ กั น กั บ
เท่านั้น และห้ามต่อฟิวส์ในสายเส้นที่ไม่มีไฟ มาตรฐานเหมือนกันทั้งหมด (เช่น เส้นที่มีไฟ
(เส้นศูนย์) ในกรณีที่ใช้เบรกเกอร์ หรือสวิตช์ ใช้สีขาว เส้นศูนย์ใช้สีด�า) หากไม่สามารถ
ในเส้ น ศู น ย์ ด ้ ว ยต้ อ งเป็ น ชนิ ด ที่ ตั ด ไฟหรื อ แก้ ไ ขใหม่ ไ ด้ ข อแนะน� า ให้ ใ ช้ สี ข องสายไฟ
ปลดสายไฟทุกเส้นออกพร้อมกัน (2 ขั้วพร้อม ระบบเดียวกันทั้งบ้าน แต่ต้องมีเครื่องหมาย
กัน) หรือเอกสารก�ากับไว้ที่แผงสวิตช์ หรือตู้เมน
สวิตช์ส�าหรับช่างไฟฟ้าและเจ้าของบ้านทราบ
ทุกครั้งที่มีการตรวจสอบด้วย

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
23
7. กรณี ข องสายดิ น ถ้ า ใช้ ไฟเกินขนาดของสาย หรือมีจุดต่อสายต่างๆ
สายดินเป็นเส้นเดี่ยว ต้องมีฉนวนเป็นสีเขียว ไม่แน่น เช่น บริเวณปลั๊กไฟ เต้ารับสวิตช์
และถ้ า สายวงจรเดิ น ในท่ อ โลหะต้ อ งเดิ น เป็นต้น
สายดินในท่อเดียวกับสายวงจรด้วย ห้ามเดิน 4. สั ง เกตสี ข องเปลื อ กสาย
นอกท่อโลหะ ถ้าสายไฟบางเส้นมีสีเปลี่ยนไป เช่น สีขาว
8. สายไฟสายเดี่ ย วที่ เ ป็ น เปลี่ยนเป็นสีคล�า้ หรือมีฝุ่นจับมาก แสดงว่ามี
ฉนวนชั้นเดียว ไม่อนุญาตให้เดินสายโดยใช้ อุณหภูมสิ งู กว่าปกติ อาจมีการใช้ไฟเกินขนาด
เข็มขัดรัดสาย สาย หรือมีการต่อสายไม่แน่น เป็นต้น
9. สายเมนที่ มี ข นาดเล็ ก กว่ า 5. ฉนวนของสายไฟฟ้ า ต้ อ ง
50 ตร.มม. ไม่อนุญาตให้น�ามาเดินควบสาย ไม่มีการแตกกรอบ ไม่มีรอยไหม้ ช�ารุด ถ้าพบ
และสายที่เดินควบต้องเป็นสายชนิดเดียวกัน ควรหาสาเหตุแล้วแก้ไขสาเหตุ พร้อมเปลี่ยน
ขนาดเท่ากัน มีความยาวเท่ากัน และใช้วิธี สายใหม่
ต่อสายเหมือนกัน 6. หมั่ น ตรวจสอบสภาพของ
3.1.3 กำรตรวจสอบสำยไฟฟ้ำ สายไฟฟ้าปีละ 1 ครั้ง เป็นอย่างน้อย โดยให้
1. ตรวจสอบการเดิ น สายไฟ มีการบันทึกข้อมูลการตรวจสภาพไว้ทุกครั้ง
ว่าใช้สีถูกต้องตามมาตรฐานหรือไม่ (โดยใช้ ด้วย
ไขควงลองไฟ) หากไม่ถูกต้องเพียงบางจุดให้ 7. กรณีที่มีการใช้ไฟฟ้ามากขึ้น
แก้ไขสลับสายใหม่ หากไม่ถูกต้องตลอดทั้ง ควรตรวจสอบขนาดของสายไฟฟ้าที่ใช้อยู่ว่า
อาคารเหมือนกันหมดให้มีเครื่องหมายหรือ เหมาะสมหรือไม่ ถ้าขนาดสายไม่เพียงพอ
เอกสารก�ากับไว้ที่แผงสวิตช์หรือตู้เมนสวิตช์ ต้องเปลี่ยนใหม่
ด้วย เพื่อป้องกันการเข้าใจผิดภายหลัง 8. ตรวจสอบสายไฟบริเวณที่
ทะลุผ่านฝ้าเพดานหรือผนัง นอกจากต้องมี
ฉนวนรองรับการบาดสายแล้ว ยังอาจมีรอย
หนูแทะเปลือกของสายท�าให้เกิดลัดวงจรและ
เกิดไฟไหม้ได้

2. ตรวจสอบจุดต่อสาย การเข้า
สายต้องขันให้แน่นอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
3. สังเกตอุณหภูมิของสายโดย
ใช้การสัมผัสที่ผิวฉนวนของสาย ถ้ารู้สึกอุ่น
หรือร้อนแสดงว่ามีสงิ่ ผิดปกติ อาจเนือ่ งจากใช้

24
3.2 เมนสวิตช์ 2. ฟิวส์หรือเบรกเกอร์ทใี่ ช้ตอ้ งมีความ
เมนสวิตช์ในทีน่ จี้ ะหมายถึง อุปกรณ์บน สามารถหรื อ มี พิ กั ด ในการตั ด กระแสไฟฟ้ า
แผงวงจรควบคุมการจ่ายไฟฟ้าที่ท�าหน้าที่ ลัดวงจร (IC หรือ Interrupting Capacity
ควบคุ ม การใช้ ไ ฟฟ้ า ให้ เ กิ ด ความปลอดภั ย หรือ Interrupting Rating) ไม่ต�่ากว่าค่า
สามารถสับหรือปลดออกได้ทนั ที เมนสวิตช์จะ กระแสลั ด วงจรของระบบไฟฟ้ า ที่ ต� า แหน่ ง
หมายถึง อุปกรณ์สับปลดวงจรไฟฟ้าตัวแรก ติดตั้ง ค่าพิกัดกระแสลัดวงจร (IC) นี้ ปกติ
ถัดจากเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า(มิเตอร์) ของ จะมีหน่วยเป็น kA หรือกิโลแอมแปร์ และจะ
การไฟฟ้านครหลวงเข้ามาในบ้าน ซึง่ จะรวมถึง ต้องสอดคล้องกับแรงดันไฟฟ้าที่ใช้งานด้วย
อุปกรณ์ป้องกันกระแสไฟฟ้าเกินและลัดวงจร เช่น พิกัด IC = 10 kA ส�าหรับแรงดัน 120 V
ด้วย มีข้อแนะน�าดังนี้ เมื่อน�าไปใช้กับแรงดัน 240 V จะมีพิกัด IC
1. ขนาดปรับตั้งของอุปกรณ์ป้องกัน ลดลงประมาณครึ่งหนึ่ง เช่นเหลือ IC = 5 kA
กระแสเกิ น หรื อ ลั ด วงจรในเมนสวิ ต ช์ เช่ น เป็นต้น
ฟิ ว ส์ ห รื อ เบรกเกอร์ ต ้ อ งเลื อ กขนาดให้ พ อ
เหมาะทีจ่ ะสามารถตัดวงจรไฟฟ้าในขณะทีเ่ กิด
กระแสลัดวงจร หรือมีกระแสไฟฟ้าไหลเกินได้
ทันท่วงที ก่อนที่สายไฟฟ้าและอุปกรณ์อื่นๆ
จะเสียหาย

หมายเหตุ
2.1) ค่าพิกัด IC ของอุปกรณ์ตัด
ไฟส�าหรับระบบทัว่ ไปภายในเขต กฟน. จะต้อง
ไม่น้อยกว่า 10 kA
2.2) ส�าหรับในเขตวงจรตาข่าย
(เขตวัดเลียบ) ต้องมีพกิ ดั IC ไม่นอ้ ยกว่า 50 kA
2.3) ค่าพิกัด IC ของเบรกเกอร์ที่
ใช้ส�าหรับบ้านอยู่อาศัยทั่วไปนั้นให้อ้างอิงค่า
พิ กั ด ที่ ท ดสอบตามมาตรฐาน IEC 60898
เท่านั้น

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
25
3. ต�าแหน่งของเมนสวิตช์ต้องอยู่ห่าง 8. ในขณะที่ปลดเมนสวิตช์ เพื่อการ
จากวัสดุทเี่ ป็นเชือ้ เพลิง เช่น ผ้า กระดาษ หรือ ซ่อมแซมหรือบ�ารุงรักษานั้น ให้เขียนป้าย
สารไวไฟ เช่น ทินเนอร์ผสมสี เตือนไว้ว่า “ห้ามสับไฟ! ช่างไฟฟ้าก�าลัง
4. ตู้เมนสวิตช์ หากท�าด้วยโลหะต้อง ท�างาน” แขวนไว้ที่เมนสวิตช์ทุกครั้ง
ต่อลงดิน (ดูผังวงจรท้ายเล่ม) หากไม่ใช่โลหะ
ต้องท�าด้วยสารที่ไม่ติดไฟได้ง่าย หรือท�าด้วย
วัสดุที่ไม่ไหม้ลุกลาม (Flame Retarded)
5. ต�าแหน่งของเมนสวิตช์ต้องเข้าถึง
ได้ ส ะดวก และมี ก ารระบายอากาศอย่ า ง
เพียงพอ ห้ามสับไฟ!
6. ต� า แหน่ ง ของเมนสวิ ต ช์ ค วรอยู ่ ช่างไฟฟ้าก�าลังท�างาน

สูงพ้นระดับที่นา�้ อาจจะท่วมถึง และไม่อยู่ใกล้


กับแนวท่อน�้าหรือท่อระบายน�้า เพื่อป้องกัน 9. เครื่องตัดไฟรั่วควรมีปุ่มทดสอบ
อันตรายในกรณีทที่ อ่ น�า้ ช�ารุด หรือการกัดกร่อน การท�างาน และมีการกดปุม่ ทดสอบเป็นประจ�า
เกิดสนิมเนื่องจากความชื้น เครื่องตัดไฟรั่วชนิดที่ใช้ป้องกัน
7. ในกรณีที่เมนสวิตช์ประกอบด้วย ไฟดู ด ควรมี ค วามไวสู ง โดยต้ อ งมี ข นาด
คัตเอาต์ (สวิตช์ใบมีด) และคาร์ทริดจ์ฟิวส์ กระแสไฟรั่วไม่เกิน 30 mA ในการติดตั้งหาก
(ฟิวส์กระปุก) ให้ตอ่ ตรงทีต่ า� แหน่งฟิวส์ภายใน จะใช้ตัวเดียวป้องกันทั้งบ้าน ในบางกรณีอาจ
คัตเอาต์ด้วยสายทองแดงที่มีขนาดเพียงพอ จะมีปัญหาเครื่องตัดบ่อย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
(ไม่เล็กกว่าขนาดสายเมน) เพื่อให้ท�าหน้าที่ ในบ้านทีส่ ภาพสายไฟเก่า หรือมีสภาพไฟรัว่ สูง
เป็นสะพานไฟสับ-ปลดวงจรอย่างเดียว โดยให้ จึงควรใช้เฉพาะกับวงจรย่อยหรือเต้ารับพิเศษ
คาร์ทริดจ์ฟิวส์ท�าหน้าที่ป้องกันกระแสเกิน เช่น ในห้องน�้าที่มีเครื่องท�าน�้าอุ่น ห้องครัว
และกระแสลัดวงจรแทน เป็นต้น โดยให้แยกวงจรที่มีกระแสไฟรั่วมาก
ออกไป เช่น เครื่องปรับอากาศชนิดแยกส่วน
วงจรที่มีลักษณะเป็นตัวเก็บประจุ หรือเครื่อง
ป้องกันฟ้าผ่าที่มีการต่อลงดิน เป็นต้น
เครือ่ งตัดไฟรัว่ ชนิดทีใ่ ช้ปอ้ งกันไฟฟ้ารัว่
ตัวเดียวทั้งบ้าน หรือทุกวงจรจะเป็นลักษณะ
ของการป้ อ งกั น เมื่ อ มี ก ารเสื่ อ มของฉนวน
ของระบบไฟฟ้ า หรื อ ของเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า
เพือ่ มิให้เกิดอัคคีภยั เครือ่ งตัดไฟรัว่ ทีใ่ ช้มกั เป็น

26
ชนิดทีม่ คี วามไวปานกลาง ขนาดตัง้ แต่ 100 mA เครื่องตัดไฟรั่วที่ไวเกินไปหรือระบบสายไฟที่
ขึ้ น ไป (100 mA, 300 mA, 500 mA) เก่าเกินไปก็เป็นได้
การติดตัง้ ไว้ทเี่ มนสวิตช์จะใช้งานได้ดหี ากเป็น 12. หลั ก ดิ น และต� า แหน่ ง ต่ อ ลงดิ น
ระบบไฟที่มีสายดิน ภายในอาคารหลังเดียวกัน ควรมีอยู่แห่งเดียว
10. ขัว้ ต่อสาย การเข้าสาย และจุดสัมผัส คือบริเวณตู้เมนสวิตช์ทางด้านไฟเข้าเท่านั้น
ต่างๆ ต้องหมัน่ ตรวจสอบขันให้แน่นอย่างน้อย (รายละเอียดให้ดูในหัวข้อเรื่องสายดิน)
ปีละครัง้ เพือ่ ไม่ให้เกิดความร้อน วิธตี รวจสอบ 13. ควรแยกวงจรส�าหรับระบบไฟฟ้า
อุณหภูมขิ องสายอย่างง่ายๆ อาจจะใช้นวิ้ สัมผัส ชั้ น ล่ า งของอาคารออกต่ า งหาก และให้
ฉนวนสายบริ เ วณใกล้กับจุดต่อต่างๆ ก็ได้ สามารถปลดวงจรออกได้โดยสะดวกในกรณี
(ต้องแน่ใจว่าฉนวนสายนั้นไม่ช�ารุด) ที่มีน�้าท่วมขัง และควรมีการป้องกันวงจรนี้
11. เมื่ อ มี ก ารท� า งานของเบรกเกอร์ ด้วยเครื่องตัดไฟรั่วด้วย
(สวิตช์อัตโนมัติ) หรือเครื่องตัดไฟรั่ว จะต้อง 14. อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น กระแสเกิ น และ
ตรวจสอบหาสาเหตุทุกครั้งว่าเกิดจากอะไร ลั ด วงจรที่ ท� า หน้ า ที่ เ ป็ น เมนสวิ ต ช์ ค วรมี
เพื่ อ ท� า การแก้ ไ ขก่ อ นที่ จ ะมี ก ารสั บ ไฟใหม่ จ�านวนขั้วดังนี้
สาเหตุที่เป็นไปได้คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าช�ารุด ระบบไฟที่ไม่มีสายดิน เบรกเกอร์
ไฟฟ้ า รั่ ว ไฟฟ้ า ลั ด วงจร หรื อ มี ก ารใช้ ไ ฟ ต้องเป็นชนิดที่ตัดพร้อมกันทั้ง 2 ขั้ว หากใช้
เกินก�าลังขนาดของสายไฟฟ้า หรือขนาดของ ฟิวส์อาจใช้ขั้วเดียวได้ แต่ต้องต่ออยู่ในสาย
เบรกเกอร์ บางครั้งอาจเกิดจากไฟตก (เฉพาะ เส้นที่มีไฟ และต้องมีสะพานไฟหรือคัตเอาต์
วงจรที่ใช้มอเตอร์ซึ่งกินไฟมาก) หรืออาจจะ 2 ขั้ว ที่สามารถปลดไฟพร้อมกันทั้ง 2 ขั้ว
เกิดจากเบรกเกอร์ชา� รุดเอง กรณีของเครือ่ งตัด ระบบไฟที่มีสายดิน เบรกเกอร์
ไฟรั่ ว ที่ มั ก จะท� า งานเมื่ อ มี ฟ ้ า ผ่ า นั้ น เป็ น และฟิวส์สามารถใช้ชนิดที่ตัดเพียงขั้วเดียวใน
เหตุ ก ารณ์ ป กติ ในกรณี ที่ มี ค ลื่ น เหนี่ ย วน� า สายเส้ น ที่ มี ไ ฟได้ ยกเว้ น กรณี ห ้ อ งชุ ด ของ
จากกระแสฟ้าผ่าเล็ดลอดเข้ามาในบ้านที่มี อาคารชุด ต้องถือว่ามีไฟทั้ง 2 เส้น และเป็น
ชนิดตัดสองขั้ว

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
27
3.3 สวิตช์ปิด-เปิด 3.4 เต้ำเสียบและเต้ำรับ
สวิ ต ช์ ป ิ ด -เปิ ด ในที่ นี้ ห มายถึ ง สวิ ต ช์ ข้ อ แนะน� า ในการใช้ เ ต้ า เสี ย บและ
ส�าหรับปิด-เปิดหลอดไฟหรือโคมไฟส�าหรับ เต้ารับที่ดีและปลอดภัย
ให้แสงสว่างหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่นๆ ที่มี 3.4.1 เต้าเสียบ-เต้ารับ ที่ใช้ต้องได้
การติดตั้งสวิตช์เอง มีข้อแนะน�าดังนี้ มาตรฐาน มอก. 166-2549
1. เลือกใช้สินค้าที่มีมาตรฐาน มอก. ปัจจุบันนี้เต้าเสียบและเต้ารับที่มีการ
824 หรือมาตรฐานสากลอื่นๆ ที่มีการรับรอง ผลิตหรือสั่งซื้อเข้ามาใช้งานกับเครื่องใช้ไฟฟ้า
เช่น IEC, UL, VDE, KEMA, DIN เป็นต้น ในประเทศไทยจะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน
2. แรงดั น ไฟฟ้ า และกระแสไฟฟ้ า มอก. 166-2549 ซึ่งเป็นมาตรฐานบังคับที่
ที่ ก� า หนดของสวิ ต ช์ ต ้ อ งไม่ ต�่ า กว่ า ค่ า ที่ ใ ช้ ต้องปฏิบัติตาม โดยมีลักษณะรูปแบบของ
งานจริง เต้าเสียบ-เต้ารับดังนี้
3. การเข้าสาย/ต่อสายต้องแน่น และ ไม่มีฉนวน
มั่นคงแข็งแรง
4. สปริงต้องแข็งแรง ตัดต่อวงจรได้
ฉับไว
5. ฝาครอบไม่ร้าวหรือแตกง่าย มีฉนวน
6. ถ้าใช้งานภายนอกต้องทนแดด ทน
ฝนได้ด้วย
7. ถ้าสัมผัสทีส่ วิตช์แล้วรูส้ กึ ว่าอุน่ หรือ เต้ำเสียบ (Plug)
ร้อน แสดงว่ามีการต่อสายไม่แน่นหรือสวิตช์ เป็นแบบ ขากลม มีฉนวนหุม้ อยูท่ โี่ คนขา
เสื่อมคุณภาพ ปลัก๊ ทัง้ 2 ขา เพือ่ ป้องกันนิว้ ไม่ให้สมั ผัสขาปลัก๊
ทีม่ ไี ฟขณะเสียบหรือถอดปลัก๊ ได้ โดยเต้าเสียบ
ชนิดขาแบนหรือกลมเปลือยทีไ่ ม่มกี ารป้องกัน
จะยกเลิกไป ซึง่ เต้าเสียบขากลมนีจ้ ะมี 2 แบบ
คือ
สวิตช์ปิด-เปิด
ก. แบบ 3 ขา มีสายดิน (ขาที่ 3 เป็นขา
สายดินที่ไม่มีฉนวนหุ้ม) ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า
8. หลี ก เลี่ ย งการติ ด ตั้ ง สวิ ต ช์ ใ นที่ ทีม่ ตี วั ถังภายนอกเป็นโลหะทีอ่ าจจะมีไฟรัว่ ได้
ชื้นแฉะ และห้ามสัมผัสหรือใช้สวิตช์ในขณะที่ (เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 1) เต้าเสียบที่ใช้จึง
ร่างกายเปียกชื้น ต้ อ งมี ส ายดิ น ตั ว อย่ า งของเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า
9. ติ ด ตั้ ง สวิ ต ช์ ตั ด วงจรเฉพาะกั บ ประเภทนี้ ได้แก่ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า เตารีด
สายเส้นที่มีไฟ

28
หม้ อ หุ ง ข้ า ว เตาหรื อ กระทะไฟฟ้ า เตา
ไมโครเวฟ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ เป็นต้น

3.4.2 เต้าเสียบ-เต้ารับที่ดี เมื่อเสียบ


แล้วจะต้องแน่นพอควรและไม่หลวมง่าย
ข. แบบ 2 ขา ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า เพราะเมือ่ หลวมแล้ว แม้จะเป็นเครือ่ งใช้ไฟฟ้า
ที่มีฉนวนหุ้มโดยรอบหนากว่าปกติ 2 เท่า ที่ กิ น ไฟน้ อ ยก็ ส ามารถท� า ให้ เ กิ ด ความร้ อ น
หรื อ มั ก มี ตั ว ถั ง ภายนอกไม่ เ ป็ น โลหะ และ และลุกไหม้ตดิ ไฟได้ วิธที ดสอบอย่างง่ายๆ คือ
ไม่มีโอกาสถูกไฟฟ้าดูด เต้าเสียบจึงไม่ต้อง ทดสอบในขณะไม่มีไฟ เช่น ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า
มีสายดิน เช่น เครื่องชาร์จไฟโทรศัพท์มือถือ หรือใช้เต้าเสียบที่มีสายไฟเปล่าๆ ทดลอง
วิทยุ ทีวี เครื่องเล่นเทป ดีวีดี วีซีดี เป็นต้น เสียบปลั๊กเข้าออกประมาณ 5-10 ครั้ง แล้ว
โดยมากมั ก จะมี สั ญ ลั ก ษณ์ เป็ น รู ป สังเกตว่า ถ้ายังคงฝืดและแน่นแสดงว่าไม่
สี่เหลี่ยมซ้อนกัน 2 วงอยู่ที่ตัวเครื่องใช้ไฟฟ้า หลวม ใช้งานได้ดี
(เรามักเรียกว่าเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 3.4.3 เครือ่ งใช้ทนี่ า� มาเสียบกับเต้ารับ
ฉนวน 2 ชั้น หรือฉนวนไฟฟ้าประเภท 2) ต้ อ งกิ น กระแสไฟฟ้ า ไม่ เ กิ น ขนาดพิ กั ด
กระแสฯของเต้ า รั บ (ไม่ เ กิ น 16 A หรื อ
ประมาณ 2,600 W)

เต้ำรับ (Socket)
เต้ารับตามมาตรฐาน มอก. 166-2549 3.4.4 ควรเลือกใช้เต้ารับชนิดที่มีตัว
ต้องเป็นเต้ารับชนิดที่มี 3 รูกลม ชนิดที่มี ปิดช่อง (Shutter) ภายในรูของเต้ารับด้วย
สายดิน โดยในเบื้องต้นยอมให้ใช้เต้ารับชนิด เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยส�าหรับป้องกันเด็กเล็ก
กลม-แบน (ตามรูป) ได้ แต่จะห้ามใช้เต้ารับ ไม่ให้เอาวัสดุหรือนิ้วแหย่ข้าไปในรูเต้ารับได้
ชนิดที่มีเพียง 2 รู ที่ไม่มีสายดิน ดังนั้นตาม หากไม่ มี ใ ห้ จั ด ซื้ อ วั ส ดุ ป ิ ด รู เ ต้ า รั บ ที่ มี ข าย
มาตรฐาน มอก. 166-2549 จะห้ามผลิตหรือ เป็นการเฉพาะ (ตามรูป)
ขายเต้ารับชนิดที่มีเพียง 2 รู

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
29
กรณีนี้นอกจากจะมีอันตรายจาก
การไม่มีสายดินแล้ว ยังมีอันตรายจากสวิตช์
เปิด-ปิดตัดขั้วที่ไม่มีไฟ (ไฟสวิตช์ดับ) ท�าให้
นึกว่าปลอดภัย แต่ความเป็นจริงจะมีไฟเข้ามา
ในเครื่องใช้ไฟฟ้าตลอด ทั้งนี้ เนื่องจากสวิตช์
ดังกล่าวตัดไฟเพียงขั้วเดียว และเต้าเสียบ
3.4.5 เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า บางชนิ ด จึ ง มีเพียง 2 ขา ที่สามารถสลับขั้วได้ จึงตัดไฟ
ต้องมีสายดิน หรือใช้เต้าเสียบที่มีสายดิน ผิดขั้วได้
เพราะเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า นั้ น อาจเกิ ด ไฟรั่ ว กรณีของชุดสายพ่วงทีม่ สี ายดิน
ในขณะใช้ ง านได้ เพื่ อ ความปลอดภั ย จึ ง ทัง้ ในเต้าเสียบและเต้ารับอยูแ่ ล้ว แต่ไปเสียบ
ต้องมีสายดิน ซึ่งถ้าผู้ใช้ไฟฟ้าใช้งานโดยไม่มี กับเต้ารับ 2 รู ชนิดที่ไม่มีขั้วสายดิน หรือ
การต่อสายดินแล้วย่อมหมายความว่า มีการหักขาสายดิน เป็นต้น
ผู้ใช้ไฟฟ้ายอมรับความเสี่ยงใน
อั น ตรายที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ตั ว อย่ า งของกรณี สวิตซ์ตัดขั้วเดียว

การใช้งานที่อาจท�าให้เกิดอันตราย ได้แก่ ไม่มีสายดิน


การหั ก ขาสายดิ น ที่ เ ต้ า เสี ย บ
เครื่องใช้ไฟฟ้า สลับขั้วได้
มีขั้วสายดิน
การใช้ เ ต้ า ปรั บ (Adapter)
ชนิดเปลี่ยนจาก 3 ขาเป็น 2 ขา (ชนิดที่ไม่มี
ขั้วสายดิน) ท�าให้ไม่มีการต่อลงดิน กรณีของชุดสายพ่วงเต้ารับ 3 รู
ที่ไม่มีการต่อสายดินภายใน หรือต่อสลับขั้ว
ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน
3.4.6 เต้ารับต้องมีการต่อและเดินสาย
ดินไปลงดินเข้ากับหลักดินให้ถูกต้องตาม
มาตรฐานการติ ด ตั้ ง ทางไฟฟ้ า ส� า หรั บ
ประเทศไทยที่แผงเมนสวิตช์ด้วย หากไม่มี
การต่อสายลงดิน หรือมีการต่อใช้อย่างไม่ถกู ต้อง
อาจมีอันตายถึงชีวิตได้
3.4.7 วิ ธี ต รวจสอบการต่ อ ขั้ ว ของ
กรณีใช้ชุดสายพ่วงชนิดที่เป็น เต้ารับที่ถูกต้อง
เต้ารับ 3 รู แต่กลับมีสายไฟและเต้าเสียบเป็น ตรวจสอบโดยดูต�าแหน่งของรู
ชนิด 2 ขา ที่ไม่มีสายดิน เต้ารับ ร่วมกับการใช้ไขควงไฟฟ้า

30
ให้ตั้งต้นจากรูของเต้ารับที่ สายไฟส�าหรับ สีของสายไฟ
เป็นขั้วสายดินที่มีสัญลักษณ์ แล้วหมุนวน (มอก.11-2553)
ไปทางขวาตามเข็มนาฬิกา ขั้วที่พบขั้วแรก ขั้วที่มีไฟ L น�้าตาล
จะเป็นขั้ว N ซึ่งต้องไม่มีไฟ และขั้วถัดมาจะ เส้นนิวทรัล N ฟ้า
เป็นขั้ว L ที่มีไฟ ทั้งนี้ ให้ตรวจสอบยืนยัน ขั้วสายดิน G หรือ E หรือ เขียวแถบเหลือง
ความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง โดยทดสอบด้วย
ไขควงไฟฟ้า (หมายเหตุ ถ้าน�าไปใช้ดูขั้วของ
สีของสายไฟ (มอก. 11-2553)
เต้าเสียบขั้ว N, L จะสลับขั้วกันกับข้างต้น)
ตรวจสอบโดยดูจากสัญลักษณ์
บนผิวเต้ารับ (ตามมาตรฐานใหม่จะต้องมี)
ร่วมกับการใช้ไขควงไฟฟ้า

หากพบว่ า การตรวจสอบด้ ว ย
ต�าแหน่ง สัญลักษณ์ กับสีของสายไฟมีความ
ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ การทดสอบด้ ว ยไขควง
ไฟฟ้าอย่างใดอย่างหนึ่ง แสดงว่ามีการต่อ
สายไฟในบ้านไม่ถกู ต้อง ให้หยุดการใช้ไฟทันที
แล้ ว แจ้ ง ช่ า งผู ้ ช� า นาญงานหรื อ เจ้ า หน้ า ที่
ขั้ ว ที่ มี สั ญ ลั ก ษณ์ L ต้ อ ง การไฟฟ้าให้รีบด�าเนินการแก้ไขโดยด่วน
เป็นขั้วที่มีไฟติด ส่วนขั้วที่ไม่ควรมีไฟติดคือ N 3.4.8 เต้ า รั บ ที่ ติ ด ตั้ ง ในชั้ น ล่ า งของ
และ G แต่ ทั้ ง 2 ขั้ ว หลั ง ที่ ไ ม่ ค วรมี ไ ฟนี ้ อาคารควรให้ อ ยู ่ สู ง พ้ น ระดั บ น�้ า ที่ อ าจจะ
ก็ต้องไม่ต่อสลับกัน โดยให้สังเกตเพิ่มเติมจาก ท่ ว มถึ ง และต้ อ งติ ด ตั้ ง เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว ใน
สีของสายไฟว่า ขั้วสายดิน (G) ที่แสดงไว้ด้วย วงจรด้วย
สัญลักษณ์ นั้น จะต่อด้วยสายสีเขียว หรือ 3.4.9 เมื่อเลิกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่า
สี เ ขี ย วแถบเหลื อ งเท่ า นั้ น หากไม่ ส ามารถ ถอดปลั๊ ก โดยดึ ง ที่ ส ายไฟออกจากเต้ า รั บ
ตรวจสอบได้ อาจจ� า เป็ น ต้ อ งใช้ เ ครื่ อ งมื อ จะท�าให้สายช�ารุดและการต่อสายภายใน
ตรวจสอบที่มีการจัดท�าไว้ส�าหรับตรวจสอบ ปลั๊กหลุดจนเกิดอันตรายได้ ให้ใช้มือจับที่ตัว
ขั้วสายเป็นการเฉพาะ ส�าหรับสีของสายไฟ ปลั๊ ก และระวั ง อย่ า ให้ นิ้ ว แตะถู ก ขาปลั๊ ก
ตามมาตรฐานนั้นเป็นไปตามตารางต่อไปนี้ (กรณีที่ยังมีขาแบนใช้อยู่)

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
31
3.4.10 ห้ า มเสี ย บหรื อ ถอดปลั๊ ก ใน 3.4.14 กรณี ที่ เ ต้ า เสี ย บหรื อ เต้ า รั บ
ขณะที่มือหรือร่างกายเปียกน�้า หรือยืนบน ที่ใช้อยู่เดิมไม่สอดคล้องกับเต้าเสียบหรือ
พื้นที่ชื้นแฉะ เต้ารับใหม่ มีข้อแนะน�าดังนี้
3.4.11 หลีกเลีย่ งการใช้เต้ารับทีเ่ สียบ เต้ำรับเดิมไม่เป็นไปตำมมำตรฐำนใหม่
ปลั๊ ก ได้ พ ร้ อ มกั น หลายตั ว หากหลี ก เลี่ ย ง 3.4.14.1 เต้ารับทีใ่ ช้อยูเ่ ดิมเป็น
ไม่ ไ ด้ ต ้ อ งระมั ด ระวั ง ไม่ ใ ห้ มี ก ารใช้ ไ ฟเกิ น ชนิด 2 รู (ไม่มีสายดิน) เพื่อความปลอดภัย
ขนาดพิกัดของเต้ารับ เพราะอาจท�าให้เกิด ควรเปลี่ ย นไปใช้ เ ต้ า รั บ ตามมาตรฐานใหม่
ไฟไหม้ได้ ทั้งนี้ พิกัดของเต้ารับพ่วงโดยรวม พร้ อ มติ ด ตั้ ง ระบบสายดิ น ให้ ถู ก ต้ อ งตาม
แล้วปกติไม่เกิน 16 แอมป์ มาตรฐาน
3.4.14.2 เต้ารับทีใ่ ช้อยูเ่ ดิมเป็น
ชนิด 3 รู แต่คุณภาพอาจไม่ดี หรือไม่แน่ใจ
ว่ า มี ก ารติ ด ตั้ ง ระบบสายดิ น ถู ก ต้ อ งหรื อ ไม่
ควรติ ด ต่ อ ช่ า งผู ้ ช� า นาญงานหรื อ ช่ า งจาก
การไฟฟ้านครหลวงมาตรวจสอบ ดังนี้
3.4.12 หมั่นตรวจสอบโดยใช้หลังมือ ตรวจสอบการติดตั้งระบบ
สัมผัสฝาครอบของสวิตช์ไฟฟ้า เต้าเสียบ สายดิ น ว่ า มี ก ารต่ อ สายดิ น และใช้ ห ลั ก ดิ น
และเต้ารับอยู่เสมอ ถ้าอุ่นหรือร้อนแสดงว่า อย่างถูกต้องตามมาตรฐานหรือไม่
อาจมีการต่อสายทีไ่ ม่แน่น หรือใช้ไฟเกินขนาด ตรวจสอบสภาพเต้ารับที่ใช้
หากปล่อยทิ้งไว้อาจเกิดไฟไหม้ได้ เดิมว่าปลอดภัยเพียงพอหรือไม่ เช่น หลวม
3.4.13 เต้ า รั บ ที่ ใ ช้ ง านภายนอก เกินไปส�าหรับใช้กับเต้าเสียบขากลมแบบใหม่
อาคารต้องเป็นชนิดที่ทนทานต่อแสงแดด หรือไม่ หากไม่ปลอดภัยควรเปลี่ยนไปใช้เป็น
และป้องกันน�้าฝนสาดได้ และต้องต่อผ่าน เต้ารับตามมาตรฐานใหม่ หรือจัดซื้อเต้ารับ
วงจรของเครื่องตัดไฟรั่ว ซึ่งอาจเป็นที่แผง (Adapter) ที่ เ หมาะสมมาใช้ ง านชั่ ว คราว
สวิตช์ ที่เต้ารับ ที่เต้าเสียบ หรือแบบสาย (ดูขอ้ ควรระวังในการใช้เต้าปรับ ข้อ 3.4.14.8)
พ่วงก็ได้ด้วย

32
3.4.14.3 ถ้าเต้ารับที่ใช้อยู่เดิม การแก้ไข จะต้องเปลีย่ นเต้าเสียบ
เป็นชนิด 3 รู ชนิดแบน และมีการเดินสายดิน หรือเต้ารับให้เป็นชนิดเดียวกัน
ที่ ถู ก ต้ อ ง เมื่ อ จะใช้ เ ต้ า เสี ย บขากลมตาม วิ ธี ที่ ง ่ า ยที่ สุ ด ก็ คื อ เปลี่ ย น
มาตรฐานใหม่ ขอแนะน� า วิ ธี ใ ดวิ ธี ห นึ่ ง ใน เต้าเสียบกลม 3 ขาใหม่ ให้เป็นเต้าเสียบ
3 วิธี คือ เยอรมนีที่มีแถบขั้วสายดินด้านข้าง (มีขาย
เปลี่ยนเต้ารับเป็น 3 รูกลม อยู่ทั่วไป) ตามรูป ท�าให้สามารถเสียบใช้กับ
(กลม-แบน) ตามมาตรฐานใหม่ หรือ เต้ารับเยอรมนีได้
วิธีที่ง่ายคือ เปลี่ยนเต้าเสียบ
เป็นชนิดขาแบน 3 ขา (ต้องระวังไม่ให้นวิ้ สัมผัส สายดิน
ฝรั่งเศส
ขาแบนขณะเสียบ-ถอดปลั๊ก) หรือ
จัดซื้อเต้าปรับ (Adapter) ที่
สายดินเยอรมนี
เหมาะสมมาใช้งานชั่วคราว
3.4.14.4 หากเต้ารับเก่าเป็น เต้ำเสียบเยอรมนี-ฝรั่งเศส
หลุมแบบเยอรมนีชนิด 2 รูกลม และมีสายดิน
(ขั้วสายดินเป็นเขี้ยว 2 เขี้ยวด้านข้าง) ตามรูป

ขั้วสายดิน
เต้ำเสียบเยอรมนี

หากเต้ า เสี ย บเป็ น ชนิ ด จัดหาเต้าปรับ (Adapter) ที่


2 ขากลม ไม่มีสายดิน ก็สามารถเสียบใช้งาน เหมาะสมมาใช้งานชั่วคราว
ได้เลย
หากเต้ า เสี ย บเป็ น ชนิ ด
3 ขากลม แบบใหม่

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
33
เต้ำเสียบ (ปลัก๊ ) เดิมไม่เป็นไปตำมมำตรฐำนใหม่ 2. เปลี่ ย นเต้ า เสี ย บเป็ น ขากลม
3.4.14.5 หากเต้าเสียบเครื่อง 3 ขา ตามมาตรฐานใหม่ (ถ้ามี) หรือ
ใช้ไฟฟ้าเก่ายังเป็นขาแบน (2 ขา หรือ 3 ขา) 3. เปลี่ยนทั้งเต้าเสียบและเต้ารับ
สามารถเสี ย บเข้ า เต้ า รั บ ใหม่ (ชนิ ด กลม- ในกรณีที่ใช้หลายเต้าเสียบอาจหาซื้อเต้ารับ
แบน) ได้เลย (แต่ต้องระมัดระวังไม่ให้นิ้วแตะ เยอรมนีชุด (ถ้ามี) พร้อมเปลี่ยนเต้าเสียบ
ขาปลั๊กขณะเสียบหรือถอดปลั๊ก) ด้วย ดังรูป
3.4.14.6 เต้าเสียบเก่าเป็นแบบ
เยอรมนี (2 ขากลมเปลือย ไม่มีฉนวน แต่มี
สายดินในร่องด้านข้างเต้าเสียบตามรูป)

ขั้วสายดิน เต้าเสียบขาแบน

เต้าเสียบเยอรมนี

L
G
N

รูสา� หรับขาสายดิน

เต้าเสียบชนิดนีแ้ ม้จะมีสายดินและ 4. จัดหาเต้าปรับ (Adapter) ที่


มีใช้อยู่เป็นส่วนใหญ่ แต่เมื่อน�ามาเสียบใช้ เหมาะสมมาใช้งานชั่วคราว
กับเต้ารับ 3 รูใหม่ ก็จะมีปัญหาสายดินไม่ต่อ
ถึงกันตามรูป
การแก้ ไ ข จะต้ อ งเปลี่ ย นที่ ตั ว
เต้าเสียบหรือที่เต้ารับอย่างใดอย่างหนึ่งให้
สามารถเสียบขั้วสายดินเข้าหากันได้
1. วิธที า� ได้งา่ ยคือเปลีย่ นเต้าเสียบ
เยอรมนีเป็นเต้าเสียบขาแบนตามรูปเพื่อให้
สายดินเสียบกับเต้ารับใหม่ได้ (ทั้งนี ้ เต้าเสียบ
เยอรมนีสามารถต่อสลับขั้วระหว่าง L กับ N
ได้ หรือ

34
3.4.14.7 เต้ า เสี ย บเดิ ม เป็ น อันตรายได้การใช้งาน จึงต้องเพิ่มความระมัด
ขากลม 2 ขา ชนิดมีฉนวนที่โคนขา แต่ขนาด ระวังและดูแลมากเป็นพิเศษ
ของขานั้ น ค่ อ นข้ า งเล็ก ตามรูป เต้าเสียบ
ชนิ ด นี้ อ าจมี ป ั ญ หาเสี ย บไม่ แ น่ น กั บ เต้ า รั บ
แบบกลม-แบนที่ ผ ลิ ต ไม่ ไ ด้ ม าตรฐาน มี
ข้อแนะน�าดังนี้ L N N L

จัดหาเต้าปรับ (Adapter) ที่


เหมาะสมมาใช้งานชั่วคราว (เช่น เปลี่ยนเป็น L N
ขาแบน) เพื่อให้สามารถใช้งานได้ N L

2. เต้ า ปรั บ บางประเภทอาจ


เสียบใช้ไฟฟ้าได้ แต่จะมีปัญหาสลับขั้วสายไฟ
ระหว่างสายเส้นไฟ (L) กับสายนิวทรัล (N) เช่น
3.4.14.8 ข้อควรระวังในการใช้ เต้ารับมาตรฐานอังกฤษ กับเต้ารับอเมริกา
เต้าปรับ (Adapter) หรือเต้ารับ มอก. 166-2549 จะมีตา� แหน่งขั้ว
1. เต้ า ปรั บ เป็ น อุ ป กรณ์ ที่ สลับกันดังรูป ส่วนจะมีอันตรายหรือไม่ก็ขึ้น
ออกแบบเพื่ อ อ� า นวยความสะดวกให้ กั บ อยูก่ บั มาตรฐานการออกแบบของผูผ้ ลิตเครือ่ ง
การใช้ ง านเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ในระหว่ า งการ ใช้ไฟฟ้านั้นว่ายอมให้มีการสลับขั้วสาย L, N
เดิ น ทางไปยั ง ต่ า งประเทศที่ มี ม าตรฐาน ได้มากน้อยเพียงใด (ถ้าเป็นขั้วสายดินจะสลับ
เต้าเสียบ-เต้ารับแตกต่างไปจากเครือ่ งใช้ทเี่ รา กับขั้วใดๆ ไม่ได้เลย)
ใช้งานอยู ่ โดยที่เต้าปรับจะเน้นให้สามารถต่อ L
ใช้ ง านเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ได้ เ ป็ น การชั่ ว คราว N
G
ซึ่งอาจจะมีข้อจ�ากัดด้านความปลอดภัย เช่น
การสัมผัสขาปลั๊กขณะเสียบใช้ปลั๊กขาแบน
หรือกรณีเสียบแล้วไม่แน่น เป็นต้น ดังนัน้ การ
ใช้เต้าปรับจึงไม่เหมาะกับการใช้งานอย่าง
ถาวร หรือไม่เหมาะกับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กิน
กระแสไฟสูงๆ หรือให้ความร้อน ซึ่งอาจเกิด
การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
35
3.4.15 ข้อแนะน�าในการต่อปลัก๊ ง. จุ ด ต่ อ สายดิ น ที่ เ ครื่ อ งต้ อ งมี
ที่เครื่องใช้ไฟฟ้าให้มีสายดิน พื้นผิวหน้าสัมผัสที่ดีและแน่นแข็งแรง และ
การต่อสายดินทีเ่ ครือ่ งใช้ไฟฟ้าโดย สามารถทนกระแสลัดวงจรได้โดยไม่หลุดขาด
ขาดความรู้ นอกจากจะไม่ได้ประโยชน์แล้ว จ. ขนาดสายดินที่ใช้ต้องเป็นไป
ยังกลับจะเป็นอันตรายมากยิง่ ขึน้ ดังนัน้ ขอให้ ตามมาตรฐาน หากไม่มีข้อมูลให้ใช้สายดิน
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญก่อนด�าเนินการ ห้ามต่อ ขนาดเท่ากับขนาดสายไฟที่เข้าเครื่อง
สายดินเองโดยเด็ดขาด ฉ. ส� า หรั บ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ ต ่ อ
ปัจจัยส�าคัญที่ต้องค�านึงในการ สายดิ น มาจากผู ้ ผ ลิ ต แล้ ว โดยยั ง ไม่ ไ ด้ ต ่ อ
ต่อสายดินทีเ่ ครือ่ งใช้ไฟฟ้าด้วยตนเองมีดงั นี้ เข้ า หั ว ปลั๊ ก หากตรวจสอบแล้ ว มั่ น ใจตาม
ก. ห้ามต่อสายดินที่เครื่องลงดิน คุณสมบัติข้างต้น ก็สามารถต่อเข้าหัวปลั๊กได้
โดยตรง ต้ อ งต่ อ เป็ น ระบบสายดิ น ลงดิ น ที่ แต่ต้องต่อสายเข้าขั้วให้ถูกต้องตามมาตรฐาน
เมนสวิ ต ช์ ใ ห้ ถู ก ต้ อ งตามมาตรฐานของ ของปลั๊กและสีของสายไฟนั้นๆ
การไฟฟ้าฯ (*อ้างอิงถึงรูปหน้า 96) 3.5 ชุดสำยพ่วง (Cord Extension Sets)
ข. ต้ อ งเป็ น เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ ชุดสายพ่วง ที่มกี ารใช้งานกันมาก
ออกแบบให้ตอ่ สายดินได้จากผูผ้ ลิตทีน่ า่ เชือ่ ถือ ก็คือ ชุดที่ประกอบด้วยสายไฟอ่อนพร้อม
แล้วเท่านัน้ โดยจะต้องมีเครือ่ งหมาย แสดง เต้ า เสี ย บด้ า นหนึ่ ง ประกอบเข้ า กั บ เต้ า รั บ
ให้เห็นที่ตัวเครื่องในต�าแหน่งที่ต้องการให้ต่อ หยิบยกได้แบบเดี่ยวหรือแบบหลายเต้ารับ
หรือมีการต่อสายดินสีเขียวออกมากับเครื่อง ปัจจุบันชุดสายพ่วงต้องเป็นไปตามมาตรฐาน
แล้วเท่านั้น มอก. 2432-2555
ค. ตัวถังโลหะของเครื่องที่สายดิน
ต่ อ อยู ่ ต้ อ งไม่ แ ตะหรื อ ต่ อ สายนิ ว ทรั ล
ที่เครื่องใช้ไฟฟ้า และต้องมีระดับค่าความ
เป็นฉนวน ระหว่างสายนิวทรัล รวมทัง้ สายเส้น
ทีม่ ไี ฟ กับตัวเครือ่ งทีท่ ดสอบแล้วว่ามีคา่ ความ
เป็ น ฉนวนสู ง เพี ย งพอ มิ ฉ ะนั้ น จะท� า ไม่ ไ ด้ ชุดสายพ่วง
(เช่น ค่าความต้านทานฉนวนต้องมีค่าไม่ต�่า
กว่า 0.5 เมกกะโอห์ม เมื่อทดสอบด้วยแรงดัน
ไฟตรง 500 โวลต์ เป็นต้น)

ชุดสายพ่วง

36
เลือกซื้อชุดสายพ่วงอย่างไรจึงปลอดภัย
ชุดสายพ่วงหรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า
ปลั๊กพ่วง เป็นอุปกรณ์ส�าหรับเพิ่มความยาว
ของสายไฟฟ้ า จากเต้ า รั บ ที่ ติ ด อยู ่ กั บ ผนั ง
ไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อเพิ่มความสะดวกใน
การใช้งาน ปัจจุบันมีการใช้ชุดสายพ่วงกัน
อย่างแพร่หลายในเกือบทุกครัวเรือน ทัง้ ยังหา ที่ อ ยู ่ อ าศั ย และงานทั่ ว ไป ที่ มี จุ ด ประสงค์
ซื้ อ ได้ ง ่ า ยและมี ใ ห้ เ ลื อ กหลายรู ป แบบตาม คล้ายกัน ชุดสายพ่วง มาตรฐานเลขที่ มอก.
ความชอบและวั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการใช้ ง าน 2432-2555 เป็นมาตรฐานบังคับ โดยมีผล
แต่ รู ้ ห รื อ ไม่ ว ่ า สาเหตุ ห นึ่ ง ของไฟฟ้ า บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2561
ลัดวงจร ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดเพลิงไหม้ เป็นต้นมา เป็นผลให้ผู้ผลิต ผู้น�าเข้า และ
ส่วนใหญ่มาจากชุดสายพ่วงที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้จ�าหน่าย ต้องผลิต น�าเข้า และจ�าหน่ายชุด
ท�ามาจากวัสดุที่มีคุณภาพต�่า เช่น ชิ้นส่วน สายพ่ ว งที่ ไ ด้ รั บ ใบอนุ ญ าตและแสดง
โลหะที่ เ ป็ น จุ ด สั ม ผั ส ของปลั๊ ก เสี ย บท� า จาก เครื่องหมายมาตรฐานจาก สมอ. เท่านั้น
ทองเหลืองที่บางมากหรือท�ามาจากเหล็กชุบ เลือกซือ้ ชุดสายพ่วงทีม่ เี ครือ่ งหมาย มอก.
ทองเหลือง ซึ่งเมื่อใช้งานไประยะหนึ่งมักเกิด ดีอย่างไร
การหลวมคลอนของเต้ารับ ท�าให้กระแสไฟฟ้า 1. ปลอดภั ย ต่ อ ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น
เดินไม่สะดวก เกิดความร้อนสูงขณะใช้งาน เนื่ อ งจากชุ ด สายพ่ ว งที่ ไ ด้ ม าตรฐานจะมี
ท� า ให้ เ กิ ด การลุ ก ไหม้ ล ามไปติ ด ส่ ว นที่ เ ป็ น อุปกรณ์ป้องกันกระแสไฟเกิน ท�าให้ไม่เกิด
พลาสติก กระแสไฟฟ้าลัดวงจร ซึ่งเป็นเหตุของการเกิด
นอกจากนี้ อ าจมี ก ารใช้ ส ายไฟฟ้ า ที่ มี เพลิงไหม้
ขนาดเล็ ก หรื อ คุ ณ ภาพต�่ า ซึ่ ง ไม่ ส ามารถ 2. ประหยัดค่าใช้จา่ ย เพราะชุดสายพ่วง
ทนต่อการใช้งานกับเครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีม่ กี า� ลังไฟ ที่ได้มาตรฐานจะมีอายุการใช้งานยืนยาวไม่
สูงได้ หรือใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายเครื่องใน ต้องเปลี่ยนบ่อยครั้ง เพราะใช้สินค้าไม่ได้
เวลาเดียวกัน ท�าให้มีความร้อนที่สายไฟฟ้า มาตรฐาน
เป็นเหตุให้ฉนวนไฟฟ้าเกิดการหลอมละลาย 3. คุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น ไปตาม
ลุกไหม้และลุกลามไปเป็นต้นเหตุของการเกิด มาตรฐานที่ก�าหนด เพราะ สมอ. จะตรวจ
เพลิงไหม้ตามมา รวมถึงไม่มีอุปกรณ์ช่วยใน ติดตามระบบการผลิตสม�่าเสมอ
การตัดกระแสไฟเกิน 4. ประหยัดเวลาในการเลือกซือ้ เพราะ
ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ผลิตภัณฑ์ที่ได้ มอก. ผ่านการตรวจสอบจาก
หรือ สมอ. จึงได้ก�าหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ สมอ. แล้ว ท�าให้มั่นใจได้ทันที
อุตสาหกรรมเต้าเสียบและเต้ารับส�าหรับใช้ใน

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
37
ข้อแนะน�าในการใช้ชุดสายพ่วง นั้นไปเสียบอยู่ด้วย (พิกัดกระแสเต้ารับปกติ
เพื่ อ ความปลอดภั ย ควรเลื อ กใช้ จะไม่เกิน 16 A หรือคิดเทียบเท่าการใช้ไฟรวม
เต้ารับชนิดที่มีตัวปิดช่อง (Shutter) ป้องกัน กันประมาณ 2,600 W)
วัสดุอนื่ แหย่เข้าไปในรูของเต้ารับด้วย หากไม่มี ชุ ด สายพ่ ว งนั้ น ออกแบบมาให้ ใ ช้
ก็ควรหาซือ้ หมุดพลาสติกมาอุดช่องเต้ารับทีไ่ ม่ ส�าหรับงานชั่วคราวเท่านั้น ไม่ได้ออกแบบมา
ได้มีการใช้งานด้วย ให้ใช้งานแบบติดตัง้ ถาวร ดังนัน้ ห้ามน�าไปติด
สายไฟส�าหรับชุดสายพ่วงต้องเป็น ตั้งหรือเดินสายพาดไปกับผนังห้อง เพดาน ใต้
ชนิด 3 สาย เพื่อให้สอดคล้องกับเต้ารับชนิด พืน้ ใต้พรม หรือบริเวณทางเดินเท้า สายไฟจะ
3 รู ที่มีสายดิน และเต้าเสียบที่ใช้ก็ต้องมีขั้ว ช�ารุด เกิดไฟไหม้ได้
สายดินชนิดขา 3 ขาด้วย (ห้ามหักขั้วสายดิน ห้ามพาดสายไฟผ่านประตู เพดาน
ทิง้ ) ดังนัน้ หากมีเพียง 2 สาย หรือใช้เต้าเสียบ หน้าต่าง รูผนัง บานพับประตูของตู ้ หรือกล่อง
ไม่มีสายดิน นอกจากจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆ หรือกระท�าการใดๆ ที่จะท�าให้สายไฟได้รับ
ด้านความปลอดภัย เนือ่ งจากไม่มกี ารต่อลงดิน แรงบีบ แรงกดทับ เช่น การใช้หมุดยิง (Staple)
แล้ว ยังอาจเกิดอันตรายจากไฟฟ้าดูด จากการ หรือตะปู เพราะสายไฟจะช�ารุด เกิดไฟรัว่ หรือ
เข้าใจผิด เมื่อมีการตัดสวิตช์ผิดขั้ว (ไฟสวิตช์ ลัดวงจร ท�าให้เกิดไฟไหม้ได้ง่าย หากมีความ
ดับแต่มีไฟมา) เนื่องจากเต้าเสียบมีเพียง 2 ขา จ�าเป็นจริงๆ ให้ใช้ได้ชวั่ คราว แต่ตอ้ งมีผคู้ วบคุม
จึงสามารถเสียบสลับขั้วได้ ดูแล และต้องเสริมเพื่อป้องกันสายไฟมิให้
ขั้วของเต้าเสียบและเต้ารับต้องต่อ ช�ารุดเสียหายในต�าแหน่งของสายที่จะถูกทับ
อย่างถูกต้อง มิฉะนั้นอาจถูกไฟฟ้าดูดเป็น และให้ถอดออกทันทีเมื่อเลิกใช้งาน
อันตรายได้ ให้ตรวจสอบการต่อขัว้ ทีถ่ กู ต้องได้ สายไฟส�าหรับชุดสายพ่วงควรต้องมี
ตามวิธีการตรวจสอบการต่อขั้วของเต้ารับ ฉนวน 2 ชั้น และห้ามใช้งานหากพบว่าฉนวน
ข้างต้น เปลือกนอกมีร่องรอยแตกหรือถลอก ห้ามใช้
ขั้นตอนการใช้ชุดสายพ่วงที่ถูกต้อง สายไฟที่มีการซ่อมหรือพันด้วยเทป เนื่องจาก
คือเสียบเครือ่ งใช้ไฟฟ้าเข้ากับชุดสายพ่วงก่อน ไม่ปลอดภัย
โดยที่ต้องดูให้แน่ว่าไม่ได้เปิดสวิตช์เครื่องใช้ ห้ามใช้ชดุ สายพ่วงในสถานทีอ่ นั ตราย
ไฟฟ้านั้นอยู่แล้วจึงเสียบจ่ายไฟเข้ากับชุดสาย สถานที่ไวไฟ หรือที่ที่มีฝุ่นผงที่อาจเกิดระเบิด
พ่วง ได้
ชุดสายพ่วงทีม่ เี ต้ารับหลายตัวนัน้ จะ เนือ่ งจากขณะใช้งานสายพ่วงจะเกิด
ต้องระวังมิให้กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการใช้ ความร้อนสะสมในสายไฟ ขนาดพิกัดกระแส
งานรวมกันเกินกว่าขนาดพิกดั กระแสของชุด ไฟฟ้าของชุดสายพ่วงจึงก�าหนดตามสภาพการ
สายพ่วงและไม่เกินขนาดพิกัดกระแสของ ใช้งานทีส่ ายไฟถูกคลีอ่ อกในแนวตรงและในที่
เต้ารับติดผนังที่นา� เต้าเสียบของชุดสายพ่วง ทีม่ อี ากาศเปิด ดังนัน้ หากมีการใช้งานในขณะ

38
ทีส่ ายขดเป็นม้วนหรือขมวดเป็นปมหรืออยูใ่ น ไฟรั่วทุกครั้ง
ที่ที่ไม่สามารถถ่ายเทอากาศได้ดี จะเป็นการ ห้ามน�าชุดสายพ่วงไปใช้กบั เครือ่ งใช้
จ�ากัดหรือลดขนาดพิกัดกระแสไฟฟ้าของสาย ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน เพราะมักจะกินไฟเต็ม
ไฟลง ซึ่งอาจท�าให้เกิดความร้อนสูงเกิน สาย พิกดั ขนาดของสายและเกิดความร้อนสูงได้งา่ ย
ไฟเสียหายและเกิดไฟไหม้ได้ เช่น เตาไฟฟ้าชนิดต่างๆ เตาไมโครเวฟ เป็นต้น
ห้ามน�าชุดสายพ่วงหลายชุดมาต่อ หากจ�าเป็นต้องใช้ ต้องตรวจสอบขนาดกินไฟ
อนุกรมไปใช้งานไกลๆ เนื่องจากจะท�าให้เกิด ว่ า ไม่ เ กิ น พิ กั ด ของชุ ด สายพ่ ว งและให้ ใ ช้
ความร้อนเกินในชุดสายพ่วง รวมทั้งมีแรงดัน ชัว่ คราวเท่านัน้ และเลือกใช้ชนิดทีส่ ายสัน้ ทีส่ ดุ
ไฟตกปลายทางด้วย ทั้งนี ้ เนื่องจากขนาดของ ด้วย (ถ้าสายยาวจะเพิ่มความร้อนของสาย)
สายไฟของชุดสายพ่วงมักจะถูกก�าหนดด้วย ชุ ด สายพ่ ว งที่ มี สั ญ ลั ก ษณ์ มอก.
ความยาวของสายไฟ เช่น ชุดสายพ่วงที่มี เลขที่ 11-2553 อาจเข้าใจผิดว่าสินค้านั้น
ความยาวมากต้องใช้สายไฟที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ได้มาตรฐาน ซึง่ ทีจ่ ริงแล้วมาตรฐาน มอก. 11-
เป็นต้น 2553 เป็นมาตรฐานของสายไฟฟ้าเท่านัน้ มิใช่
ในกรณี ที่ ต ้ อ งเดิ น สายไกลให้ ใ ช้ ชุ ด มาตรฐานของเต้าเสียบ-เต้ารับแต่อย่างใด
สายพ่วงชนิดสายยาวทีม่ ตี วั น�าโตจะเหมาะสม สรุปหลักการส�าคัญในการเลือกซื้อชุดสาย
กว่า พ่วงที่ได้มาตรฐานมีข้อสังเกต ดังนี้
ขนาดสายไฟที่แนะน�าให้ใช้กับชุด 1. สั ง เกตว่ า มี เ ครื่ อ งหมายมาตรฐาน
สายพ่วงขนาดพิกดั 10, 16 A. นัน้ ควรใช้สายไฟ มอก. บนผลิตภัณฑ์ แสดงถึงผลิตภัณฑ์ได้มกี าร
ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดตัง้ แต่ 0.75, 1.0 ตร.มม. ขึน้ รับรองคุณภาพได้ตามมาตรฐาน
ไป ส�าหรับความยาวสายไฟ 2-5 เมตร และใช้ 2. ทีเ่ ต้ารับมีตวั ปิดช่องและมีขวั้ สายดิน
ขนาด 1.0 และ 1.5 ตร.มม. ส�าหรับความยาว เพื่อป้องกันเด็กเอานิ้วมือแหย่รูปลั๊ก
สาย 30 เมตร เป็นต้น 3. เต้าเสียบต้องเป็นแบบขากลม 3 ขา
ถ้าสังเกตว่า เมือ่ ใช้งานแล้วเกิดความ ซึ่ ง เป็ น เต้ า เสี ย บสองขั้ ว พร้ อ มขั้ ว สายดิ น
ร้อน แสดงว่ามีความไม่ปลอดภัยเกิดขึน้ แล้ว ให้ มีฉนวนกันกระแสไฟฟ้าที่โคนขาปลั๊กไฟ เพื่อ
หยุดใช้งานทันที ป้องกันการสัมผัสโดนขาปลั๊กไฟ
การเก็บรักษาชุดสายพ่วงให้เก็บใน 4. เต้ารับและเต้าเสียบต้องเสียบพอดี
ที่ร่ม อย่าทิ้งไว้ภายนอก หรือปล่อยให้ถูกกับ กัน ไม่แน่น และไม่หลวม
แสงแดดซึ่งจะท�าให้วัสดุเสื่อมสภาพ 5. มีอปุ กรณ์ปอ้ งกันกระแสไฟเกินในชุด
เมื่อไม่ได้ใช้งาน ให้ปิดสวิตช์และ สายพ่วงที่มีเต้ารับตั้งแต่ 3 ตัวขึ้นไป
ต้องถอดปลัก๊ (เต้าเสียบ) ของชุดสายพ่วงออก 6. สวิ ต ช์ ป ิ ด -เปิ ด เพื่ อ ป้ อ งกั น ไฟ
ทุกครั้ง กระชากจากการถอดปลั๊ ก เต้ า เสี ย บ เป็ น
เมื่อใช้งานภายนอกอาคาร หรือที่ อุปกรณ์เสริม ซึ่งจะมีหรือไม่มีก็ได้
ชื้นแฉะ ต้องมีการป้องกันวงจรด้วยเครื่องตัด
การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
39
4. เครื่องตัดไฟรั่ว และสำยดิน

4.1 เครื่องตัดไฟรั่ว
เครื่องตัดไฟรั่ว

ไฟเข้ำ
เครื่องใช้ไฟฟ้ำ
ไฟออก

4.1.1. เครื่องตัดไฟรั่วคืออะไร 4.1.2 . ประโยชน์ของเครื่องตัดไฟรั่ว


เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว หรื อ ที่ รู ้ จั ก กั น ว่ า ป้องกันอันตรายจากไฟดูด (ตัด
“เครือ่ งกันไฟดูด” คือเครือ่ งตัดไฟฟ้าอัตโนมัติ ไฟรั่วที่ไหลผ่านร่างกาย)
ที่ท�าหน้าที่ป้องกันอันตราย โดยตัดไฟที่ไหล ป้องกันอัคคีภัย (ตัดไฟรั่วที่ไหล
ผ่านตัวมัน ในกรณีที่พบว่ามีกระแสไฟฟ้าบาง ลงดินที่อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือสายไฟฟ้า ในกรณี
ส่วนรั่วหายไป คือไม่ไหลย้อนกลับไปตามสาย ที่เครื่องป้องกันกระแสเกิน เช่น ฟิวส์หรือ
ไฟของการไฟฟ้า แต่กลับมีไฟรั่วไหลไปที่อื่น เบรกเกอร์ไม่ท�างาน หรือท�างานช้าเนื่องจาก
เช่น รั่วไหลลงไปในดินโดยผ่านร่างกายมนุษย์ ปริมาณกระแสไฟฟ้ารั่วมีค่าต�่า หากปล่อยทิ้ง
เมื่อมีการสัมผัสไฟ หรือรั่วผ่านฉนวนที่ช�ารุด ไว้อาจท�าให้เกิดอัคคีภัยได้)
ของอุปกรณ์ไฟฟ้า เป็นต้น เครือ่ งตัดไฟรัว่ อาจ 4.1.3. ประเภทเครื่องตัดไฟรั่ว
มีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก เช่น เครื่องตัดกระแส เครื่องตัดไฟรั่วจะมีอยู่หลายประเภท
ไฟฟ้ารั่วลงดิน (ELCB, GFCI) เครื่องตัด ในที่นี้ขอแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
กระแส (เศษ) เหลือ (RCD, RCCB, RCBO)
เป็นต้น RCBO = Residual Current Circuit Breaker
with Overcurrent Protection

RCCB = Residual Current Circuit Breaker


(without Overcurrent Protection)

40
เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว ที่ ตั ด กระแส ไม่ ค วรติ ด ตั้ ง เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว
ลัดวงจรได้ (RCBO) สามารถใช้ตดั ได้ทงั้ ไฟรัว่ ธรรมดา (ขนาด 30 mA) เพียงตัวเดียวป้องกัน
และกระแสสลับวงจร รวมทุกวงจรทีเ่ มนสวิตช์ เพราะอาจจะมีปญ ั หา
เครื่องตัดไฟรั่วที่ไม่สามารถตัด เครื่องตัดท�างานบ่อย แล้วในที่สุดก็ไม่อาจ
กระแสลัดวงจร (RCCB) จึงต้องใช้ร่วมกับ ใช้เครื่องตัดไฟรั่วตัวนั้นได้ ปัญหาดังกล่าวจะ
ฟิวส์หรือเบรกเกอร์ด้วยทุกครั้ง มากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั สภาพการเดินสายและ
4.1.4. คุ ณ สมบั ติ แ ละการใช้ ง านของ การติดตั้งใช้งานของเครื่องใช้ไฟฟ้า หรือมี
เครื่องตัดไฟรั่ว อุปกรณ์ที่ตามปกติมีกระแสไฟรั่วลงดินมาก
เครือ่ งตัดไฟรัว่ ทีใ่ ช้ปอ้ งกันไฟดูดต้อง เช่น อุปกรณ์ปอ้ งกันฟ้าผ่า, เครือ่ งปรับอากาศ,
มีคุณสมบัติและการใช้งานดังนี้ อุ ป กรณ์ ที่ มี โ อกาสเปี ย กชื้ น เป็ น ต้ น กรณี
เครื่องตัดไฟรั่วที่ใช้ป้องกันไฟดูด เช่นนีจ้ ะต้องแยกป้องกันด้วยเครือ่ งตัดไฟรัว่ ใน
ต้องมีพกิ ดั ขนาดกระแสไฟฟ้ารัว่ ไม่เกิน 30 mA แต่ละวงจร หรือป้องกันเฉพาะวงจรที่จ�าเป็น
และต้องตัดไฟได้ภายในระยะเวลา 0.04 วินาที ในทางปฏิ บั ติ อ าจต้ อ งตรวจสอบปริ ม าณ
เมื่อมีไฟรั่วขนาด 5 เท่าของพิกัด (= 150 mA) กระแสไฟรั่วในแต่ละวงจรด้วยเครื่องตรวจวัด
และต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. 2425- กระแสไฟรั่ว ถ้าวงจรใดมีไฟรั่วมากเป็นปกติ
2552 หรือ มอก. 909-2548 ต้องใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีพิกัดไฟรั่วสูงขึ้น เช่น
ขนาด 100, 300 หรือ 500 mA ป้องกันเฉพาะ
ในวงจรนั้นๆ
การติดตัง้ เครือ่ งตัดไฟรัว่ ส�าหรับใช้
ป้องกันรวมทุกวงจรที่เมนสวิตช์ (ขนาด 100,
300 หรื อ 500 mA) ร่ ว มกั บ การติ ด ตั้ ง
ระบบสายดิ น จะช่ ว ยเป็ น มาตรการเสริ ม
ส� าหรับป้องกันอัคคีภัยจากการใช้ไฟฟ้าได้
เครือ่ งตัดไฟรัว่ ควรติดตัง้ ควบคูไ่ ป อีกชั้นหนึ่ง โดยที่ขนาด 30 mA นั้นก็ยังคงใช้
กับการติดตัง้ ระบบสายดิน (ดูรายละเอียดเรือ่ ง ป้องกันในแต่ละวงจรย่อย และหากมีปัญหา
สายดิน) และควรติดตั้งใช้งานในวงจรไฟฟ้า การท� า งานพร้ อ มกั น ให้ เ ลื อ กชนิ ด ที่ มี ก าร
เฉพาะจุด เช่น วงจรเต้ารับชัน้ ล่าง วงจรเต้ารับ หน่วงเวลา (Type S) ส�าหรับเครื่องตัดไฟรั่วที่
ในครัว, ห้องน�า้ (เครื่องท�าน�า้ อุ่น), ห้องเด็กๆ เมนสวิตช์
หรื อ วงจรเต้ า รั บ /สายไฟที่ ต ่ อ ไปใช้ ง าน
ภายนอกอาคารทั้งชั่วคราวและถาวร เช่น ไฟ
ที่ใช้ในสวน สนามหญ้า หน้าประตูบ้าน กริ่ง
หน้าบ้าน ปั๊มสูบน�า้ บ่อเลี้ยงปลา การก่อสร้าง
ซ่อมแซม เป็นต้น
การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
41
เมื่ อ ติ ด ตั้ ง ร่ ว มกั บ ระบบสายดิ น 4.1.6 ข้ อ แนะน� า ในการตรวจสอบเมื่ อ
ต�าแหน่งที่มีการต่อลงดินต้องอยู่ด้านไฟเข้า เครื่องตัดไฟรั่วท�างาน
ของเครื่องตัดไฟรั่วเสมอ ทุกครั้งที่เครื่องตัดไฟรั่วท�างานตัดไฟ
4.1.5 เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเครื่องตัดไฟรั่ว แสดงว่าได้มไี ฟรัว่ ในส่วนใดส่วนหนึง่ ของวงจร
ที่มีอยู่ปลอดภัย ไฟฟ้าเกิดขึ้นแล้ว จึงมีความจ�าเป็นต้องตรวจ-
เราสามารถตรวจสอบว่าเครือ่ งตัดไฟรัว่ สอบสาเหตุเพื่อการแก้ไขต่อไป ซึ่งขอแนะน�า
ที่มีอยู่จะท�างานได้อย่างปลอดภัยได้หรือไม่ วิธีตรวจสอบดังนี้
ดังนี้ ตรวจสอบว่ า เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว ที่
ควรมี ก ารติ ด ตั้ ง พร้ อ มกั บ ติ ด ตั้ ง ท�างานนั้นจ่ายไฟบริเวณใดบ้าง
ระบบสายดิน (ดูรายละเอียดเรื่องสายดิน) ตรวจสอบและสอบถามผูเ้ กีย่ วข้อง
ควรมีการติดตัง้ เข้าสายอย่างถูกต้อง ว่าขณะเกิดเหตุมีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอะไร
การต่อสายที่ไม่ถูกต้อง เครื่องจะไม่ท�างาน บ้าง
สายไฟที่ เ ข้ า และออกต้ อ งไม่ ร วมสายดิ น แจ้งให้ทกุ คนทีเ่ กีย่ วข้องทราบเพือ่
ต�าแหน่งของการต่อลงดินต้องอยู่ก่อนด้านไฟ ปิดและงดจ่ายไฟเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เกี่ยวข้อง
เข้าของเครื่องตัดไฟรั่ว ทั้งหมด
การกดปุม่ ทดสอบเป็นประจ�าเป็น สั บ จ่ า ยไฟเครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว แล้ ว
เพี ย งการทดสอบว่ า กลไกลการตั ด วงจรยั ง จ�าลองการใช้ไฟ โดยการทดลองจ่ายไฟเครื่อง
สามารถท�างานได้เท่านั้น (ไม่สามารถบอกได้ ใช้ไฟฟ้าที่มีการใช้ไฟทีละเครื่อง โดยสังเกตว่า
ว่าติดตั้งถูกต้องหรือไม่ สามารถตัดได้ไวหรือ เมื่อมีการตัดไฟเกิดขึ้น แสดงว่ามีไฟรั่วกับ
ไม่) เครื่องใช้เครื่องสุดท้ายที่มีการจ่ายไฟนั้น
การตรวจสอบการท�างานต้องตรวจ ในทางปฏิบัติหากจ�าเป็นอาจต้อง
ด้วยเครือ่ งตรวจสอบการท�างานของเครือ่ งตัด ใช้เครื่องตรวจสอบกระแสไฟฟ้ารั่ว (Leakage
ไฟรั่ว (RCD Tester) ว่าสามารถตัดไฟรั่วได้ Current Tester) ลักษณะเป็นเครือ่ งวัดกระแส
ภายในระยะเวลาที่ก�าหนดหรือไม่ แบบคล้องสายไฟทีส่ ามารถวัดไฟรัว่ ได้ละเอียด
เป็นมิลลิแอมป์ หรือไมโครแอมป์
ข้อสังเกตอื่นๆ เพิ่มเติม
ตรวจสอบว่ า มี ฝ นตกหรื อ
น�้าท่วมที่ท�าให้เครื่องใช้ไฟฟ้าหรือสายไฟฟ้า
เก่าๆ เปียกน�้า ชื้น หรือไม่ ซึ่งมักจะท�าให้เกิด
ไฟรั่วได้

42
เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว มั ก จะไวกั บ 4.2.2 ประโยชน์ของสายดิน
สั ญ ญาณคลื่ น ฟ้ า ผ่ า โดยไม่ ต ้ อ งมี ไ ฟรั่ ว กั บ 4.2.2.1 ป้ อ งกั น ไฟฟ้ า ดู ด เมื่ อ มี
เครื่องใช้ไฟฟ้าก็ได้ จึงต้องตรวจสอบว่าขณะ กระแสไฟฟ้ารั่วจากเครื่องใช้ไฟฟ้า
เกิดเหตุมีเหตุการณ์ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า การท�างานของสายดินอาจเป็นไปได้
หรือไม่ ใน 3 ระดับคือ
ผนั ง ที่ ชื้ น เนื่ อ งจากฝนตกก็ กรณีกระแสไฟรั่วมีปริมาณมาก
อาจท�าให้สายไฟเก่าๆ ทีพ่ าดกับผนังมีไฟรัว่ ได้ (ไฟรั่วไม่ผ่านความต้านทาน) เช่น สายเส้นที่
เช่นกัน มีไฟไปแตะกับตัวถังโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้า
4.2 สำยดิน ที่ มี ก ารต่ อ ลงดิ น ผ่ า นทางเต้ า เสี ย บ-เต้ า รั บ
4.2.1 สายดินคืออะไร เป็นต้น หน้าที่ของสายดินในกรณีนี้คือ ท�าให้
สายดิน คือสายไฟที่ออกแบบไว้เพื่อ เกิดการลัดวงจร (กระแสฯ มีค่าสูงมาก) และ
ให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นเส้นทางให้กระแสลัดวงจรไหลกลับจาก
สายไฟเส้นดังกล่าวปลายด้านหนึง่ จะต้องมีการ ตั ว ถั ง ของเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ไปยั ง สายนิ ว ทรั ล
ต่อลงดิน ปลายอีกด้านหนึ่งจะต่อเข้ากับส่วน ของการไฟฟ้าผ่านทางสายดินได้โดยสะดวก
ที่ เ ป็ น โลหะของวั ต ถุ ห รื อ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ (สายดินต่อกับสายนิวทรัลที่เมนสวิตช์) ขณะ
ต้องการให้มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์เท่ากับพื้นดิน เดี ย วกั น สายดิ น ก็ จ ะช่ ว ยรั ก ษาแรงดั น ของ
หมายเหตุ สายดิ น โดยทั่ ว ไปจะมี ตัวถังไม่ให้สงู จากดินมาก และหน้าทีท่ สี่ า� คัญก็
สองชนิ ด คื อ 1. สายดิ น เพื่ อ ให้ ท� า งานได้ คื อ การที่ ท� า ให้ เ ครื่ อ งป้ อ งกั น กระแสเกิ น ที่
(Functional Earthing Conductor) เป็นสายดิน เมนสวิตช์หรือในวงจรย่อยท�าหน้าทีต่ ดั กระแส
ชนิดที่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องความปลอดภัย มี ลัดวงจรได้อย่างรวดเร็ว
ไว้เพียงเพื่อให้เครื่องใช้ไฟฟ้าท�างานได้ และ ถ้าไม่มีสายดิน ผู้ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า
2. สายดินป้องกัน (Protective Earthing จะได้รับอันตรายจากไฟฟ้าดูดทันทีเมื่อสัมผัส
Conductor) ที่มีไว้เพื่อให้เกิดความปลอดภัย เครื่องใช้ไฟฟ้า
ในการใช้ไฟฟ้า สายดินที่กล่าวถึงทั้งหมดใน ถ้ามีเครื่องตัดไฟรั่ว แต่ไม่มีสายดิน
เอกสารนี้จะหมายถึงเฉพาะ สายดินป้องกัน เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว จะท� า งานได้ ก็ ต ่ อ เมื่ อ มี ผู ้ ไ ป
โดยจะเรียกสั้นๆ ว่า สายดิน สัมผัสไฟที่รั่ว ท�าให้ไฟรั่วไหลผ่านร่างกาย
ลงดินเสียก่อน (ท่านต้องถูกไฟดูดก่อน เครื่อง
จึงจะตัด) เนื่องจากไฟรั่วไหลลงสายดินไม่ได้
(ไม่มีสายดิน)

สัญลักษณ์สายดิน

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
43
ถ้ า มี ส ายดิ น และมี เ ครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว กรณีกระแสไฟรั่วปริมาณน้อย
ร่วมอยู่ด้วย เครื่องตัดไฟรั่วก็จะช่วยท�างาน ชนิดทีไ่ ม่เป็นอันตราย (ไฟรัว่ โดยการเหนีย่ วน�า
ตัดไฟทันทีที่มีการรั่วเกิดขึ้น (เพราะมีไฟรั่ว ประมาณ 0-5 mA) เป็นไฟรั่วจากการใช้งาน
ไหลลงสายดิน) โดยไม่จ�าเป็นต้องรอให้มีผู้ไป ปกติที่เกิดจากการเหนี่ยวน�าทางไฟฟ้าภายใน
สัมผัสไฟให้ถูกดูดเสียก่อน ดังนั้น การมีเครื่อง เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ไม่ได้เกิดจากฉนวนเสือ่ มสภาพ
ตัดไฟรั่วร่วมอยู่ด้วยสามารถป้องกันอันตราย หรือช�ารุด แต่ก็ท�าให้ผู้ใช้เกิดความร�าคาญ
ได้อีกชั้นหนึ่ง (ตัดได้ไวกว่าเครื่องตัดกระแส ที่สัมผัสแล้วจะรู้สึกว่ามีไฟดูดเล็กน้อย ซึ่งมัก
ลัดวงจร) จะเป็ น กั บ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ประเภทที่ 1 ที่
กรณี ก ระแสไฟรั่ ว มี ป ริ ม าณ ออกแบบมาให้ต้องต่อสายดินแต่ผู้ใช้ไฟฟ้าไม่
ปานกลาง (ไฟรั่วผ่านความต้านทาน) ไฟรั่ว ต่อสายดิน ดังนั้น การมีสายดินจะสามารถ
จากฉนวนเสื่ อ มช� า รุ ด หรื อ จากความชื้ น ป้องกันไฟดูดในกรณีนไี้ ด้อย่างสมบูรณ์ เครือ่ ง
หรื อ รั่ ว ผ่ า นวั ส ดุ ห รื อ สั ต ว์ ที่ ไ ปแตะสายเส้ น ตัดไฟรั่วเพียงอย่างเดียวไม่สามารถแก้ปัญหา
ไฟ แล้วมาแตะที่ตัวถัง เป็นต้น กรณีนี้จะ นี้ได้
มี ค ่ า กระแสไฟรั่ ว ปานกลาง ไม่ ม ากถึ ง กั บ 4.2.2.2 เพื่อให้มีแรงดันอ้างอิงเป็น
เกิ ด กระแสลั ด วงจร กระแสไฟรั่ ว จึ ง ไม่ สู ง ศูนย์เท่ากับพื้นดิน การต่อลงดินของระบบ
เพียงพอที่จะท�าให้เครื่องป้องกันกระแสเกิน ไฟฟ้าและของเครื่องใช้ไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้า
ตัดได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น การมีสายดินอย่าง จะป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ได้ รั บ ความ
เดียวจึงไม่สามารถป้องกันไฟดูดในกรณีนไี้ ด้ เสียหายหากเกิดแรงดันผิดปกติขึ้นในระบบ
ด้วยตัวเอง ซึ่งในกรณีนี้การมีเครื่องตัดไฟรั่ว ไฟฟ้า (กรณีเช่นเดียวกับการป้องกันฟ้าผ่า)
อย่างเดียว โดยไม่มสี ายดิน เครือ่ งก็จะไม่ทา� งาน 4.2.2.3 เพือ่ ลดอันตรายอันเนือ่ งจาก
เช่นเดียวกัน (จนกว่าจะมีผู้ถูกไฟดูดเสียก่อน) แรงดั น สั ม ผั ส ที่ เ กิ ด จากการสั ม ผั ส ไฟรั่ ว ที่
แต่ถา้ มีการติดตัง้ เครือ่ งตัดไฟรัว่ ร่วมกับสายดิน เครื่องใช้ไฟฟ้า
ทั้ ง สองส่ ว นจะช่ ว ยเสริ มการท� างานได้เป็น 4.2.2.4 เพือ่ การท�างานทีส่ มบูรณ์ของ
อย่างดี โดยไฟจะรั่วลงสายดินแทนที่จะรั่ว เครื่องใช้ไฟฟ้าบางประเภท เช่น คอมพิวเตอร์
ผ่านคนที่ไปจับ ซึ่งจะช่วยให้เครื่องตัดไฟรั่ว เครื่องเสียง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์
ท�างานปลอดภัยมากยิ่งขึ้น (การท�างานเช่น สื่อสารที่อาจท�างานได้ไม่สมบูรณ์ หรือช�ารุด
เดียวกับกรณีไฟรั่วมากข้างต้น) ได้ง่ายหากไม่มีสายดิน เป็นต้น

44
4.2.3 เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ประเภทใดบ้ า งที่ เครื่องใช้นั้นผลิตไม่ได้มาตรฐาน และจ�าเป็น
ต้องมีสายดิน ต้องมีสายดิน) ตัวอย่างของเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทที่ต้องมี ประเภท 2 เช่น วิทยุ, โทรทัศน์, พัดลม เป็นต้น
สายดิน : เต้าเสียบที่ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2
เครื่องใช้ไฟฟ้ารวมทั้งอุปกรณ์ติดตั้ง ตามมาตรฐาน มอก. 166-2549 จะเป็ น
ทางไฟฟ้าที่มีโครงหรือเปลือกหุ้มเป็นโลหะ 2 ขากลมมีฉนวนหุ้ม (ดูในเรื่องเต้าเสียบ-
ซึ่งบุคคลมีโอกาสสัมผัสได้ และมีโอกาสเกิด เต้ารับ)
ไฟฟ้ารั่ว ต้องมีสายดิน เช่น ตู้เย็น, เตารีด, ข. เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 3 ได้แก่
เครื่องซักผ้า, หม้อหุงข้าว, เครื่องปรับอากาศ, เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ ใ ช้ กั บ แรงดั น ไฟฟ้ า ไม่ เ กิ น
เตาไมโครเวฟ, กระทะไฟฟ้า, กระติกน�้าร้อน 50 โวลต์ โดยต่อจากหม้อแปลงชนิดพิเศษ
ไฟฟ้า, เครื่องท�าน�้าร้อนหรือน�้าอุ่น, เครื่อง ที่ ไ ด้ อ อกแบบไว้ เ พื่ อ ความปลอดภั ย เช่ น
ปิ้งขนมปัง เป็นต้น เราเรียกเครื่องใช้ไฟฟ้า เครือ่ งโกนหนวด, โทรศัพท์ เป็นต้น สัญลักษณ์
เหล่านี้ว่าเป็น เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 1 ที่ใช้ ได้แก่
เต้าเสียบที่ใช้กับเครื่องใช้ประเภท 1 4.2.4 สัญลักษณ์และสีของสายดิน
ตามมาตรฐาน มอก. 166-2549 จะเป็นแบบ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีเครื่องหมาย
3 ขากลม (ดูในเรื่องเต้าเสียบ-เต้ารับ) แสดงว่าต้องมีสายดิน โดยมักจะแสดงไว้ใน
เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทที่ไม่ต้องมี ต�าแหน่งหรือจุดที่จะต้องต่อสายดิน และสี
สายดิน ของสายไฟฟ้าเส้นที่แสดงว่าเป็นสายดินคือ
ก. เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2 ซึ่งมี สีเขียว สีเขียวแถบเหลือง
สั ญ ลั ก ษณ์ หรื อ มี เ ครื่ อ งหมาย (เพื่ อ
ความมั่นใจอาจใช้ไขควงลองไฟทดสอบโลหะ
สายไฟส�าหรับ สีของสายไฟ
ที่สัมผัสได้บนเครื่องใช้ไฟฟ้า ถ้ามีสัญลักษณ์ (มอก. 11-2553)
ประเภท 2 แล้ว แต่ยังมีไฟรั่วอยู่ ก็แสดงว่า
ขั้วที่มีไฟ L น�้าตาล
ขั้วนิวทรัล N ฟ้า (น�้าเงิน)
ขั้วสายดิน G หรือ E หรือ เขียวแถบเหลือง

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
45
4.2.5 วิธีติดตั้งระบบสายดินที่ถูกต้อง แล้วให้แก้ไขโดยมีการต่อลงดินที่เมนสวิตช์
1. จุดต่อลงดินของระบบไฟฟ้า (จุด อย่างถูกต้องแล้วเดินสายดินจากเมนสวิตช์
ต่อลงดินของเส้นศูนย์หรือนิวทรัล) ต้องอยู่ มาต่อร่วมกับสายดินที่ใช้อยู่เดิม
ด้ า นไฟเข้ า ของเครื่ อ งตั ด วงจรตั ว แรกของ 6. ไม่ควรใช้เซอร์กิตเบรกเกอร์ชนิด
ตู้เมนสวิตช์ 120/240 V กับระบบไฟ 230 V เพราะพิกดั IC
2. ภายในอาคารหลังเดียวกันไม่ควร จะลดลงประมาณครึ่งหนึ่ง
มีจุดต่อลงดินมากกว่า 1 จุด 7. การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว จะ
3. สายดิ น และสายเส้ น ศู น ย์ ต ้ อ ง เสริมการป้องกันไฟฟ้าดูดให้สมบูรณ์แบบ
ต่อร่วมกันที่จุดต่อลงดินภายในตู้เมนสวิตช์ ยิ่งขึ้น เช่น กรณีที่มักจะมีน�้าท่วมขังหรือ
(ดูข้อยกเว้นส�าหรับห้องชุด อาคารชุด) และ กรณีสายดินขาด เป็นต้น และจุดต่อลงดิน
ห้ามต่อร่วมกันในที่อื่นๆ อีก อาทิ ในแผง ต้องอยู่ด้านไฟเข้าของเครื่องตัดไฟรั่วเสมอ
สวิ ต ช์ ย ่ อ ย ขั้ ว สายศู น ย์ ต ้ อ งมี ฉ นวนกั้ น 8. ถ้าตู้เมนสวิตช์ไม่มีขั้วต่อสายดิน
แยกจากตัวกล่อง ส่วนขั้วต่อสายดินกับตัวตู้ และขัว้ ต่อสายเส้นศูนย์แยกออกจากกัน เครือ่ ง
จะต่อถึงกันและต่อลงสายดิน ซึ่งขั้วสายศูนย์ ตัดไฟรั่วจะต่อใช้ได้เฉพาะวงจรย่อยเท่านั้น
และขั้วสายดินจะไม่มีการต่อถึงกัน จะไม่สามารถใช้ตัวเดียวป้องกันทั้งบ้านได้
4. ตู ้ เ มนสวิ ต ช์ ส� า หรั บ ห้ อ งชุ ด ของ 9. วงจรสายดินที่ถูกต้องในสภาวะ
อาคารชุ ด และตู ้ แ ผงสวิ ต ช์ ป ระจ� า ชั้ น ของ ปกติจะต้องไม่มีกระแสไฟฟ้าจากการใช้ไฟ
อาคารชุดให้ถือว่าเป็นแผงสวิตช์ย่อย ห้ามต่อ ปกติไหลอยู่
สายเส้นศูนย์และสายดินร่วมกัน 10. ถ้าเดินสายไฟในท่อโลหะ จะต้อง
5. ไม่ควรต่อโครงโลหะของเครื่องใช้ เดิ น สายดิ น ในท่ อ โลหะนั้ น ด้ ว ย (ห้ า มเดิ น
ไฟฟ้าลงดินโดยตรง แต่ถ้าได้ด�าเนินการไป สายดินนอกท่อโลหะ)

46
11. ดวงโคมไฟฟ้าและอุปกรณ์ติดตั้ง 12. ขนาดและชนิดของอุปกรณ์ระบบ
ที่ เ ป็ น โลหะต้ อ งมี ก ารติ ด ตั้ ง ระบบสายดิ น สายดินต้องเป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้ง
มิฉะนั้นต้องอยู่เกินระยะที่บุคคลทั่วไปสัมผัส ทางไฟฟ้าส�าหรับประเทศไทย
ไม่ถึง (สูง 2.40 เมตร หรือห่าง 1.50 เมตร
ในแนวราบ)

(Exothermic Welding)

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
47
4.2.6 ท�าไมจึงต้องมีการต่อสายดินเข้ากับ สัมผัส (Touch Voltage) ที่สายดินขณะมี
สายเส้นศูนย์ (นิวทรัล) ที่ตู้เมนสวิตช์ ไฟรั่วจึงสูงขึ้นตามและเกิดอันตรายได้
เพื่อให้ระบบสายดินท�างานได้อย่าง หน้าสัมผัสจุดต่อต่างๆ รวมทั้ง
สมบูรณ์ ท�าให้กระแสลัดวงจรทีไ่ หลลงสายดิน ความต้านทานที่หลักดินจะเสื่อมสภาพโดย
สามารถไหลย้ อ นกลั บ ไปหม้ อ แปลงของ ถาวร
การไฟฟ้าฯ ทางสายเส้นศูนย์ได้อีกทางหนึ่ง ข้อแนะน�าในการแก้ไข
อีกทัง้ เป็นเส้นทางทีไ่ หลได้สะดวกกว่าการไหล ก. แก้ ไ ขโดยติ ด ตั้ ง หลั ก ดิ น ที่ ไ ด้
ลงดินเส้นทางเดียว ท�าให้กระแสลัดวงจรมีค่า มาตรฐานเพิม่ ทีต่ เู้ มนสวิตช์และต่อเข้ากับสาย
สูงและเครื่องตัดกระแสลัดวงจร (เบรกเกอร์ ศูนย์ที่ตู้เมนสวิตช์ให้ถูกต้อง
หรือฟิวส์) สามารถตัดไฟออกได้อย่างรวดเร็ว ข. ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว เพื่ อ เสริ ม
4.2.7 หากต่ อ สายดิ น ลงดิ น โดยตรงที่ การท�างาน
เครื่องใช้ หรือไม่ต่อสายดินเข้ากับสายเส้น 4.2.8 ท�าไมจึงห้ามต่อสายดินเข้ากับสาย
ศูนย์ที่เมนสวิตช์ จะมีผลเสียอย่างไร และ เส้นศูนย์ที่ตู้แผงสวิตช์ย่อย
ควรท�าอย่างไร การต่อสายดินเข้ากับสายเส้นศูนย์
ผลเสี ย คื อ กระแสไฟรั่ ว จะไหลย้ อ น ที่ตู้แผงสวิตช์ย่อย จะท�าให้สายดินและสาย
กลับลงทางหลักดินเส้นทางเดียว หากกระแส เส้นศูนย์ทุกเส้นในบ้านต่อถึงกันหมด และ
ไฟรั่ ว มี ป ริ ม าณเล็ ก น้ อ ย เช่ น จากการ เมื่อมีการใช้ไฟฟ้าที่จ่ายไฟจากแผงย่อย จะมี
เหนี่ยวน�าก็จะไม่มีปัญหา แต่ในกรณีที่มีไฟรั่ว กระแสไฟไหลกลับในเส้นศูนย์และในสายดิน
ค่ า ปานกลางถึ ง ค่ า มากในลั ก ษณะของการ ที่ ต ่ อ รวมกั น อยู ่ มี ผ ลท� า ให้ ส ายดิ น ทุ ก เส้ น
ลัดวงจรผ่านหรือไม่ผ่านความต้านทานนั้น รวมทั้งตัวถังโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
กระแสไฟรั่วจะไหลลงดินได้ไม่สะดวก ท�าให้ ที่เสียบใช้อยู่มีแรงดันไฟฟ้าเนื่องจากมีกระแส
เครื่องตัดกระแสลัดวงจรจะท�างานช้าหรือไม่ ไฟฟ้าไหลผ่านแรงดันไฟฟ้าดังกล่าวจะสูงกว่า
ท�างาน ท�าให้มีกระแสเกินในวงจรไหลอยู่เป็น ดิน และมีขนาดขึ้นอยู่กับกระแสไฟ ขนาด
เวลานาน ซึ่งจะมีผลเสียดังนี้ สายดิน และความต้านทานการต่อลงดิน จึง
สายไฟและจุดต่อต่างๆ จะเกิด ถือว่าเป็นการต่อสายดินที่ไม่ปลอดภัย
ความร้อน และเกิดอัคคีภัยได้ง่าย กรณีนี้จะต่างจากกรณีการต่อร่วมกัน
กระแสและความร้อนท�าให้ดิน ที่ตู้เมนสวิตช์ที่เป็นจุดที่มีการต่อลงดิน ท�าให้
รอบหลักดินเปลี่ยนสภาพและแข็งตัว ความ สายดินในบ้านมีแรงดันเท่ากับดิน ซึง่ ในการใช้
ต้านทานที่หลักดินจะเพิ่มสูงขึ้นมาก แรงดัน ไฟฟ้าปกติจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในสายดิน

48
4.2.9 เครื่องตัดไฟรั่วกับสายดินอย่างไหน
จะดีกว่ากัน
สายดิน เป็นความจ�าเป็นอันดับ เครือ่ งตัดไฟรัว่ ในระบบไฟทีไ่ ม่มี
แรกที่ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องมีส�าหรับป้องกันไฟฟ้า สายดิน เครื่องตัดไฟรั่วจะท�างานก็ต่อเมื่อ
ดูด เพือ่ ให้กระแสไฟฟ้ารัว่ ไหลลงระบบสายดิน มีไฟรั่วไหลผ่านร่างกายแล้ว (ต้องถูกไฟดูด
ได้โดยสะดวก โดยไม่ผ่านร่างกาย (ไฟไม่ดูด) ก่ อ น) ดั ง นั้ น ความปลอดภั ย จึ ง ขึ้ น อยู ่ กั บ
และท�าให้เครื่องตัดไฟอัตโนมัติตัดไฟออกได้ ความไวในการตัดกระแสไฟฟ้า และสภาพ
ทันที ความแข็งแรงของผู้ถูกไฟฟ้าดูด
เครื่องตัดไฟรั่ว เมื่อใช้กับระบบ ระบบไฟฟ้าที่ดีจึงควรมีทั้งระบบ
ไฟที่ มี ส ายดิ น จะเป็ น มาตรการเสริ ม ความ สายดิ น และเครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว เพื่ อ เสริ ม การ
ปลอดภัยอีกชัน้ หนึง่ เพือ่ ให้มกี ารตัดไฟรัว่ ก่อน ท�างานซึ่งกันและกันให้เกิดความปลอดภัย
ทีจ่ ะเป็นอันตรายกับระบบไฟฟ้า (ไฟไหม้) หรือ ทั้งจากอัคคีภัยและการถูกไฟฟ้าดูด
กับมนุษย์ (ไฟดูด)

ระบบปัจจุบัน ข้อแนะน�ำเพื่อควำมปลอดภัย
ถ้าไม่มีสายดินหรือเครื่องตัดไฟรั่ว ต้องมีระบบสายดิน + เครื่องตัดไฟรั่วในสถานที่จ�าเป็น*
ถ้ามีเครื่องตัดไฟรั่วอยู่แล้ว ต้องมีระบบสายดิน
ถ้ามีระบบสายดินอยู่แล้ว ต้องมีเครื่องตัดไฟรั่วในสถานที่จา� เป็น*

หมายเหตุ * สถานที่จ�าเป็น ได้แก่


วงจรไฟฟ้าที่จ่ายไฟให้กับเต้ารับชั้นล่าง
บริเวณที่เกี่ยวข้องกับน�้า เช่น ห้องน�้า (เครื่องท�าน�้าอุ่น)
ห้องครัว อ่างล้างหน้าและมือ สระว่ายน�้า ปั๊มสูบน�้า บ่อเลี้ยงปลา เป็นต้น
การใช้ไฟฟ้านอกอาคาร ทั้งชั่วคราวและถาวร เช่น ในสวน สนามหญ้า
โรงรถ กริง่ หน้าบ้าน การก่อสร้าง การซ่อมแซมต่างๆ เป็นต้น
อื่นๆ เช่น สถานที่มีเด็กเล็ก เป็นต้น

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
49
4.3 หลักดิน เนื้อดิน เพื่อไม่ให้เหล็กเป็นสนิม และต้องไม่มี
4.3.1 ท�าไมต้องมีหลักดิน การเจาะรูเพื่อยึดทองแดงกับเหล็กให้ติดกัน
หลักดินเป็นองค์ประกอบที่ส�าคัญของ มิฉะนั้นแท่งเหล็กจะเป็นสนิมตามรูที่เจาะนั้น
ระบบสายดินดังนี้ ห้ า มใช้ อ ะลู มิ เ นี ย มหรื อ โลหะผสม
เป็นอุปกรณ์ปลายทางที่จะท�าหน้าที่ ของอะลูมิเนียมเป็นหลักดิน เนื่องจากผุกร่อน
สัมผัสกับพื้นดิน ได้ง่าย
เป็นส่วนทีจ่ ะท�าให้สายดินหรืออุปกรณ์ หลักดินที่ดีควรผ่านการทดสอบตาม
ที่ต่อลงดินมีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์เท่ากับดิน มาตรฐาน UL-467
เป็นเส้นทางไหลของประจุไฟฟ้า หรือ การต่ อ สายดิ น เข้ า กั บ หลั ก ดิ น นั้ น
กระแสไฟฟ้าที่จะไหลลงสู่ดิน หัวต่อ, หลักดิน และสายต่อหลักดินควรใช้วสั ดุ
เป็น ตัว ก�า หนดคุณภาพ อายุความ ชนิดเดียวกันเพื่อไม่ให้มีปัญหาการกัดกร่อน
ทนทาน และความปลอดภัยของระบบการ เช่น หลักดินทองแดงต่อกับสายต่อหลักดินท�า
ต่อลงดินในระยะยาว ด้วยทองแดง วิธีที่ดีที่สุดควรใช้วิธีเชื่อมต่อ
4.3.2 คุณสมบัติของหลักดิน และการ ด้ ว ยการเผาผงทองแดงให้ ห ลอมละลาย
ติดตั้งที่ถูกต้อง (ต้องเทผงจุดชนวนให้อยู่ผิวด้านบนและจุด
หลั ก ดิ น ต้ อ งท� า ด้ ว ยวั ส ดุ ที่ ท นต่ อ การ ด้วยประกายไฟจากปืนจุดชนวนเท่านัน้ เพราะ
ผุกร่อนและไม่เป็นสนิม เช่น แท่งทองแดง ไม่สามารถจุดด้วยวิธีอื่นได้) ถ้าใช้หัวต่อที่ยึด
แท่งเหล็กชุบหรือหุ้มด้วยทองแดง ขนาดเส้น ด้วยแรงกลก็ต้องใช้หัวต่อที่มีส่วนผสมของ
ผ่าศูนย์กลาง 16 มม. (5/8 นิ้ว) และยาว ทองแดง และต้องต่ออย่างมั่นคงแข็งแรงและ
ไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร ถ้าเป็นเหล็กหุ้มด้วย ทนต่อการกัดกร่อนได้เป็นอย่างดี ตัวอย่าง
ทองแดง ต้องมีความหนาของทองแดงไม่ต�่า ของหัวต่อชนิดต่างๆ ตามรูป ทัง้ นี ้ หัวต่อแต่ละ
กว่า 0.25 มม. และต้องหุ้มอย่างแนบสนิท ชนิดควรต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน
ยึดติดเป็นเนื้อเดียวกันโดยไม่หลุดออกจาก UL-467 ด้วย
กัน และไม่มีปลายเหล็กโผล่ออกมาสัมผัสกับ หลั ก ดิ น ที่ ดี เ มื่ อ ตอกลงดิ น แล้ ว ต้ อ ง
มีความต้านทานการต่อลงดินไม่เกิน 5 โอห์ม
ตามมาตรฐานการติ ด ตั้ ง ทางไฟฟ้ า ส� า หรั บ
ประเทศไทย
เนื้ อ ดิ น บริ เ วณที่ ต อกหลั ก ดิ น ที่ ดี
ความเป็นดินแท้ๆ และต้องไม่ถูกกั้นหรือล้อม
รอบด้วยหิน, กรวด, ทราย หรือแผ่นคอนกรีต
เพราะอุปสรรคต่อการแพร่กระจายของประจุ
ไฟฟ้าลงสู่ดิน ท�าให้ความต้านทานการต่อลง

50
ดินมีคา่ สูงเกินกว่ามาตรฐาน (ในกรณีทใี่ ช้หลัก ขนาดของสายต่อหลักดินจะขึน้ อยูก่ บั
ดินตามมาตรฐาน และสภาพพื้นที่และเนือ้ ดิน ขนาดของสายเมน และต้องไม่เล็กกว่า 10
ไม่ เ ป็ น อุ ป สรรคในดิ นแล้ว ความต้านทาน ตร.มม. โดยควรมีท่อหรือฉนวนหุ้มอยู่ด้วย
การต่ อ ลงดิ น ในเขตบริ ก ารของการไฟฟ้ า การตอกหลักดินควรตอกให้ลึกที่สุด
นครหลวงจะไม่เกิน 5 โอห์มเสมอโดยไม่ต้อง และถ้าเป็นหัวต่อหลักดินชนิดยึดด้วยแรงกล
ตรวจวัด) ก็ควรให้หัวต่อโผล่พ้นดิน เพื่อหลีกเลี่ยงการ
ห้ามใช้ตะปูคอนกรีตตอกเข้าไปใน ผุกร่อนของหัวต่อ และสามารถตรวจสอบได้
ผนังหรือพืน้ คอนกรีตแทนหลักดิน เพราะตะปู ง่าย
คอนกรี ต ไม่ ส ามารถกระจายกระแสไฟฟ้ า หัวต่อชนิดหลอมละลายสามารถตอก
ลงดินเมื่อมีไฟรั่วได้ หลักดินสั้นๆ ขนาด 1 ฟุต ให้จมดินได้ แต่ตอ้ งใช้สายต่อหลักดินทีม่ เี กลียว
ที่ ใ ช้ ส� า หรั บ อุ ป กรณ์ สื่ อ สารก็ ไ ม่ ส ามารถใช้ เส้นใหญ่ และหุ้มฉนวนมิดชิดเพื่อไม่ให้สาย
เพื่อความปลอดภัยนี้ได้ ซึ่งย่อมไม่สามารถ เกลียวผุกร่อน
เทียบได้กับหลักดินมาตรฐานยาว 2.40 เมตร
เพื่อการต่อลงดินที่ดีได้ หลักดินยิ่งยาวจะตอก
ได้ลึกและยิ่งให้ความต้านทานดินที่ตา�่
ต�าแหน่งของหลักดินควรอยู่ใกล้กับ
ตู้เมนสวิตช์
ห้ามแช่หลักดินในน�้า เพราะเมื่อมีไฟ
รั่วจะแพร่กระจายไปกับน�้าและเกิดอันตราย
กับผู้ที่อยู่ในน�้า ถ้าจ�าเป็นต้องตอกหลักดินใน
น�้ า ต้ อ งตอกให้ มิ ด ดิ น และสายต่ อ หลั ก ดิ น
ก็ต้องหุ้มฉนวนให้มิดชิดด้วย

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
51
5. กำรใช้ไฟฟ้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพ
และปลอดภัย ส�ำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ำทั่วไป

หลักในกำรเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้ำ
การประหยั ด ไฟฟ้ า ต้ อ งเริ่ ม จากการ 2. มีความเหมาะสมในการใช้งานหรือไม่
พิ จ ารณาเลื อ กซื้ อ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า อย่ า งมี 3. สะดวกในการใช้สอย คงทน ปลอดภัย
หลั ก เกณฑ์ ซึ่ ง ข้ อ แนะน� า ต่ อ ไปนี้ จ ะเป็ น หรือไม่
เครื่องช่วยประเมินคุณค่าของเครื่องใช้ไฟฟ้า 4. ภาระการติดตั้งและค่าบ�ารุงรักษา
ที่จะซื้อ ก่อนตัดสินใจควรพิจารณาดังนี้ 5. พิจารณาคุณภาพ ค่าใช้จ่าย อายุ
1. ควรทราบว่าเครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีพ่ บเห็น ใช้งาน ประเมินออกมาเป็นตัวเงินด้วย
นั้นกินไฟมากน้อยเพียงไร
ปริมำณกำรกินไฟ (ก�ำลังไฟฟ้ำ) ของเครื่องใช้ไฟฟ้ำประเภทต่ำงๆ
เครื่องใช้ไฟฟ้ำ ก�ำลังไฟฟ้ำ (วัตต์)
พัดลมตั้งพื้น 20 - 75
พัดลมเพดาน 70 - 100
โทรทัศน์ขาว-ด�า 28 - 150
โทรทัศน์สี 80 - 180
เครื่องเล่นวิดีโอ 25 - 50
ตู้เย็น 7-10 คิว 70 - 145
หม้อหุงข้าว 450 - 1,500
หม้อหุงต้มไฟฟ้า 200 - 1,500
หม้อชงกาแฟ 200 - 600
เตาไมโครเวฟ 100 - 1,000
เครื่องปิ้งขนมปัง 800 - 1,000
เครื่องท�าน�า้ อุ่น/ร้อน 2,500 - 12,000
เครื่องเป่าผม 400 - 1,000
เตารีดไฟฟ้า 750 - 2,000
เครื่องซักผ้าแบบมีเครื่องอบผ้า 3,000
เครื่องปรับอากาศ 1,200 - 3,300
เครื่องดูดฝุ่น 750 - 1,200
มอเตอร์จักรเย็บผ้า 40 - 90

52
กำรคิดค่ำกระแสไฟฟ้ำ
ตัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัยประเภท 1.2
สมมติในเดือนเมษายน 2558 ผู้ใช้ไฟฟ้าใช้ไฟฟ้า 500 หน่วย
1. ค่าไฟฟ้าฐาน
1.1 ค่าพลังงานไฟฟ้า
150 หน่วยแรก 150 x 2.7628 เป็นเงิน 414.42 บาท
250 หน่วยต่อไป 250 x 3.7362 เป็นเงิน 934.05 บาท
เกิน 400 หน่วยต่อไป (500-400) x 3.9361 เป็นเงิน 393.61 บาท
รวมค่าไฟฟ้าฐาน เป็นเงิน 1,742.08 บาท
Ft ทีเ่ รียกเก็บเพิม่ จากค่าไฟฟ้าฐานประจ�าเดือนเมษายน 2558 = 58.96 สตางค์ตอ่ หน่วย
2. ค่าไฟฟ้าผันแปร = 500 x (58.96/100) เป็นเงิน 294.80 บาท
รวมค่าไฟฟ้าฐานและค่าไฟฟ้าผันแปร เป็นเงิน 2,036.88 บาท
3. ค่าบริการ (บาท/เดือน) เป็นเงิน 38.22 บาท
รวมค่าไฟฟ้าฐาน และค่าไฟฟ้าผันแปร และค่าบริการ เป็นเงิน 2,075.10 บาท
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ร้อยละ 7 เป็นเงิน 145.25 บาท
รวมค่าไฟฟ้าทั้งสิ้น เป็นเงิน 2,220.357 บาท

5.1 ไฟฟ้ำแสงสว่ำง
ข้อแนะน�าการใช้งาน
1. ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์แทนหลอดไส้ 2. หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดพิเศษ
หลอดฟลูออเรสเซนต์ หรือที่ชาวบ้าน (หลอดซูปเปอร์)
เรียกกันว่า “หลอดนีออน” ลักษณะเป็นหลอด เป็นหลอดทีก่ นิ ไฟเท่ากับหลอดผอม แต่
ยาว มีขนาด 18 วัตต์ และ 36 วัตต์ หรือชนิด ให้ก�าลังส่องสว่างมากกว่าหลอดทั่วๆ ไป เช่น
ขดเป็นวงกลมมีขนาด 32 วัตต์ (หลอดชนิดนี้ หลอดผอมธรรมดาขนาด 36 วัตต์ จะให้ความ
จะให้ แ สงสว่ า งมากกว่ า หลอดไส้ ป ระมาณ สว่างประมาณ 2,600 ลูเมน (lm) แต่หลอด
4-5 เท่า ถ้าใช้ปริมาณไฟฟ้าขนาดเท่ากัน อายุ ซูปเปอร์ให้ความสว่างถึง 3,300 ลูเมน (lm)
การใช้งานของหลอดฟลูออเรสเซนต์จะนาน ซึ่งจะท�าให้สามารถลดจ�านวนหลอดที่ใช้ลงได้
กว่าหลอดไส้ประมาณ 7 เท่า)

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
53
3. หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ 3.1 หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายใน
(หลอดตะเกียบ) ที่ เ รี ย กว่ า หลอดประหยั ด ไฟ เป็ น หลอด
หมายถึงหลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาดเล็ก ฟลูออเรสเซนต์ที่ย่อขนาดลง มีบัลลาสต์และ
ที่ ไ ด้ มี ก ารพั ฒ นาเพื่ อ ให้ เ กิ ด การประหยั ด สตาร์ทเตอร์รวมอยู่ภายในหลอด สามารถน�า
พลังงาน โดยใช้แทนหลอดไส้ได้ มีอายุการ ไปใช้แทนหลอดไส้ชนิดหลอดเกลียวได้ทันที
ใช้งานมากกว่าหลอดไส้ 8-10 เท่า และใช้ โดยไม่ต้องเพิ่มอุปกรณ์ใดๆ มีอยู่หลายขนาด
ไฟฟ้าน้อยกว่าหลอดไส้ โดยจะประหยัดไฟได้ คือ 9 W, 11 W, 13 W, 15 W, 18 W, 20 W
75-80% (เนื่องจากอายุของหลอดขึ้นอยู่กับ ตั ว อย่ า งเปรี ย บเที ย บกั บ หลอดไส้ ธ รรมดา
สภาพการติดตัง้ เช่น การระบายความร้อนและ เป็นดังนี้
แรงดันไฟฟ้าด้วย) ปัจจุบนั มี 2 ประเภทคือ

ให้แสงสว่ำง
เท่ำกับหลอดไส้
9 W 40 W
13 W 60 W
18 W 75 W
25 W 100 W
หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายใน
3.2 หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายนอก หลอดช�ารุด ตัวหลอดมีลักษณะงอโค้งเป็น
หลักการใช้งานเช่นเดียวกับหลอดคอมแพค รู ป ตั ว ยู (U) ภายในขั้ ว ของหลอดจะมี
บัลลาสต์ภายใน แต่หลอดคอมแพคบัลลาสต์ สตาร์ทเตอร์อยู่ภายใน และมีบัลลาสต์อยู่
ภายนอกสามารถเปลี่ ย นหลอดได้ ง ่ า ยเมื่ อ ภายนอก มีหลายขนาดคือ
ให้แสงสว่ำง
เท่ำกับหลอดใส้
5 W 25 W
7 W 40 W
9 W 60 W
11 W 75 W
หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายนอก

54
4. หลอด LED คือสารกึง่ ตัวน�าไฟฟ้าทีย่ อม ดังนัน้ จ�านวนหลอดไฟทีใ่ ช้และการกินไฟของ
ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านแล้วปล่อยแสงสว่าง หลอดผอมจะน้อยกว่าหลอดประหยัดไฟ
ออกมาได้ ในปัจจุบนั หลอด LED ถูกพัฒนาขึน้ 3. หมั่นท�าความสะอาดขั้วหลอดและ
มามากจนสามารถใช้เป็นหลอดไฟส่องสว่างได้ ตัวหลอดไฟ รวมทั้งโคมไฟและโป๊ะไฟต่างๆ
หลากหลายรูปแบบแตกต่างกันไป ไม่วา่ จะเป็น
หลอดไฟรถยนต์, หลอดไฟโทรศัพท์มือถือ,
หลอดไฟฉาย, ป้ายไฟ เป็นต้น ในส่วนของทีอ่ ยู่
อาศัยสามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้
3 ชนิด ได้แก่ หลอดไฟ LED ใช้ภายในอาคาร,
หลอดไฟ LED ใช้ภายนอกอาคาร และหลอด
ไฟ LED ตกแต่ง

ข้ อ ควรปฏิ บั ติ เ พื่ อ การประหยั ด ไฟฟ้ า


แสงสว่าง มีดังนี้
1. ปิดสวิตช์ไฟเมื่อไม่ใช้งาน 4. ผนั ง ห้ อ งหรื อ เฟอร์ นิ เ จอร์ อ ย่ า ใช้
2. ในบริเวณทีไ่ ม่จา� เป็นต้องใช้แสงสว่าง สีคล�้าๆ ทึบๆ เพราะสีพวกนี้จะดูดแสง ท�าให้
มากนัก เช่น เฉลียง ทางเดิน ห้องน�้า ควรใช้ ห้องดูมดื กว่าห้องทีท่ าสีออ่ นๆ เช่น สีขาว หรือ
หลอดที่มีวัตต์ต�่า โดยอาจใช้หลอดคอมแพค สีขาวนวล
บัลลาสต์ภายใน เนื่องจากมีประสิทธิภาพการ 5. เลือกใช้โคมไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง
ให้แสง ลูเมน/วัตต์ (lm/W) สูงกว่าหลอดไส้ ซึง่ มีแผ่นสะท้อนแสงท�าด้วยอะลูมเิ นียมเคลือบ
และดีกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาดไม่เกิน โลหะเงิน จะสามารถลดจ�านวนหลอดไฟลงได้
18 วัตต์ด้วย โดยแสงสว่างยังคงเท่าเดิม
ส�าหรับบริเวณที่ต้องการแสงสว่างปกติ 6. เลื อ กใช้ ไ ฟฟ้ า ตั้ ง โต๊ ะ ในบริ เ วณที่
นั้ น หลอดผอมขนาด 36 วั ต ต์ จะมี ต้องการแสงสว่างเฉพาะแห่ง เช่น อ่านหนังสือ
ประสิทธิภาพการให้แสง (ลูเมน/วัตต์) สูงกว่า 7. ให้ใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟฟ้าควบคู่
หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายในทั่วๆ ไปไม่ กั บ หลอดฟลู อ อเรสเซนต์ โดยบั ล ลาสต์
ต�า่ กว่า 10% และยิง่ มีประสิทธิภาพการให้แสง ประหยัดไฟมี 2 แบบคือ
มากขึ้น ถ้าเป็นหลอดผอมชนิดซูปเปอร์และ
ใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟร่วมด้วย

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
55
7.1 แบบแกนเหล็กประหยัดไฟฟ้า ประโยชน์ของบัลลาสต์ประหยัดไฟฟ้า
(Low-Loss Magnetic Ballast) บั ล ลาสต์ ธ รรมดากิ น ไฟประมาณ
7.2 แบบอิเล็กทรอนิกส์ (Elec- 10-12 วั ต ต์ บั ล ลาสต์ ป ระหยั ด ไฟกิ น ไฟ
tronic Ballast) ประมาณ 3-6 วัตต์
บั ล ลาสต์ ธ รรมดามี ป ระสิ ท ธิ ผ ล
การส่องสว่าง 95-110% บัลลาสต์ประหยัดไฟ
มีค่าประสิทธิผลการส่องสว่าง 95-150%
การใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟช่วยให้
เกิดความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากมี
อุณหภูมขิ ณะท�างานไม่เกิน 75 องศาเซลเซียส
ในขณะทีบ่ ัลลาสต์ธรรมดามีความร้อนจากขด
ลวดและแกนเหล็กถึง 110-120 องศาเซลเซียส
8. ในการเลือกซื้อหลอดไฟโดยเฉพาะ บัลลาสต์ประหยัดไฟมีอายุการใช้
หลอดฟลูออเรสเซนต์นั้น ให้สังเกตปริมาณ งานมากกว่าแบบธรรมดา 1 เท่าตัว แม้ราคา
การส่องสว่าง (ลูเมน หรือ lm) ที่กล่องด้วย จะสูงกว่าบัลลาสต์แบบธรรมดา
เนื่องจากในแต่ละรุ่นจะมีค่าลูเมนไม่เท่ากัน
ส่งผลให้มรี าคาแตกต่างกัน เช่น หลอดผอม 36
หรือ 40 วัตต์ จะให้แสงประมาณ 2,000-
2,600 ลูเมน หลอดชนิดซูปเปอร์จะให้แสง
3,300 ลูเมน หลอดประหยัดไฟขนาด 11 วัตต์
(หลอดคอมแพคขนาด 11 วัตต์ หรือหลอด
ตะเกี ย บ) จะให้ แ สงประมาณ 500-600
ลูเมน เป็นต้น นอกจากนี้จะต้องค�านึงถึงการ
กินไฟภายในบัลลาสต์ด้วย ซึ่งบัลลาสต์แกน
เหล็ ก ธรรมดาจะกิ น ไฟมาก ส่ ว นบั ล ลาสต์
อิเล็กทรอนิกส์จะกินไฟน้อยมาก

56
ค�าแนะน�าด้านความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า 8. หลอดไฟที่ ข าดแล้ ว ควรใส่ ไ ว้ ต าม
แสงสว่าง เดิมจนกว่าจะเปลี่ยนหลอดใหม่
1. เมื่ อ จะเปลี่ ย นหลอดควรดั บ หรื อ 9. หลอดไฟขนาดเล็กที่ใช้ให้แสงสว่าง
ปลดวงจรไฟฟ้าแสงสว่างนั้น ตามทางเดินตลอดคืนซึ่งใช้เสียบกับเต้ารับ
2. สังเกตบัลลาสต์ว่ามีกลิ่นเหม็นไหม้ นั้น อาจมีปัญหาเสียบไม่แน่นจนเกิดความ
หรือรอยเขม่าหรือไม่ ร้อนและไฟไหม้ได้ นอกจากนี้วัสดุที่ใช้มักมี
3. ถ้าเป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ไม่ควร คุณภาพต�่า ไม่ทนทานต่อความร้อน จึงไม่
ปล่อยให้ไฟกะพริบอยู่เสมอ หรือหัวหลอด แนะน�าให้ใช้ หรือเสียบทิง้ ไว้โดยไม่มผี คู้ นดูแล
แดงโดยไม่สว่าง เพราะอาจเกิดอัคคีภัยได้ หากจะใช้ก็ไม่ควรมีวัสดุติดไฟได้อยู่ใกล้ๆ
4. ขั้วหลอดต้องแน่นและไม่มีรอยไหม้ 10. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ
ที่พลาสติกขาหลอด เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
5. ไม่ น� า วั ส ดุ ที่ ติ ด ไฟง่ า ย เช่ น ผ้ า
กระดาษ ปิดคลุมหลอดไฟฟ้า
6. ถ้ า หลอดขาดหรื อ ช� า รุ ด บ่ อ ย ให้
ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าว่าสูงผิดปกติหรือไม่
ถ้าพบว่าผิดปกติให้รบี แจ้งการไฟฟ้านครหลวง
ทันที
7. ถ้าโคมไฟเป็นโลหะและอยู่ในระยะ
ที่จับต้องได้ควรติดตั้งสายดินด้วย มิฉะนั้น
จะต้องเป็นประเภทฉนวน 2 ชั้น

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
57
5.2 โทรทัศน์ ค� า แนะน� า ด้ า นความปลอดภั ย ในการใช้
ประเภทของเครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น์ แ บ่ ง โทรทัศน์
ออกเป็น 2 ประเภทคือ โทรทัศน์ขาว-ด�า 1. ควรติ ด ตั้ ง เสาอากาศให้ มั่ น คง
และโทรทั ศ น์ สี ซึ่ ง มี 2 ชนิ ด คื อ ชนิ ด ที่ มี
แข็งแรง แล้วยึดด้วยลวดไม่ตา�่ กว่า 3 จุด เพื่อ
รี โ มตคอนโทรล กั บ ไม่ มี รี โ มตคอนโทรล ป้องกันไม่ให้เสาล้ม ไม่ควรติดตั้งเสาอากาศ
โดยทัว่ ไปโทรทัศน์สจี ะกินไฟมากกว่าโทรทัศน์ ทีวีให้สูงเกินความจ�าเป็นเพื่อหลีกเลี่ยงฟ้าผ่า
ขาว-ด�า ประมาณ 1-3 เท่า และโทรทัศน์สีที่มี ลงที่เสา นอกจากนี้ควรให้เสาห่างจากแนว
รีโมตคอนโทรลจะกินไฟมากกว่าโทรทัศน์สีที่ สายไฟฟ้ า แรงสู ง เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ สาล้ ม พาดสาย
ไม่มีรีโมตคอนโทรลที่มีขนาดเดียวกัน เพราะ แรงสูงและเกิดอันตรายได้
มีวงจรเพิ่มเติม และกินไฟตลอดเวลาถึงแม้ 2. อย่าเปิดเครื่องรับโทรทัศน์ในขณะที่
จะไม่ใช้เครื่องรีโมตคอนโทรลก็ตาม โทรทัศน์ ตัวเปียกชื้นและไม่ควรจับเสาอากาศโทรทัศน์
ขนาดใหญ่ก็จะกินไฟมากกว่าขนาดเล็ก ด้วย
3. ให้ ป ิ ด โทรทั ศ น์ ถอดปลั๊ ก ไฟและ
วิธีใช้เครื่องรับโทรทัศน์ให้ประหยัดพลังงาน ขั้วสายอากาศออกในขณะที่มีฝนฟ้าคะนอง
คือ เพื่อป้องกันโทรทัศน์ช�ารุด
1. ควรเลือกดูรายการเดียวกัน 4. อย่าดูโทรทัศน์ใกล้เกินไปจะท�าให้
2. ปิดเมื่อไม่มีคนดู สายตาเสี ย หรื อ ได้ รั บ รั ง สี แ ละคลื่ น สนาม
3. ถอดปลั๊กเมื่อไม่ได้ใช้งาน นอกจาก แม่เหล็กไฟฟ้ามากเกินไป
จะกินไฟแล้วโทรทัศน์จะช�ารุดได้ง่ายด้วย 5. วางโทรทัศน์ในที่ที่มีอากาศถ่ายเท
4. ถ้าผูใ้ ช้นอนหลับหน้าโทรทัศน์บอ่ ยๆ ได้สะดวก
ควรติดสวิตช์ตั้งเวลาเพิ่ม 6. อย่าถอดซ่อมด้วยตนเอง เนื่องจาก
ภายในมีระบบไฟฟ้าแรงสูงอยู่ด้วย
7. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย

58
5.3 ตู้เย็น
การซื้อตู้เย็นนอกจากจะต้องค�านึงถึง
ราคาแล้ว ควรพิจารณาถึงลักษณะและระบบ
ของตู้เย็น เพื่อประหยัดพลังงาน ดังต่อไปนี้
1. ควรเลือกซือ้ ตูเ้ ย็นทีม่ ฉี ลากประหยัด
ไฟ โดยเป็ น สติ๊ ก เกอร์ ติ ด อยู ่ ที่ ตู ้ เ ย็ น ซึ่ ง
ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
5. ตู้เย็นชนิดที่ไม่มีน�้าแข็งจับจะกินไฟ
(สมอ.) เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองคุณภาพ
มากกว่าชนิดที่มีปุ่มกดละลายน�้าแข็ง
โดยก�าหนดเป็นตัวเลข ดังนี้
6. ควรเลื อ กซื้ อ ตู ้ เ ย็ น ที่ ใ ช้ กั บ ระบบ
เลข 5 ดีมาก หมายถึง ประสิทธิภาพสูงสุด ไฟฟ้ า 220-230 โวลต์ เ ท่ า นั้ น ถ้ า ใช้ ช นิ ด
110-120 โวลต์ จะต้ อ งใช้ ห ม้ อ แปลงลด
เลข 4 ดี หมายถึง ประสิทธิภาพสูง
แรงดันท�าให้กินไฟมากขึ้น
เลข 3 ปานกลาง หมายถึง ประสิทธิภาพปานกลาง
วิธีใช้ตู้เย็นให้ประหยัดพลังงาน
เลข 2 พอใช้ หมายถึง ประสิทธิภาพพอใช้ 1. ก่อนการใช้ควรศึกษาคูม่ อื การใช้และ
เลข 1 ต�่า หมายถึง ประสิทธิภาพต�า่ ปฏิบัติตามค�าแนะน�า
2. ตั้งไว้ในที่เหมาะสม ควรตั้งตู้เย็นให้
2. ควรพิจารณาขนาดให้เหมาะสมกับ ห่างจากผนังอย่างน้อย 15 เซนติเมตร
ขนาดครอบครัว ขนาดประมาณ 2.5 ลูกบาศก์ 3. อย่าตั้งใกล้แหล่งความร้อน ไม่ควร
ฟุ ต (คิ ว ) ส� า หรั บ สมาชิ ก 2 คนแรกของ ตั้งอยู่ใกล้เตาไฟ หรือแหล่งความร้อนอื่น และ
ครอบครัว แล้วเพิม่ ขึน้ อีกประมาณ 1 ลูกบาศก์ ไม่ควรให้โดนแสงแดด
ฟุตต่อ 1 คน 4. ปรับระดับให้เหมาะสม เวลาตัง้ ตูเ้ ย็น
3. ควรเลือกตู้เย็นที่มีฉนวนกันความ ให้ปรับระดับด้านหน้าของตู้เย็นสูงกว่าด้าน
ร้อนหนาและเป็นชนิดโฟมอัด เพื่อไม่ให้มี หลังเล็กน้อย เพื่อเวลาปิดน�้าหนักของประตู
การสูญเสียความเย็นมาก ตู้เย็นจะถ่วงให้ประตูปิดเข้าไปเอง
4. ตู้เย็น 2 ประตูกินไฟมากกว่าตู้เย็น 5. หมั่นตรวจสอบยางขอบประตูไม่ให้
ประตูเดียวที่มีขนาดความจุเท่ากัน เนื่องจาก มีรอยรั่วหรือเสื่อมสภาพ
ใช้ท่อน�้ายาเย็นที่ยาวกว่า แต่ตู้เย็น 2 ประตู 6. อย่าเปิดตูเ้ ย็นบ่อยๆ เมือ่ เปิดแล้วต้อง
จะมีการสูญเสียความเย็นน้อยกว่า รีบปิด

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
59
พรมหรือพื้นยางก็ได้ ส่วนบริเวณมือจับก็ควร
มีผ้าหรือฉนวนหุ้มด้วย
6. ดู ข ้ อ ปฏิ บั ติ ใ นการใช้ ไ ฟฟ้ า หรื อ
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย

5.4 เครื่องปรับอำกำศ
7. ละลายน�า้ แข็งสม�่าเสมอ เพื่อให้การ 1. ควรเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศที่มี
ท�าความเย็นมีประสิทธิภาพสูง ฉลากประหยัดไฟ โดยเป็นสติ๊กเกอร์ติดอยู่
8. ตัง้ สวิตช์ควบคุมอุณหภูมใิ ห้เหมาะสม ที่เครื่องปรับอากาศซึ่งส�านักงานมาตรฐาน
กับชนิดและปริมาณอาหารที่แช่ตู้เย็น ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) เป็นผูต้ รวจสอบ
9. ถอดปลั๊ก กรณีไม่อยู่บ้านหลายวัน และรับรองคุณภาพโดยก�าหนดเป็นตัวเลข
หรือไม่มีอะไรในตู้เย็น ดังนี้
ค�าแนะน�าด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับตู้เย็น
เลข 5 ดีมาก หมายถึง ประสิทธิภาพสูงสุด
1. ควรติ ด ตั้ ง ระบบสายดิ น กั บ ตู ้ เ ย็ น
เลข 4 ดี หมายถึง ประสิทธิภาพสูง
ผ่านทางเต้าเสียบ-เต้ารับที่มีสายดิน
2. ใช้ไขควงลองไฟตรวจสอบตัวตู้เย็น เลข 3 ปานกลาง หมายถึง ประสิทธิภาพปานกลาง
ว่ามีไฟรั่วหรือไม่ ตู้เย็นที่ไม่มีสายดินนั้น การ เลข 2 พอใช้ หมายถึง ประสิทธิภาพพอใช้
กลับขั้วที่ปลั๊กอาจท�าให้มีไฟรั่วน้อยลงได้ เลข 1 ต�า่ หมายถึง ประสิทธิภาพต�า่
3. ตู ้ เ ย็ น ที่ ดี ค วรจะมี ส วิ ต ช์ อั ต โนมั ติ
ปลดออกและสับเองด้วยการหน่วงเวลาเมื่อมี
ไฟดับ-ตก มิฉะนั้นจะต้องถอดปลั๊กตู้เย็นออก
ทันทีก่อนที่จะมีไฟเข้ามา และจะเสียบปลั๊ก
เข้าอีกครั้งเมื่อไฟมาปกติแล้ว 3-5 นาที
4. ถ้าหลอดไฟในตู้เย็นขาด ไม่ควรเอา
หลอดออกจนกว่าจะมีหลอดใหม่มาเปลี่ยน
5. อย่าปล่อยให้พื้นบริเวณประตูตู้เย็น
เปียก เพราะอาจเป็นสือ่ ไฟฟ้าอย่างดี ให้ปดู ว้ ย

60
2. ควรเลือกขนาดของเครือ่ งปรับอากาศ
ให้เหมาะสมกับห้องที่ต้องการจะติดตั้ง โดยที่
ความสูงของห้องไม่เกิน 3 เมตร ควรเลือกขนาด
ตามตารางต่อไปนี้
พื้นที่ห้องตำมควำมสูง ขนำดของเครื่องปรับอำกำศ
ไม่เกิน 3 ม. (ตร.ม.) (บีทียู/ชั่วโมง)
13 - 14 7,000 - 9,000
16 - 17 9,000 - 12,000
20 11,000 - 13,000
23 - 24 13,000 - 16,000
30 18,000 - 20,000
40 24,000

3. ชนิดของเครื่องปรับอากาศที่นิยมใช้ ชนิ ด นี้ ส ่ ว นใหญ่ จ ะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง กว่ า


ในบ้านอยู่อาศัยในปัจจุบันมีจ�าหน่ายในท้อง และจะมีสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติแบบ
ตลาด 3 ชนิดคือ อิเล็กทรอนิกส์ ส�าหรับควบคุมอุณหภูมิความ
3.1 ชนิดติดหน้าต่าง จะเหมาะสม เย็นของห้อง มีขนาดตั้งแต่ 8,000-24,000
กับห้องที่มีลักษณะที่ติดตั้งวงกบหน้าต่างติด บีทียู/ชม. ค่า EER ตั้งแต่ 7.5-13 บีทียู/ชม./
กระจกช่องแสงติดตาย บานกระทุ้งบานเกล็ด วัตต์
เป็นต้น มีขนาดตัง้ แต่ 9,000-24,000 บีทยี /ู ชม. 3.3 เครื่องปรับอากาศชนิดแยก
มีค่าประสิทธิภาพ (EER=บีทียู/ชั่วโมง/วัตต์) ส่วนตั้งพื้น จะเหมาะสมกับห้องที่มีลักษณะ
ตั้งแต่ 7.5-10 บีทียู/ชั่วโมง/วัตต์ ที่ เ ป็ น กระจกทั้ ง หมด ผนั ง ทึ บ ซึ่ ง ไม่ อ าจ
3.2 ชนิดแยกส่วนติดฝาผนังหรือ เจาะช่องเพื่อติดตั้งได้ เมื่อเปรียบเทียบเครื่อง
แขวน เหมาะสมกับห้องที่มีลักษณะทึบ จะ ปรับอากาศชนิดต่างๆ ทีม่ ขี นาดเท่ากัน เครือ่ ง
ติดตั้งได้สวยงาม แต่จะมีราคาแพงกว่าเมื่อ ปรับอากาศชนิดนี้ส่วนใหญ่จะมีประสิทธิภาพ
เปรียบเทียบกับ เครือ่ งปรับอากาศชนิดต่างๆ ที่ ต�า่ กว่า มีขนาดตั้งแต่ 12,000-36,000 บีทียู/
มีขนาดเท่ากัน (บีทียู/ชม.) เครื่องปรับอากาศ ชม. มีค่า EER ตั้งแต่ 6-11 บีทียู/ชม./วัตต์

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
61
วิธีใช้เครื่องปรับอากาศให้ประหยัดพลังงาน ใช้อปุ กรณ์บงั แดดภายใน เช่น ผ้าม่าน
1. ติดตั้งในที่เหมาะสม คือต้องสูงจาก มู่ลี่ (กระจกด้านทิศใต้ให้ใช้ใบอยู่ในแนวนอน
พื้นพอสมควร สามารถเปิด-ปิดปุ่มต่างๆ ได้ กระจกทิศตะวันออก-ตกให้ใช้ใบทีอ่ ยูใ่ นแนวดิง่ )
สะดวก และเพื่อให้ความเย็นเป่าออกจาก 10. ผนังหรือเพดานโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เครื่องหมุนเวียนภายในห้องอย่างทั่วถึง ด้านที่มีแสงแดดส่องจะเก็บความร้อนไว้มาก
2. อย่ า ให้ ค วามเย็ น รั่ ว ไหล ควรจะ ท�าให้มกี ารสูญเสียพลังงานมาก จึงควรป้องกัน
ปิดประตูหรือหน้าต่างห้องให้มิดชิด ดังนี้
3. ปรับปุ่มต่างๆ ให้เหมาะสม เมื่อเริ่ม บุด้วยแนวกันความร้อนหรือแผ่น
เปิดเครือ่ งควรตัง้ ความเร็วพัดลมไปทีต่ า� แหน่ง ฟิล์มอะลูมิเนียมสะท้อนรังสีความร้อน
สูงสุด เมื่อความเย็นพอเหมาะแล้วให้ตั้งไปที่ ท� า ที่ บั ง แดด/หลั ง คา/ปลู ก ต้ น ไม้
อุณหภูมิ 26 องศาเซลเซียส ด้านนอก
4. หมั่ น ท� า ความสะอาดแผ่ น กรอง 11. พยายามอย่าใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้
อากาศ อุ ป กรณ์ ใ นระบบปรั บ อากาศและ ความร้อนในห้องทีม่ เี ครือ่ งปรับอากาศ ไฟส่อง
ตะแกรง รวมทั้ ง ชุ ด คอนเดนเซอร์ เพื่ อ ให้ สว่างก็เป็นตัวให้ความร้อน จึงควรปิดไฟเมื่อ
อากาศผ่านเข้าออกได้สะดวก จะประหยัดไฟ ไม่มีความจ�าเป็น
โดยตรง 12. ชุดคอนเดนเซอร์ที่ใช้ระบายความ
5. ใช้พดั ลมระบายอากาศเท่าทีจ่ า� เป็น ร้อนสู่ภายนอก
6. ควรปิดเครื่องปรับอากาศเมื่อไม่มี ควรถูกแสงแดดให้น้อยที่สุด
ความจ�าเป็นต้องใช้ ขจั ด สิ่ ง กี ด ขวางทางลมให้ ร ะบาย
7. ในฤดู ห นาวขณะที่ อ ากาศไม่ ร ้ อ น อากาศได้สะดวก
มากเกินไป ไม่ควรเปิดเครื่องปรับอากาศ อย่าติดตั้งให้ปะทะกับลมธรรมชาติ
8. หมัน่ ตรวจสอบ ล้างท�าความสะอาด โดยตรง
ตามระยะเวลาที่ผู้ผลิตก�าหนด ค�าแนะน�าด้านความปลอดภัยของเครือ่ งปรับ
9. หน้าต่างหรือบานกระจกควรป้องกัน อากาศ
รังสีความร้อนที่จะเข้ามา ดังนี้ 1. ติดตั้งระบบสายดินกับเครื่องปรับ
ใช้ อุ ป กรณ์ บั ง แดดภายนอกมิ ใ ห้ อากาศและทดสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟ
กระจกถูกแสงแดด เช่น ผ้าใบ หรือแผงบังแดด 2. เครือ่ งตัดไฟรัว่ ขนาดไม่เกิน 30 mA
หรือร่มเงาจากต้นไม้ หากป้องกันวงจรของเครื่องปรับอากาศด้วย
ใช้กระจกหรือติดฟิลม์ ทีส่ ะท้อนรังสี อาจมีปัญหาเครื่องตัดไฟรั่วท�างานบ่อยขึ้น
ความร้อน ควรหลีกเลี่ยงโดยการแยกวงจรออก และใช้

62
ขนาดไม่ต�่ากว่า 100 mA ป้องกันอีกชั้นหนึ่ง ค�าแนะน�าด้านความปลอดภัยของพัดลม
3. ติดตัง้ เบรกเกอร์หรือสวิตช์อตั โนมัติ 1. ไม่ควรมีวสั ดุตดิ ไฟใกล้บริเวณพัดลม
และควบคุมวงจรโดยเฉพาะ เช่น ผ้าม่าน กล่องกระดาษหรือหนังสือ
4. กรณี มี ไ ฟตกหรื อ ไฟดั บ ถ้ า ไม่ มี 2. ควรเป็นพัดลมชนิดมีฉนวนประเภท 2
สวิ ต ช์ ป ลดสั บ เองโดยอั ต โนมั ติ ต้ อ งรี บ ปิ ด มิฉะนั้นต้องมีสายดิน
เครื่องทันทีก่อนที่จะมีไฟมา และควรรอระยะ 3. หมัน่ ตรวจสอบไฟรัว่ ด้วยไขควงลอง
เวลาประมาณ 3-5 นาที ก่อนที่จะสับสวิตช์ ไฟเสมอ
ใหม่ 4. พัดลมที่เปิดแล้วไม่หมุนหรือหยุด
5. หมั่นตรวจสอบขั้วและการเข้าสาย หมุนจะร้อน และเกิดไฟไหม้ได้ ให้รบี ปิดพัดลม
ของจุดต่อต่างๆ อยู่เสมอ แล้วถอดปลั๊ก เพื่อส่งซ่อมต่อไป
6. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ 5. ตรวจสอบสภาพของสายอ่อนที่ใช้
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย อยู่เสมอ ซึ่งฉนวนมักจะช�ารุดได้ง่าย
6. อย่าพยายามเปิดพัดลมเพื่อระบาย
อากาศในบริเวณที่มีสารระเหยที่ไวไฟ เช่น
ก๊าซหุงต้ม ทินเนอร์ หรือไอน�า้ มันเชื้อเพลิง
7. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ
เครื่องปรับอากาศ เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
5.5 พัดลม
วิธีใช้พัดลมเพื่อให้ประหยัดพลังงาน
1. ควรใช้พัดลมตั้งพื้นหรือตั้งโต๊ะแทน
พั ด ลมติ ด เพดาน เพราะจะกิ น ไฟน้ อ ยกว่ า
พัดลมติดเพดานประมาณครึ่งหนึ่ง
2. อย่าเปิดพัดลมทิ้งไว้เมื่อไม่มีคนอยู่
3. เมื่อเลิกใช้แล้วควรปิดพัดลมและ
พัดลม
ถอดปลั๊กออก
4. ปรับระดับความเร็วลมพอสมควร
5. เลือกขนาดให้เหมาะสมกับการใช้งาน
6. ควรเปิ ด หน้ า ต่ า งใช้ ล มธรรมชาติ
แทนถ้าท�าได้

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
63
5.6 เตำรีดไฟฟ้ำ 5.7 เตำไฟฟ้ำ
วิธีใช้เตารีดไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงาน วิ ธี ใ ช้ เ ตาไฟฟ้ า ให้ ป ระหยั ด พลั ง งานและ
1. ควรรีดผ้าคราวละมากๆ ติดต่อกัน ปลอดภัย
จนเสร็จ และควรเริ่มรีดผ้าบางๆ ก่อนในขณะ 1. ควรเลื อ กซื้ อ ใช้ เ ตาไฟฟ้ า ชนิ ด ที่ มี
ที่เตารีดยังไม่ร้อน และก่อนรีดเสร็จประมาณ ประสิทธิภาพสูง เช่น เตาแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ
2-3 นาที ให้ถอดปลั๊กออก เตาเหนี่ยวน�า เนื่องจากมีประสิทธิภาพสูงถึง
2. เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออก 80-90% ในขณะที่เตาไฟฟ้าธรรมดาแบบขด
และก่อนจะเก็บควรทิ้งให้เตารีดเย็นก่อน ลวดความร้อนและเตาแก๊สจะมีประสิทธิภาพ
ค�าแนะน�าด้านความปลอดภัยของเตารีด เพียง 40-47% เท่านั้น จึงประหยัดพลังงาน
1. ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีด และลดระยะเวลาในการปรุงอาหาร ตัวเตาไม่
สัมผัสสายไฟฟ้าเพราะจะท�าให้เปลือกสาย ร้อน มีความปลอดภัยสูง ไม่มีเขม่า หรือควัน
(ฉนวน) เสียหายได้ พิษจากแก๊ส และควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
2. สายปลั๊ ก ของเตารี ด เปลื อ กสาย 2. การท� า กั บ ข้ า วต้ อ งมี แ ผนการ
(ฉนวน) ต้องไม่เสื่อมสภาพหรือฉีกขาด ประกอบอาหารแต่ละครั้ง ควรเตรียมเครื่อง
3. ต้องคอยหมัน่ ตรวจสอบฉนวนยางที่ ปรุงต่างๆ ให้พร้อมเสียก่อน และค่อยเปิดสวิตช์
หุม้ สายเข้าเตารีด หากพบว่าเปือ่ ยหรือฉีกขาด เตาไฟฟ้า ตั้งกระทะประกอบอาหารแต่ละ
ควรรีบเปลี่ยนใหม่โดยช่างผู้มีความรู้ เพราะ อย่างติดต่อกันไปรวดเดียวจนเสร็จ
หากไม่รีบเปลี่ยนสายไฟบริเวณนั้นอาจช�ารุด 3. ใช้ภาชนะก้นแบน ภาชนะที่ใช้ควร
และถูกไฟดูดได้ เป็นชนิดก้นแบนพอดีกับเตา ไม่เล็กไม่ใหญ่
4. ขณะใช้งาน เมื่อหยุดรีดต้องวางบน จนเกินไป และภาชนะที่มีเนื้อโลหะรับความ
วัสดุที่ไม่ติดไฟง่าย ร้อนได้ดี ซึ่งถูกออกแบบมาให้ใช้กับเตาไฟฟ้า
5. เตารี ด ที่ ใ ช้ ค วรมี ส ายดิ น และต่ อ
ลงดินผ่านทางเต้าเสียบ-เต้ารับทีม่ สี ายดินด้วย
และหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟ
เสมอ
6. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
เตาไฟฟ้า

เตารีด

64
4. อาหารแช่แข็ง ท�าให้หายแข็งก่อน 5.8 เครื่องซักผ้ำ
โดยการน�าอาหารลงมาแช่ที่ชั้นล่างก่อนการ วิธีใช้เครื่องซักผ้าให้ประหยัดพลังงานและ
ประกอบอาหารเป็นเวลานานพอสมควร ปลอดภัย
5. ในการประกอบอาหารใส่ น�้ า แต่ 1. เลือกขนาดให้เหมาะสมกับงานที่ใช้
พอควร 2. ซักผ้าตามพิกดั ของเครือ่ ง อย่าใส่ผา้
6. ควรใช้เตาชนิดมองไม่เห็นขดลวด อัดแน่นเกินก�าลังของเครื่อง
เพราะจะไม่มคี วามร้อนสูญเปล่าและปลอดภัย 3. การซักผ้าทีละ 2-3 ชิ้น ไม่เป็นการ
กว่า ประหยัด และควรใช้น�้าร้อนซักผ้าเมื่อจ�าเป็น
7. อย่าเปิดเตาบ่อยๆ และขณะใช้งาน เท่านั้น
ควรวางบนพื้นที่ทนไฟ หรือไม่ติดไฟ 4. ซักผ้าแล้วไม่จ�าเป็นต้องใช้เครื่อง
8. ก่อนประกอบอาหารเสร็จควรปิด อบผ้าแห้งด้วยไฟฟ้า ควรใช้วิธีการผึ่งลมหรือ
สวิตช์เตาไฟฟ้า เพราะความร้อนที่สะสมอยู่มี ผึ่งแดด
เพียงพอ 5. ต้องต่อสายดินและหมั่นตรวจสอบ
9. ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตา ไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟอยู่เสมอ
ไฟฟ้าสัมผัสสายไฟฟ้า เพราะจะท�าให้เปลือก 6. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ
สาย (ฉนวน) เสียหายได้ และไม่ควรตัง้ วางใกล้ เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
วัสดุติดไฟ เช่น กระดาษ
10. เตาไฟฟ้ า ที่ ใ ช้ ป รุ ง อาหารจะให้
ความร้อน ความร้อนที่เกิดจากเตาไฟฟ้าจะ
ท�าให้ฉนวนเสือ่ มได้งา่ ย จึงจ�าเป็นต้องมีสายดิน
ทุกเครือ่ ง และคอยตรวจสอบไฟรัว่ ด้วยไขควง
ลองไฟอยู่เสมอ
11. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ เครื่องซักผ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย

เตาไฟฟ้า

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
65
5.9 หม้อต้มน�ำ้ ร้อน (กำต้มน�ำ้ หรือกระติก 5.10 หม้อหุงข้ำว
น�้ำร้อน) ควรเลื อ กขนาดให้ พ อเหมาะกั บ การ
วิธีใช้หม้อต้มน�้าร้อนอย่างประหยัดพลังงาน ใช้งาน และมีข้อแนะน�าดังนี้
และปลอดภัย
จ�ำนวนคน ขนำดหม้อหุงข้ำว กินไฟประมำณ
1. ควรใส่ น�้ า ให้ พ อเหมาะกั บ ความ ที่รับประทำน (คน) ที่ควรใช้ (ลิตร) (วัตต์)
ต้องการ
1 - 3 1 450
2. ถอดปลั๊กทันทีเมื่อเลิกใช้งาน 4 - 5 1.5 550
เมือ่ น�า้ เดือดจะต้องถอดปลัก๊ ทันที 6 - 8 2 600
อย่าเสียบปลัก๊ ทิง้ ไว้โดยไม่มคี นอยู่ 8 - 10 2.8 1,000
3. ขณะใช้งานควรวางบนพืน้ ทีไ่ ม่ตดิ ไฟ 10 - 12 3 1,350
และไม่ควรตั้งวางใกล้วัสดุติดไฟ
4. หม้อต้มน�า้ ร้อนต้องต่อสายดินแม้วา่ วิธีใช้หม้อหุงข้าวให้ประหยัดพลังงานและ
จะมีฉนวนหุม้ ภายนอกหรือไม่กต็ าม เนือ่ งจาก ปลอดภัย
จะมีไฟรั่วมากับน�้าที่เท หรือกดให้ไหลออกมา 1. ต้องต่อสายดินกับหม้อหุงข้าว และ
กับท่อ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากน�าภาชนะโลหะ หมั่นใช้ไขควงลองไฟทดสอบอยู่เสมอ
รองรับน�้าอาจถูกไฟดูดได้ (สามารถทดสอบ 2. ขัว้ ต่อสายทีต่ อ่ สายทีต่ วั หม้อหุงข้าว
ได้ด้วยไขควงลองไฟ) และที่เต้ารับต้องเสียบให้แน่นสนิท
5. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ 3. เมือ่ เลิกใช้งานควรถอดปลัก๊ ออกจาก
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย เต้ารับ
4. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย

หม้อต้มน�้าร้อน

หม้อหุงข้าว

66
5.11 เครื่องปิ้งขนมปัง 5.12 เครื่องท�ำน�้ำอุ่นในห้องน�้ำ
วิธีใช้เครื่องปิ้งขนมปังให้ประหยัดพลังงาน วิธีใช้เครื่องท�าน�้าอุ่นในห้องน�้าให้ประหยัด
และปลอดภัย พลังงานและปลอดภัย
1. ตั้ ง ระดั บ ความร้ อ นให้ พ อดี กั บ 1. ใช้เสร็จแล้วรีบปิดเครื่อง อย่าเปิด
ความต้องการ สวิตช์ทิ้งไว้
2. ขัว้ ต่อสายทีต่ วั เครือ่ งปิง้ ขนมปังและ 2. ไม่ควรปรับปุ่มความร้อนเกินความ
ที่เต้ารับต้องเสียบให้แน่นสนิท จ�าเป็น
3. เมื่ อ เลิ ก ใช้ ง านควรถอดปลั๊ ก ออก 3. สวิตช์และส่วนประกอบอื่นๆ ต้อง
จากเต้ารับ เป็นชนิดที่กันน�้าได้
4. ขณะใช้งานควรวางบนพื้นที่ทนไฟ 4. ต้องติดตั้งระบบสายดินและเครื่อง
หรือไม่ติดไฟ ตัดไฟรั่วที่ได้มาตรฐานกับวงจรไฟฟ้าส�าหรับ
5. ติ ด ตั้ ง สายดิ น และหมั่ น ใช้ ไ ขควง เครื่องท�าน�้าอุ่น
ลองไฟทดสอบไฟรั่วอยู่เสมอ 5. ดู ข ้ อ ควรปฏิ บั ติ ใ นการใช้ ไ ฟฟ้ า
6. ดู ข ้ อ ควรปฏิ บั ติ ใ นการใช้ ไ ฟฟ้ า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย

เครื่องปิ้งขนมปัง

เครื่องท�าน�า้ อุ่น

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
67
5.13 เครื่องดูดฝุ่น 5.14 เครื่องปั่นผลไม้–เครื่องผสมอำหำร
วิธีใช้เครื่องดูดฝุ่นให้ประหยัดพลังงานและ วิธีใช้เครื่องปั่นผลไม้-เครื่องผสมอาหารให้
ปลอดภัย ประหยัดพลังงานและปลอดภัย
1. เมื่ อ ใช้ แ ล้ ว ควรเอาฝุ ่ น ผงในถุ ง 1. ควรเลือกขนาดให้พอเหมาะและ
ทิ้ ง ทุ ก ครั้ ง เพื่ อ เครื่ อ งจะได้ มี แ รงดู ด ดี แ ละ ใช้เท่าที่จ�าเป็น
ไม่กินไฟ 2. ไม่ควรใช้ให้เกินก�าลังและไม่ควร
2. ซื้ อ เฉพาะประเภทที่ มี ส ายดิ น ใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน
พร้อมมากับปลั๊กไฟ และติดตั้งระบบสายดิน 3. ควรเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2
ที่เต้ารับด้วย ยกเว้นว่าเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า มิฉะนั้นต้องมีสายดินมาด้วย
ประเภท 2 4. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ
3. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย

เครื่องดูดฝุ่น

เครื่องปั่นผลไม้

68
5.15 เครื่องเป่ำผม 5.16 เครื่องสูบน�้ำ
วิธีใช้เครื่องเป่าผมให้ประหยัดพลังงานและ วิธีใช้เครื่องสูบน�้าให้ประหยัดพลังงานและ
ปลอดภัย ปลอดภัย
1. ควรเช็ดผมให้เกือบแห้งก่อนทีจ่ ะใช้ 1. เครื่ อ งสู บ น�้ า ชนิ ด มี ถั ง ความดั น
เครื่องเป่าผม (Pressure Tank) ควรเลือกซือ้ ให้มขี นาดใหญ่
2. ระหว่ า งเป่ า ควรขยี้ แ ละสางผม พอควร
ด้วย ให้ใช้ลมร้อนเท่าที่จ�าเป็น 2. บ่อพักควรสร้างไว้ระดับพื้นดินหรือ
3. ควรเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2 ใต้ดิน
มิฉะนั้นต้องมีสายดินมาด้วย 3. ใช้สวิตช์อัตโนมัติช่วยในการท�างาน
4. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ 4. ประหยัดการใช้และลดการสูญเปล่า
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย ของน�้า
5. ควรตรวจสอบและบ�ารุงรักษาอยู่
เป็นประจ�า
6. ต้องติดตั้งสายดินพร้อมทั้งมีเครื่อง
ตัดไฟฟ้ารั่วด้วย
7. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย

เครื่องเป่าผม

เครื่องสูบน�้า

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
69
5.17 พัดลมดูดอำกำศ 5. ควรติดตั้งระบบ Screen Saver
วิธีใช้พัดลมดูดอากาศให้ประหยัดพลังงาน เพื่อรักษาคุณภาพของหน้าจอ และยังช่วย
และปลอดภัย ประหยัดพลังงาน ในกรณีที่ยังไม่ปิดเครื่อง
1. ควรปิดพัดลมทุกครั้งเมื่อไม่มีคนอยู่ หรือให้ศึกษาจากคู่มือหรือซอฟต์แวร์ส�าหรับ
หรือเลิกใช้ วิธีการใช้เครื่องฯ ให้ประหยัดพลังงาน
2. ควรตั้งความเร็วพัดลมให้พอเหมาะ
หรือควรเปิดหน้าต่าง เพื่อใช้ลมธรรมชาติ
ช่วงถ่ายเทอากาศภายในห้อง และหมั่นท�า
ความสะอาดใบพัดและตะแกรง
3. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ
เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
เครื่องคอมพิวเตอร์

ค� า แนะน� า ด้ า นความปลอดภั ย ของเครื่ อ ง


คอมพิวเตอร์
1. ถอดปลั๊กเมื่อเลิกใช้งาน
พัดลมดูดอากาศ 2. ใช้เต้าเสียบและต่อเข้ากับเต้ารับ
ชนิดที่มีสายดินเท่านั้น และห้ามตัดหรือหักขา
5.18 เครื่องคอมพิวเตอร์ สายดินออก รายละเอียดดูในเรื่องเต้าเสียบ
วิธใี ช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ให้ประหยัดพลังงาน เต้ารับ
และปลอดภัย 3. อย่าเปิดฝาครอบเครือ่ งคอมพิวเตอร์
1. จะต้องไม่เปิดเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทงิ้ ในขณะก�าลังใช้งาน
ไว้นานๆ เพราะจะท�าให้สิ้นเปลืองไฟฟ้า 4. อย่าน�าเครือ่ งดืม่ วางไว้บนคอมพิวเตอร์
2. ควรปิดจอภาพถ้าไม่ได้ใช้งานเกิน เพราะหากหกใส่เครือ่ งจะท�าให้เครือ่ งลัดวงจร
15 นาที ได้
3. เลือกใช้จอภาพที่ขนาดไม่ใหญ่เกิน 5. อย่ า ปิ ด ผ้ า คลุ ม หรื อ เก็ บ เครื่ อ ง
ไป เพราะจะท�าให้กินไฟฟ้า โน้ตบุ๊กใส่กระเป๋าในขณะที่เครื่องยังร้อนอยู่
4. ควรติดตัง้ คอมพิวเตอร์ในทีท่ อี่ ากาศ เครื่องจะช�ารุดเร็ว
ถ่ายเทและระบายความร้อนได้ดี

70
6. ข้อควรทรำบเกี่ยวกับไฟฟ้ำแรงสูง

6.1 ไฟฟ้ำแรงสูงคืออะไร สิ่งมีชีวิตได้โดยไม่ต้องสัมผัสหรือแตะสายไฟ


คือระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าระหว่าง หากวัตถุนั้นอยู่ภายในรัศมีระยะอันตรายที่
สายไฟฟ้าเกิน 1,000 โวลต์ขึ้นไป ไฟฟ้าแรงสูงสามารถกระโดดข้ามได้ ระยะ
อั น ตรายนี้ จ ะขึ้ น อยู ่ กั บ ระดั บ แรงดั น ไฟฟ้ า
6.2 ท�ำไมจึงต้องใช้ไฟฟ้ำแรงสูง ของไฟฟ้าแรงสูง โดยแรงดันยิ่งสูง ระยะที่
ระบบไฟฟ้ า ที่ มี แ รงดั น ไฟฟ้ า สู ง จะ ไฟฟ้าแรงสูงสามารถจะกระโดดข้ามได้ก็จะ
สามารถส่ ง กระแสไฟฟ้ า ไปได้ ใ นระยะทาง ไกลยิ่งขึ้น ดังนั้น ไฟฟ้าแรงสูงจึงเป็นอันตราย
ที่ ไ กล และมี ก ารสู ญ เสี ย ทางไฟฟ้ า ต�่ า กว่ า อย่างมากส�าหรับผู้ที่มีความจ�าเป็นต้องปฏิบัติ
ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าต�า่ ดังนั้น การส่ง งานหรือเข้าใกล้สายไฟฟ้าแรงสูง หากยังมี
กระแสไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพจึงต้องส่งด้วย ความเข้าใจผิดหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าจะต้อง
ระบบไฟฟ้าแรงสูงแทบทั้งสิ้น แตะสัมผัสกับสายไฟฟ้าจึงจะได้รับอันตราย
ทุ ก วั น นี้ จึ ง ยั ง คงมี ผู ้ ท่ี ไ ด้ รั บ อั น ตรายจาก
ไฟฟ้าแรงสูงอยู่ และเนื่องจากไฟฟ้าแรงสูง
มี พ ลั ง งานส่ ง ที่ สู ง มาก ผู ้ ที่ ถู ก ไฟฟ้ า แรงสู ง
จึ ง มั ก จะบาดเจ็ บ สาหั ส ขั้ น รุ น แรงจนถึ ง ขั้ น
เสียชีวติ หรือมิฉะนัน้ ก็จะสูญเสียอวัยวะจนถึง
ขั้นทุพพลภาพได้

6.3 ไฟฟ้ำแรงสูงมีอันตรำยอย่ำงไร
เนื่ อ งจากไฟฟ้ า แรงสู ง มี แ รงดั น ไฟฟ้ า
ที่สูงมาก เมื่อเทียบกับไฟฟ้าแรงต�่าที่ใช้กับ
เครื่องใช้ไฟฟ้าตามบ้านทั่วไป (230 โวลต์)
ไฟฟ้ า แรงสู ง จึ ง สามารถที่ จ ะกระโดดข้ า ม
อากาศ หรื อ ฉนวนไฟฟ้ า เข้ า หาวั ต ถุ ห รื อ

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
71
6.4 เรำจะทรำบได้อย่ำงไรว่ำสำยไฟฟ้ำนัน้ 6.5 สำยฟ้ำแรงสูงจะมีฉนวนหุม้ อยูห่ รือไม่
เป็นสำยไฟฟ้ำแรงสูง สายไฟฟ้ า แรงสู ง ส่ ว นใหญ่ ที่ ใ ช้ ส ่ ง
เนื่ อ งจากสายไฟฟ้ า แรงสู ง มี ร ะยะ กระแสไฟฟ้ า ไปตามถนนหรื อ ทุ ่ ง นานั้ น
อั น ตรายที่ จ ะกระโดดข้ า มได้ ดั ง นั้ น เพื่ อ ส่วนใหญ่จะถือได้ว่าไม่มีฉนวนหุ้ม หรือหาก
ให้สามารถพาดสายไฟฟ้าจ่ายไฟฟ้าได้ จึง มี ฉ นวนหุ ้ ม ก็ จ ะมี แ ต่ ร ะดั บ แรงดั น ไม่ เ กิ น
จ� า เป็ น ต้ อ งมี ก ารจั บ ยึ ด สายไฟฟ้ า ด้ ว ยวั ส ดุ 24 เควี ที่ จ ะมี ฉ นวนหุ ้ ม เพี ย งเพื่ อ ลดสถิ ติ
ที่เป็นฉนวนไฟฟ้าในจ�านวนที่พอเหมาะกับ ไฟฟ้าดับเท่านั้น ซึ่งถือว่าไม่ปลอดภัยที่จะ
ระดับของไฟฟ้าแรงสูงนั้น ฉนวนไฟฟ้าที่ใช้กัน สัมผัสหรือแตะต้อง การหุ้มฉนวนที่ปลอดภัย
ส่ ว นใหญ่ จ ะท� า ด้ ว ยกระเบื้ อ งเคลื อ บเป็ น นั้นจะต้องมีฉนวนที่หนา มีการพันทับด้วย
ชั้นๆ มีรูปร่างเหมือนชามคว�่าที่มักเรียกกันว่า สายชีลด์โลหะ (Shield) ทีม่ กี ารต่อลงดินและ
ลูกถ้วย เราจึงสามารถสังเกตว่าเป็นสายไฟฟ้า มีฉนวนเปลือกนอกอีกชั้นหนึ่ง ท�าให้สายไฟ
แรงสูงได้จากการยึดสายไฟฟ้าด้วยลูกถ้วย มีน�้าหนักมาก ไม่สามารถพาดไปบนเสาไฟฟ้า
เป็นชั้นๆ ซึ่งจ�านวนชั้นของลูกถ้วยจะบ่งบอก ทั่วไปได้
ถึ ง ระดั บ แรงดั น ไฟฟ้ า ของไฟฟ้ า แรงสู ง นั้ น 6.6 ระบบไฟฟ้ ำ แรงสู ง ของกำรไฟฟ้ ำ
และเนื่องจากไฟฟ้าแรงสูงนั้นเป็นอันตราย จึง นครหลวง มีระดับแรงดันไฟฟ้ำเท่ำใด
จ�าเป็นต้องยกสายไฟฟ้าแรงสูงให้อยู่ในระดับ ระบบไฟฟ้ า แรงสู ง ของการไฟฟ้ า
สูงให้พ้นระยะอันตราย รวมทั้งหลีกเลี่ยงสิ่ง นครหลวง ปั จ จุ บั น จ่ า ยด้ ว ยระบบแรงดั น
กีดขวางต่างๆ ไฟฟ้าขนาดตั้งแต่ 12,000 โวลต์ ถึง 115,000
โวลต์เป็นส่วนใหญ่ และมีการจ่ายด้วยระบบ
230,000 โวลต์อยู่บ้าง การเรียกระดับแรงดัน
ไฟฟ้าของไฟฟ้าแรงสูงมักจะเรียกเป็นหน่วย
พันโวลต์ว่าเควี หรือกิโลโวลต์ เช่น 12,000
โวลต์ จะเรียกว่า 12 เควี หรือ 12 กิโลวัตต์
เป็ น ต้ น ระบบแรงดั น 12 และ 24 เควี
ลูกถ้วย
จะเรียกว่าระบบจ�าหน่าย (พลังไฟฟ้าหรือ
ดั ง นั้ น วิ ธี สั ง เกตว่ า เป็ น ไฟฟ้ า แรงสู ง ก�าลังไฟฟ้า) ส่วนระบบแรงดัน 69 เควีขึ้นไป
อีกอย่างหนึ่งก็คือ ระดับความสูงของสายไฟ จะเรี ย กว่ า ระบบส่ ง (พลั ง ไฟฟ้ า หรื อ ก� า ลั ง
สายไฟฟ้าแรงสูงมักจะอยู่สูงจากพื้นดินตั้งแต่ ไฟฟ้า) โดยสายไฟฟ้าหรือระบบสายไฟฟ้า
9 เมตรขึ้นไป สายไฟฟ้าที่อยู่สูงกว่ามักจะมี ที่เกี่ยวข้องจะเรียกสั้นๆ ว่า (ระบบ) สาย
แรงดันไฟฟ้ามากกว่าสายไฟฟ้าที่อยู่ตา�่ กว่า จ�าหน่ายฯ และ (ระบบ) สายส่งฯ ตามล�าดับ

72
6.7 กำรไฟฟ้ ำ นครหลวงมี ก ำรก� ำ หนด มาตรฐานระยะห่ า งในแนวนอน
มำตรฐำนระยะห่ ำ งที่ ป ลอดภั ย จำกสำย ที่ปลอดภัยระหว่าง อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง หรือ
ไฟฟ้ำแรงสูงไว้อย่ำงไร ป้ายโฆษณากับสายไฟฟ้าแรงสูงมีการก�าหนด
6.7.1 ระยะห่างระหว่างสายไฟฟ้าแรงสูง ไว้ดังนี้
กับอาคาร/สิ่งปลูกสร้าง/ป้ายโฆษณา

ระยะห่ำงในแนวระดับจำกสำยไฟฟ้ำ (เมตร)
ขนำดแรงดันไฟฟ้ำ
(โวลต์) อำคำร เฉลียง ระเบียง ผนังด้ำนปิดของอำคำร
โครงป้ำยโฆษณำ ป้ำยโฆษณำที่ติดกับอำคำร
12,000 - 24,000 1.80 1.50
69,000 2.13 1.80
115,000 2.30 2.30
หมายเหตุ 1. ระยะดังกล่าวเป็นระยะห่างของสายเปลือย
2. ส�าหรับสายไฟฟ้าที่มีการหุ้มฉนวนเป็นพิเศษจะมีระยะห่างต�่ากว่าตารางนี ้ ทั้งนี้ เป็นไปตามมาตรฐาน
ของการไฟฟ้านครหลวง
3. ระยะดังกล่าวไม่ครอบคลุมการท�างานนอกตัวอาคาร หรือบนระเบียงเปิดที่อาจมีการยื่นวัตถุออกนอก
ตัวอาคาร ซึง่ จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานระยะห่างทีป่ ลอดภัยส�าหรับการท�างาน หรือจะต้องมีการหุม้
หรือคลุมสายเพื่อความปลอดภัย

6.7.2 ระยะห่ า งระหว่ า งสายไฟฟ้ า หรือผู้ที่ปฏิบัติงาน รวมถึงอุปกรณ์หรือเครื่อง


แรงสูงกับผู้ปฏิบัติงาน/เครื่องมือกล มือกลทุกชนิด เช่น ปั้นจั่น รถเครน หรือวัตถุ
มาตรฐานระยะห่ า งที่ ป ลอดภั ย ของ ที่ถืออยู่ในมือจะต้องอยู่ห่างจากส่วนที่มีไฟฟ้า
การท�างานใกล้สายไฟฟ้าแรงสูงส�าหรับบุคคล แรงสูงไม่น้อยกว่าระยะดังต่อไปนี้
ขนำดแรงดันไฟฟ้ำ (โวลต์) ระยะห่ำงที่ปลอดภัย (เมตร)
12,000 - 69,000 3.05
115,000 3.25
230,000 3.97
หมายเหตุ 1. สายไฟฟ้ า ที่ มี ก ารหุ ้ ม ฉนวนเป็ น พิ เ ศษอาจมี ร ะยะห่ า งต�่ า กว่ า มาตรฐานได้ ขอให้ ป รึ ก ษา
การไฟฟ้านครหลวง
2. หากบริเวณที่ต้องการปฏิบัติงานมีระยะห่างที่ต�่ากว่ามาตรฐานจะต้องแจ้งให้การไฟฟ้านครหลวง
ด�าเนินการหุ้มหรือคลุมสายก่อนลงมือท�างาน

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
73
74
การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
75
6.8 เรำจะทรำบได้อย่ำงไรว่ำสำยไฟฟ้ำแรงสูงนั้นมีระดับแรงดันเท่ำใด
วิธีสังเกตง่ายๆ ก็คือการนับจ�านวนชั้นของลูกถ้วย หรือที่ใช้ยึดจับสายไฟฟ้าอยู่ดังนี้

จ�ำนวนชั้นของลูกถ้วยคว�่ำ (ชั้น) แรงดันไฟฟ้ำ (โวลต์)


2-3 12,000-24,000
4 69,000
7 115,000
14 230,000

อีกวิธีหนึ่ง ก็คือ ให้สังเกตจากความสูงของสายไฟฟ้า เทียบอาคาร


ระดับควำมสูงของสำยไฟ แรงดันไฟฟ้ำ (โวลต์)
อาคารชั้นที ่ 2-3 12,000-24,000
อาคารชั้นที ่ 4-5 69,000-115,000
อาคารชั้นที ่ 6 ขึ้นไป 230,000

6.9 ลักษณะงำนที่เสี่ยงต่ออันตรำยจำก งานติดตั้งหรือตกแต่ง เช่น งานพาด


ไฟฟ้ำแรงสูงมีอะไรบ้ำง สายสื่อสาร สายเคเบิลทั่วไป อุปกรณ์สื่อสาร
ในการท�างานใกล้แนวสายไฟฟ้าแรงสูง งานติดตั้งป้ายโฆษณา เสาอากาศทีวี เหล็กดัด
นั้น ลักษณะงานที่มักเกิดอุบัติภัยจากไฟฟ้า กระจก อะลู มิ เ นี ย ม ไฟประดั บ การทาสี
แรงสูง ได้แก่ การท�าความสะอาด เป็นต้น
งานก่อสร้าง เช่น งานก่อสร้างอาคาร
สะพานลอย ทางด่วน งานซ่อมและปรับปรุง
สาธารณูปโภคต่างๆ งานตอกเสาเข็ม ปั้นจั่น
รถเครน เป็นต้น

76
6.10 ข้อควรระวังในกำรท�ำงำนใกล้แนว มี ไ ฟฟ้ า รั่ ว และเกิ ด ลั ด วงจร จนไฟฟ้ า ดั บ
สำยไฟฟ้ำแรงสูง เป็นบริเวณกว้าง และในบางกรณีอาจท�าให้
1. ห้ามท�านัง่ ร้านค�า้ หรือคร่อมใกล้สาย สายไฟฟ้าขาดด้วย
ไฟฟ้าแรงสูงทีไ่ ม่มฉี นวนปิดคลุมขณะทีท่ า� การ 6. ห้ามจับ ดึง หรือแกว่งลวดสลิงเหล็ก
ก่อสร้าง หรือติดตั้งป้ายโฆษณา ทีใ่ ช้ยดึ โยงเสาไฟฟ้าแรงสูงหรือบริเวณโคนเสา
2. ห้ามท�างานใกล้สายหรืออุปกรณ์ ไฟฟ้ า เพราะอาจจะแกว่ ง ไปกระทบสาย
ไฟฟ้าแรงสูงในขณะที่มีฝนตกฟ้าคะนอง ไฟฟ้าแรงสูง ท�าให้มไี ฟรัว่ ลงมา หรือท�าให้สาย
3. ห้ามฉีดพ่น เท หรือราดน�า้ ใดๆ ใกล้ ไฟแรงสูงขาดได้
สายไฟฟ้าแรงสูง ดังนี้ 7. ห้ า มไต่ ห รื อ ขึ้ น ไปบนเสาไฟฟ้ า
การรดน�า้ ต้นไม้ ทุกชนิด ทุกกรณี
การฉีดน�้าสายยาง 8. ห้ามยืน่ ส่วนใดส่วนหนึง่ ของร่างกาย
การต่อท่อน�้าทิ้งที่ไหลออกจาก หรื อ น� า วั ส ดุ อื่ น ใดเข้ า ใกล้ ส ายไฟฟ้ า แรงสู ง
ระเบียงหรือกันสาด ท�าให้ล�าน�้าเข้าใกล้หรือ มากกว่าระยะที่ก�าหนด
กระทบเสาไฟ 9. ไม่ควรติดตัง้ เสาอากาศโทรทัศน์ใกล้
ละอองน�้ า จากเครื่ อ งหล่ อ เย็ น แนวสายไฟฟ้าแรงสูง เพราะนอกจากจะท�าให้
(Cooling Tower) ที่ ใ ช้ ส� า หรั บ เครื่ อ ง รับสัญญาณได้ไม่ชัดเจนเนื่องจากมีสัญญาณ
ปรับอากาศ หรือระบายความร้อนส�าหรับ รบกวนแล้ว ยังอาจเกิดอุบตั เิ หตุถกู ไฟฟ้าแรงสูง
โรงงานอุตสาหกรรม ละอองน�้ามักจะท�าให้ ดูดในระหว่างท�าการติดตั้งอีกด้วย และในวัน
ฉนวนไฟฟ้าเสื่อมสภาพ ท�าให้มีกระแสไฟฟ้า ข้างหน้าหากเสาอากาศล้มลงมาแตะสายไฟฟ้า
รั่วที่ฉนวนไฟฟ้า นอกจากนี้ยังท�าให้เกิดไฟฟ้า แรงสู ง ด้ ว ยลมพายุ หรื อ ด้ ว ยเหตุ อื่ น ใด
ดับเป็นบริเวณกว้าง ในบางกรณีอาจท�าให้ นอกจากเครื่องใช้ไฟฟ้าของท่านช�ารุดแล้ว
สายไฟฟ้าขาดได้ด้วย บุคคลภายในบ้านอาจได้รับอันตราย และยัง
4. ห้ามสอยสิ่งใดๆ ทุกชนิดที่ติดอยู่ที่ ท�าให้มีไฟฟ้าดับเป็นบริเวณกว้างอีกด้วย
สายไฟฟ้าแรงสูง เช่น ว่าว สายป่านลูกโป่ง 10. ผู ้ เ ป็ น เจ้ า ของป้ า ยชื่ อ สถานที่
สวรรค์ เป็นต้น ประกอบการที่ ติ ด ตั้ ง ตามอาคารและผู ้
5. ห้ามจุดไฟเผาขยะหรือหญ้ารวมทัง้ ด�าเนินการติดตั้งป้ายโฆษณาขนาดใหญ่บน
การท�าอาหารทุกชนิด เช่น การปิ้ง ย่าง ผัด ดาดฟ้าอาคารหรือริมถนนใกล้แนวสายไฟฟ้า
หรื อ ทอดที่ ท� า ให้ ค วามร้ อ นและควั น ไฟรม แรงสูงต้องหมั่นดูแล ตรวจสอบความแข็งแรง
หรือพ่นใส่สายไฟฟ้าหรือฉนวนไฟฟ้าแรงสูง ของฐานและโครงเหล็กที่ใช้ติดตั้งป้ายโฆษณา
เพราะจะท�าให้ฉนวนไฟฟ้าเสื่อมสภาพ ท�าให้

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
77
11. การก่อสร้างอาคารบ้านพักอาศัย 13. ควรระมั ด ระวั ง ผ้ า คลุ ม กั น ฝุ ่ น
โครงสร้างป้ายโฆษณา และปลูกต้นไม้ ต้อง ระหว่างท�าการก่อสร้าง มิให้ปลิวมาสัมผัสสาย
ห่างจากสายไฟฟ้าแรงสูงตามระยะที่ก�าหนด ไฟฟ้า
เพื่อป้องกันมิให้สัมผัสกับสายหรืออุปกรณ์ 14. กิ่ ง ไม้ ที่ แ ตะสายไฟฟ้ า จะท� า ให้ มี
ไฟฟ้า ไฟรั่วลงมาตามกิ่งไม้ ท�าให้ผู้ที่อยู่บนต้นไม้
12. ควรระมัดระวังเครือ่ งมือกลทุกชนิด หรือยืนอยู่ใต้ต้นไม้ อาจถูกไฟฟ้าดูดได้ ขณะ
ที่ใช้งานก่อสร้างสาธารณูปโภคต่างๆ เข้าใกล้ เดียวกันกิ่งไม้ที่เสียดสีนานๆ ยังท�าให้ฉนวน
สายไฟฟ้าแรงสูงเกินกว่าระยะที่ก�าหนด และตัวน�าสายไฟฟ้าแรงสูงช�ารุดขาดตกลงมา

78
ตัวอย่ำงสำยไฟที่ช�ำรุดจำกต้นไม้
ท�าให้มผี เู้ สียชีวติ บาดเจ็บหรือพิการ อยูเ่ นืองๆ 17. ควรติ ด ตั้ ง ป้ า ยหรื อ สั ญ ญาณ
ได้ จึงต้องระมัดระวังคอยดูแลตัดแต่งกิ่งไม้ เตือนภัยแสดงเขตอันตรายจากไฟฟ้าแรงสูง
ไม่ให้เข้าใกล้สายไฟฟ้าเกินระยะที่ก�าหนด เสมอ
การตัดต้นไม้ที่ใกล้หรือแตะสายไฟฟ้าแรงสูง
โดยขาดความรูก้ ม็ อี นั ตราย ควรแจ้งการไฟฟ้า
นครหลวงในพื้นที่ที่รับผิดชอบให้ด�าเนินการ
ให้
15. การข้ า มสะพานลอยคนข้ า มให้
ระมัดระวังการถือวัสดุทยี่ นื่ สูงพ้นศีรษะ เพราะ
วัสดุอาจยื่นเข้าใกล้สายไฟฟ้าแรงสูงเกินกว่า
ระยะปลอดภัยท�าให้ได้รบั อันตรายได้ หากพบ
ว่ามีสายไฟฟ้าแรงสูงอยู่ในระยะไม่ปลอดภัย
ให้แจ้งการไฟฟ้านครหลวงทันที
16. เมือ่ เกิดเพลิงไหม้ ผูท้ จี่ ะใช้เครือ่ งมือ 18. ก่ อ นที่ จ ะขุ ด เจาะหรื อ ตอกปั ก
ดั บ เพลิ ง ควรมี ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารใช้ วัตถุใดๆ เช่น แท่งโลหะลงในดิน จะต้อง
เครื่องมือดับเพลิงว่าเป็นชนิดที่ใช้ดับเพลิงกับ แน่ใจเสียก่อนว่าไม่มีสายไฟฟ้าแรงสูงอยู่ใต้
สิ่งที่มีกระแสไฟฟ้าได้หรือไม่ และระยะห่าง พื้นดินนั้น มิฉะนั้นท่านอาจได้รับอันตราย
เท่ า ใด หากไม่ แ น่ ใ จจะต้ อ งด� า เนิ น การดั บ จากไฟฟ้าแรงสูงได้
ไฟฟ้าเสียก่อน

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
79
19. ห้ า มยิ ง นกหรื อ สั ต ว์ ที่ เ กาะบน 6.11 ข้อควรระวังอันตรำยจำกสำยไฟฟ้ำ
สายไฟฟ้าแรงสูง เพราะสายจะขาดตกลงมา แรงสูงขำด
ท�าให้ผู้คนและตัวท่านเองได้รับอันตรายจาก ทุกครั้งที่มีสายไฟฟ้าแรงสูงขาด มักจะ
ไฟฟ้าแรงสูง มี ผู ้ ไ ด้ รั บ อั น ตรายจากไฟฟ้ า แรงสู ง ตั้ ง แต่
บาดเจ็บสาหัสจนถึงต้องพิการหรือมีผเู้ สียชีวติ
อยู่เนืองๆ การรับรู้ถึงสาเหตุและวิธีป้องกัน
อันตรายจะช่วยลดความเสี่ยง ความสูญเสีย
และอันตรายที่จะเกิดขึ้นได้
1. หลีกเลีย่ งการยืนอยูท่ โี่ คนเสาไฟฟ้า
หรือใต้แนวสายไฟฟ้าแรงสูงในขณะที่มีฝนตก
ฟ้าคะนอง เพื่อป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า
และสายไฟฟ้าแรงสูงขาด
2. การเล่นว่าวใกล้สายไฟฟ้าแรงสูง
20. หากพบนกหรื อ สั ต ว์ ท� า รั ง อยู ่ บ น เมื่อว่าวติดสายไฟให้ทิ้งสายป่านทันที การดึง
เสาไฟฟ้าแรงสูง ให้แจ้งการไฟฟ้านครหลวง สายป่ า นนอกจากอาจมี ไ ฟแรงสู ง วิ่ ง มากั บ
เพือ่ แก้ไข เพราะนอกจากจะท�าให้เกิดลัดวงจร สายป่านแล้วยังท�าให้สายไฟแกว่งเข้าหากัน
และท�าให้สัตว์ตายแล้ว ยังท�าให้มีไฟฟ้าดับ และเกิดไฟฟ้าลัดวงจร ท�าให้สายไฟฟ้าแรงสูง
หรือเป็นเหตุให้สายไฟฟ้าแรงสูงขาดตกลงมา ขาดตกลงมาและมีผู้ได้รับอันตรายได้
เป็นอันตรายต่อผู้คนได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในขณะที่มีฝนตก
21. อย่าเล่นน�้าหรือเข้าใกล้เสาไฟฟ้า
แรงสูงที่ปักอยู่ในน�้าเพราะอาจมีไฟฟ้ารั่วได้
22. ห้ามตัดสายต่อลงดินที่ลงมาจาก
เสาไฟฟ้า เพราะจะท�าให้ไม่มีการต่อสายดิน
และมีผู้ได้รับอันตรายได้ หากพบเห็นให้แจ้ง
การไฟฟ้านครหลวง
23. หากต้องการให้การไฟฟ้านครหลวง
หุ ้ ม สายไฟฟ้ า แรงสู ง ในกรณี ที่ จ� า เป็ น ต้ อ ง
ท�างานใกล้สายไฟฟ้า ท่านสามารถติดต่อได้ที่
การไฟฟ้านครหลวงเขตต่างๆ

80
3. กิ่ ง ไม้ ที่ แ ตะและเสี ย ดสี กั บ สาย ขณะอยู่ในรถ ถ้าสามารถท�าได้
ไฟฟ้าแรงสูงนอกจากจะมีไฟฟ้าวิ่งลงมากับ ให้ขับรถให้พ้นจากสายไฟฟ้าที่พาดอยู่นั้น แต่
ต้ น ไม้ แ ล้ ว ยั ง อาจท� า ให้ มี ไ ฟฟ้ า ดั บ หรื อ ต้องระวังไม่ให้ทับข้ามสายไฟ เพราะสายไฟ
สายไฟฟ้าแรงสูงขาดตกลงมาและมีผู้ได้รับ อาจเกี่ยวติดพันเข้ากับรถและเกิดประกายไฟ
อันตรายได้ ขึ้นได้
4. เมือ่ พบว่ามีสายไฟฟ้าแรงสูงขาดให้ ตะโกนบอกผู ้ ที่ อ ยู ่ น อกรถหรื อ
ด�าเนินการดังนี้ ผู ้ ท่ี ต ้ อ งการช่ ว ยเหลื อ อย่ า เข้ า ใกล้ ร ถ ให้
หลี ก เลี่ ย งอย่ า เข้ า ใกล้ ห รื อ กั น ออกห่างจากรถและสายไฟจนกว่าจะแน่ใจ
คนไม่ให้เข้าใกล้สายไฟฟ้า ว่ า การไฟฟ้ า ได้ ดั บ ไฟแล้ ว (ต้ อ งบอกให้
อย่ า พยายามจั บ หรื อ ใช้ วั ส ดุ โทรศัพท์แจ้งการไฟฟ้านครหลวง หรือหน่วย
เขีย่ สายไฟเป็นอันขาด ท่านอาจได้รบั อันตราย งานสาธารณภัยที่เกี่ยวข้องด้วย)
โทรศัพท์แจ้งการไฟฟ้านครหลวง
หรือหน่วยงานสาธารณภัยที่สะดวกที่สุด
5. ข้อควรระวังกรณีสายไฟฟ้าแรงสูง
ขาดพาดลงบนรถยนต์
อย่าพยายามลงจากรถจนกว่า
จะแน่ใจว่าไม่มีสายไฟฟ้าพาดอยู่กับรถ หรือมี
สายไฟฟ้าพาดอยู่บนพื้นดินที่เปียกอยู ่ การอยู่
ในรถถือว่าปลอดภัยที่สุด และถ้าโทรศัพท์ได้
ให้ แ จ้ ง การไฟฟ้ า นครหลวงหรื อ หน่ ว ยงาน
สาธารณภัยที่เกี่ยวข้องให้เร็วที่สุด

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
81
ถ้ า จ� า เป็ น ต้ อ งออกนอกรถ (อาจใช้วิธีกระโดด 2 เท้าพร้อมกัน) ห้ามเดิน
เช่น รถก�าลังเกิดไฟไหม้ มีวิธีลงจากรถให้ ก้าวเท้ายาวหรือวิ่ง เพื่อไม่ให้ถูกไฟดูดจาก
ปลอดภัยดังนี้ พื้นดินด้วยแรงดันช่วงก้าว (Step Voltage)
ก. อย่ า ก้ า วเท้ า ลงจากรถเป็ น ค. เมื่ อ ลงจากรถแล้ ว อย่ า กลั บ
อันขาด ต้องใช้วิธีกระโดดลอยตัวลงจากรถ เข้าใกล้รถอีก (เช่น อย่าพยายามดับไฟไหม้รถ
ให้ ห ่ า งจากตั ว รถ โดยมี วิ ธี ก ารลงสู ่ พื้ น ให้ หรือไปหยิบของมีค่าในรถ) จนกว่าจะแน่ใจ
ปลอดภัยดังนี้ ว่าการไฟฟ้าได้ดับไฟแล้ว
• ลงสู ่ พื้ น ด้ ว ยเท้ า ข้ า งเดี ย ว 6. หากสายไฟฟ้ า แรงสู ง ขาดตกน�้ า
หรือด้วยเท้าสองข้างแต่ต้องให้เท้าชิดกัน ให้หลีกเลี่ยงให้พ้นจากบริเวณที่มีน�้าให้มาก
• ขณะเท้ า แตะพื้ น มื อ เท้ า ที่สุด แล้วแจ้งการไฟฟ้านครหลวง พร้อมกับ
และร่ า งกายต้ อ งไม่ แ ตะส่ ว นใดส่ ว นหนึ่ ง กันคนไม่ให้เข้าใกล้น�้า
ของตัวรถ 7. หากพบว่ า มี เ สี ย งดั ง คล้ า ยเสี ย ง
ข. เมือ่ ลงจากรถและเท้าแตะพืน้ แล้ว ผึง้ บินบริเวณอุปกรณ์หรือสายไฟฟ้าแรงสูงบน
ให้ออกห่างจากตัวรถและสายไฟให้มากที่สุด เสาไฟฟ้าให้รีบแจ้งการไฟฟ้านครหลวงที่ใกล้
วิธีออกห่างที่ปลอดภัยคือ ให้ค่อยๆ ขยับเดิน ที่สุด เพื่อด�าเนินการแก้ไข
ลากเท้าโดยให้เท้าทั้ง 2 ชิดกัน

82
7. กำรช่วยเหลือผู้ประสบภัยอันตรำย
จำกไฟฟ้ำและกำรปฐมพยำบำล

ผูท้ จี่ ะช่วยเหลือผูท้ ปี่ ระสบภัยอันตราย การช่ ว ยผู ้ ป ระสบอั น ตรายจากไฟฟ้ า


จากไฟฟ้าต้องรู้จักวิธีที่ถูกต้องในการช่วย- ดั ง ที่ ก ล่ า วมาแล้ ว จ� า เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ ง
เหลือดังนี้ กระท� า ด้ ว ยความรวดเร็ ว รอบคอบ และ
1. อย่าใช้มอื เปล่าแตะต้องตัวผูท้ ตี่ ดิ อยู่ ระมัดระวังเป็นพิเศษด้วย
กับกระแสไฟฟ้า หรือตัวน�าทีเ่ ป็นต้นเหตุให้เกิด 7.1 กำรปฐมพยำบำล
อั น ตรายเป็ น อั น ขาด เพื่ อ ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ ถู ก เมื่ อ ได้ ท� า การช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบ
กระแสไฟฟ้าจนได้รบั อันตรายไปด้วยอีกผูห้ นึง่ อันตรายมาได้แล้ว จะโดยวิธีใดก็ตาม หาก
2. รีบหาทางตัดกระแสไฟฟ้าโดยฉับไว ปรากฏว่าผู้เคราะห์ร้ายที่ช่วยออกมานั้นหมด
ด้วยการถอดปลั๊กหรืออ้าสวิตช์ออกก็ได้ สติไม่รู้สึกตัว หัวใจหยุดเต้นและไม่หายใจ
3. ใช้วัตถุที่ไม่เป็นสื่อไฟฟ้า เช่น ผ้า ซึง่ สังเกตได้จากอาการทีเ่ กิดขึน้ ดังนี ้ ริมฝีปาก
ไม้แห้ง เชือกที่แห้ง สายยาง หรือพลาสติกที่ เขียว สีหน้าซีดเขียวคล�้า ทรวงอกเคลื่อนไหว
แห้งสนิท ถุงมือยาง หรือผ้าแห้งพันมือให้หนา น้อยมากหรือไม่เคลื่อนไหว ชีพจรบริเวณคอ
แล้วถึงผลักหรือฉุดตัวผู้ประสบอันตรายให้ เต้นช้าและเบามาก ถ้าหัวใจหยุดเต้นจะคล�า
หลุดออกมาโดยเร็ว เขี่ยสายไฟให้หลุดออก ชีพจรไม่พบ ม่านตาขยายค้างไม่หดเล็กลง
จากตัวผู้ประสบอันตราย หมดสติไม่รสู้ กึ ตัว ต้องรีบท�าการปฐมพยาบาล
4. หากเป็นสายไฟฟ้าแรงสูงให้พยายาม ทันที เพื่อให้ปอดและหัวใจท�างาน
หลีกเลี่ยง แล้วรีบแจ้งการไฟฟ้านครหลวงให้ 7.2 กำรปฏิ บั ติ ช ่ ว ยชี วิ ต ขั้ น พื้ น ฐำน
เร็วที่สุด (ดูข้อควรระวังจากสายไฟฟ้าแรงสูง) (Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR)
5. อย่าลงไปในน�า้ กรณีทมี่ กี ระแสไฟฟ้า หมายถึงการช่วยเหลืออย่างรีบด่วนใน
อยู่ในบริเวณที่มีน�้าขัง ต้องหาทางเขี่ยสายไฟ ภาวะฉุกเฉินทั้งระบบหายใจ ระบบหมุนเวียน
ออกให้พน้ หรือตัดกระแสไฟฟ้าก่อนจึงค่อยไป โลหิต โดยไม่อาศัยเครื่องมือใดๆ การปฏิบัติ
ช่วยผู้ประสบอันตราย การช่วยชีวติ มีบทบาทส�าคัญในการช่วยเหลือ
และสามารถลดอัตราการตายของผูบ้ าดเจ็บได้
ถ้าท�าอย่างถูกวิธีและทันท่วงที

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
83
อาการผู้บาดเจ็บที่ต้องช่วยโดยการท�า CPR
1. ไม่รู้สึกตัว (Unconsciousness)
2. ไม่หายใจ (No Breathing)
3. หัวใจหยุดเต้น (No Pulse)

ล�าดับการปฏิบัติการช่วยชีวิต (ล่าสุด)
1. ช่วยการไหลเวียนโลหิต (Circulation = C)
2. เปิดทางเดินหายใจ (Open Airway = A) คุณ ครับ...
3. ช่วยการหายใจ (Breathing = B) เป็นอย่างไรบ้าง

ขั้นตอนที ่ 1 ปลุก
ตรวจการมีสติ : เรียก ปลุก เขย่าตัว
ตรวจการหายใจ : ดูใบหน้า หน้าอก หน้าท้อง

ขั้นตอนที ่ 2 ประกาศ
ขอความช่วยเหลือ
ถ้าไม่มีการตอบสนอง
รีบโทรศัพท์ขอความช่วยเหลือที่
หมายเลข 1669
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ส�าหรับพื้นที่ทั่วประเทศไทย

หมายเลข 1646
ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ)
ส�าหรับในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
เพราะสิ่งที่ต้องการใช้เพื่อช่วยชีวิตคือเครื่องกระตุ้นหัวใจ

84
ขั้นตอนที่ 3 ปั๊ม
ช่วยการไหลเวียนโลหิต : กดหน้าอก ปั๊มหัวใจ
- ต�าแหน่งวางมือ : กึ่งกลางหน้าอก
- สิ่งที่ใช้กด : ส้นมือ 2 ข้างซ้อนกัน
วางสันมือแรกตรงกลางหน้าอก ซ้อนอีกมือ ล็อกนิ้ว
- จ�านวนครั้ง : 30 ครั้ง
- ความลึก : 2 นิ้วฟุตขึ้นไป (ในผู้ใหญ่)
- ความเร็วในการกด : ไม่ช้ากว่า 100 ครั้งต่อนาที

ขั้นตอนที่ 4 เปิด
เปิดทางเดินหายใจ : Open Airway
ใช้สันมือกดหน้าผากและ 2 นิ้ว เชยคางยกขึ้น
ให้หน้าแหงน
(Head Till and Chin Lift)

ขั้นตอนที่ 5 เป่า
ถ้าไม่หายใจ : ช่วยหายใจ โดยการเป่าปาก 2 ครั้ง
การเป่าปาก : ต้องเห็นทรวงอก กระเพื่อมขึ้นทุกครั้ง
ถ้าทรวงอกไม่กระเพื่อมขึ้นในการเป่าปากครั้งที่ 1
แก้ไขโดยการเปิดทางเดินหายใจใหม่แล้วจึงเป่าปาก
ครั้งที ่ 2

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
85
การปฏิบัติการช่วยชีวิตในผู้ใหญ่
อัตราส่วนการกดหน้าอกต่อการเป่าปาก 30 : 2
ท�าการกดหน้าอกและเป่าปากต่อเนื่องไปเรื่อยๆ

สิ่งที่แสดงว่าการช่วยชีวิตได้ผล
1. เริ่มรู้สึกตัว ส่ายหน้า ขยับแขน
2. มีการหายใจ
3. เริ่มมีการกลืน การไอ
4. สีผิวหนังเปลี่ยนแปลงดีขึ้น (สีชมพู)

จะหยุดท�าการช่วยเหลือเมื่อ
1. เมื่อผู้บาดเจ็บมีการหายใจและมีชีพจร
2. เมื่อมีบุคลากรทางการแพทย์มารับช่วงต่อ
3. เมื่อผู้ช่วยเหลือเหนื่อยจนไม่สามารถช่วยต่อไปได้

86
8. มีปัญหำปรึกษำที่นี่

หากผู้ใช้ไฟฟ้ามีข้อสงสัยหรือต้องการ ใกล้ ส ถานี ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ของท่ า นในเวลาท� า การ


สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดติดต่อ 07.30-15.30 น. หรือที่ศูนย์บริการข้อมูล
การไฟฟ้านครหลวงเขตและสาขาย่อยที่อยู่ ผูใ้ ช้ไฟฟ้า Call Center 1130 ตลอด 24 ชัว่ โมง

กำรไฟฟ้ำนครหลวงเขตและสำขำย่อย โต๊ะบริกำรเบ็ดเสร็จ
รหัสเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้ำ (ONE STOP SERVICE) ช�ำระเงิน แจ้งไฟฟ้ำขัดข้อง
สถำนที่ติดต่อ แผนกบริกำร ค่ำไฟฟ้ำ ตลอด 24 ชั่วโมง

เขตวัดเลียบ (66) 0 2220 5224 0 2220 5280 0 2220 5211


01 02 03 04 05 06 07 08 09 0 2220 5226 0 2220 5281 0 2220 5222
10 11 39 69 75 0 2220 5387 0 2220 5311
121 ถ.จักรเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ 0 2220 5322
เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 0 2220 5333
โทร. 0 2220 5000
โทรสาร 0 2220 5291

เขตธนบุร ี (58) 0 2878 5224 0 2878 5280 0 2878 5211


19 31 70 0 2878 5226 0 2878 5281 0 2878 5222
132/18 ซ.จรัญสนิทวงศ์ 20 0 2878 5324 0 2878 5311
ถ.จรัญสนิทวงศ์ แขวงบ้านช่างหล่อ 0 2878 5333
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700
โทร. 0 2878 5200
โทรสาร 0 2878 5291

สำขำย่อยตลิ่งชัน 0 2448 6030


40/1 ม.2 ซ.หมู่บ้านมหาดไทย 1 0 2448 6031
ถ.พุทธมณฑล 1 แขวงบางระมาด โทรสาร 0 2448 6304
เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
87
กำรไฟฟ้ำนครหลวงเขตและสำขำย่อย โต๊ะบริกำรเบ็ดเสร็จ
รหัสเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้ำ (ONE STOP SERVICE) ช�ำระเงิน แจ้งไฟฟ้ำขัดข้อง
สถำนที่ติดต่อ แผนกบริกำร ค่ำไฟฟ้ำ ตลอด 24 ชั่วโมง

เขตยำนนำวำ (69) 0 2611 5224 0 2611 5280 0 2611 5211


20 21 22 0 2611 5226 0 2611 5281 0 2611 5222
3027 ถ.เจริญกรุง แขวงบางคอแหลม 0 2611 5324 0 2611 5311
เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 0 2611 5333
โทร. 0 2611 5200
โทรสาร 0 2611 5291

สำขำย่อยดำวคะนอง 0 2476 4771


1297/7 ถ.สมเด็จพระเจ้าตากสิน 0 2476 9488
เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทรสาร 0 2476 1486

เขตรำษฎร์บูรณะ (68) 0 2877 5224 0 2877 5280 0 2877 5211


30 0 2877 5226 0 2877 5281 0 2877 5222
21 ถ.ราษฎร์บรู ณะ แขวงราษฎร์บรู ณะ 0 2877 5324 0 2877 5311
เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 0 2877 5333
โทร. 0 2877 5200
โทรสาร 0 2877 5291

สำขำย่อยพระประแดง 0 2463 3368


101 ม.2 เยื้อง ซ.วัดชมนิมิตร โทรสาร 0 2877 5389
ถ.สุขสวัสดิ ์ อ.พระประแดง
จ.สมุทรปราการ 10130

เขตบำงขุนเทียน (70) 0 2841 5224 0 2841 5280 0 2841 5211


57 58 59 0 2841 5226 0 2841 5281 0 2841 5222
39 ซ.พระรามที ่ 2 ซอย 60 แขวงแสมด�า 0 2841 5324 0 2841 5311
เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 0 2841 5333
โทร. 0 2841 5200
โทรสาร 0 2841 5291

88
กำรไฟฟ้ำนครหลวงเขตและสำขำย่อย โต๊ะบริกำรเบ็ดเสร็จ
รหัสเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้ำ (ONE STOP SERVICE) ช�ำระเงิน แจ้งไฟฟ้ำขัดข้อง
สถำนที่ติดต่อ แผนกบริกำร ค่ำไฟฟ้ำ ตลอด 24 ชั่วโมง

สำขำย่อยหนองแขม 0 2421 0060


240 หมู่ 7 หมู่บ้านพรทวีวัฒน์ 0 2421 0066
ซ.เพชรเกษม 73/2 ถ.เพชรเกษม โทรสาร 0 2421 0065
เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160

เขตคลองเตย (67) 0 2348 5224 0 2348 5280 0 2348 5211


12 13 14 15 16 17 18 0 2348 5226 0 2348 5281 0 2348 5222
24 25 32 38 0 2348 5227 0 2348 5311
1192 ถ.พระราม 4 แขวงคลองเตย 0 2348 5322
เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 0 2348 5333
โทร. 0 2348 5000
โทรสาร 0 2348 5291

สำขำย่อยเพลินจิต 0 2256 3247


30 ซ.ชิดลม ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี 0 2256 3344
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรสาร 0 2256 3678

เขตบำงกะปิ (76) 0 2725 5224 0 2725 5280 0 2725 5211


23 26 33 40 41 0 2725 5226 0 2725 5281 0 2725 5222
88 ถ.รามค�าแหง แขวงสวนหลวง 0 2725 5324 0 2725 5311
เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 0 2725 5333
โทร. 0 2725 5200
โทรสาร 0 2725 5291

เขตสมุทรปรำกำร (77) 0 2791 5224 0 2791 5280 0 2791 5211


37 42 55 0 2791 5226 0 2791 5281 0 2791 5222
386 ถ.สุขุมวิท ต.ปากน�้า อ.เมือง 0 2791 5324 0 2791 5311
จ.สมุทรปราการ 10270 0 2791 5333
โทร. 0 2791 5200
โทรสาร 0 2791 5291

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
89
กำรไฟฟ้ำนครหลวงเขตและสำขำย่อย โต๊ะบริกำรเบ็ดเสร็จ
รหัสเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้ำ (ONE STOP SERVICE) ช�ำระเงิน แจ้งไฟฟ้ำขัดข้อง
สถำนที่ติดต่อ แผนกบริกำร ค่ำไฟฟ้ำ ตลอด 24 ชั่วโมง

เขตบำงพลี (78) 0 2769 5224 0 2769 5280 0 2769 5211


34 36 44 64 0 2769 5227 0 2769 5281 0 2769 5222
70/1 หมู ่ 1 ถ.กิ่งแก้ว ต.ราชาเทวะ 0 2769 5324 0 2769 5311
อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 0 2769 5333
โทร. 0 2769 5200
โทรสาร 0 2769 5291

สำขำย่อยบำงบ่อ 0 2338 1112


352 ม.1 ถ.รัตนราษฎร์ ต.บางบ่อ โทรสาร 0 2338 1472
อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ 10560

เขตมีนบุร ี (79) 0 2907 5226 0 2907 5280 0 2907 5211


62 63 67 0 2907 5227 0 2907 5281 0 2907 5222
24 หมู ่ 13 ถ.สุวนิ ทวงศ์ แขวงแสนแสบ 0 2907 5324 0 2907 5311
เขตมีนบุร ี กรุงเทพฯ 10510 0 2907 5333
โทร. 0 2907 5200
โทรสาร 0 2907 5291

สำขำย่อยรำมอินทรำ 0 2509 0056


135 ซ.รามอินทรา 52/1 0 2509 0297
ถ.รามอินทรา กม.8 เขตคันนายาว โทรสาร 0 2509 0196
กรุงเทพฯ 10230

90
กำรไฟฟ้ำนครหลวงเขตและสำขำย่อย โต๊ะบริกำรเบ็ดเสร็จ
รหัสเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้ำ (ONE STOP SERVICE) ช�ำระเงิน แจ้งไฟฟ้ำขัดข้อง
สถำนที่ติดต่อ แผนกบริกำร ค่ำไฟฟ้ำ ตลอด 24 ชั่วโมง

เขตสำมเสน (56) 0 2242 5224 0 2242 5280 0 2242 5211


71 73 74 76 81 82 83 0 2242 5226 0 2242 5281 0 2242 5222
84 86 87 88 92 0 2242 5324 0 2242 5311
809 ถ.สามเสน แขวงถนนนครไชยศรี 0 2242 5333
เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
โทร. 0 2242 5000
โทรสาร 0 2242 5291

สำขำย่อยห้วยขวำง 0 2276 9370


1998/36 บริเวณตลาดห้วยขวาง 0 2276 9359
ถ.ประชาสงเคราะห์ แขวงดินแดง โทรสาร 0 2276 9360
เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

เขตนนทบุร ี (57) 0 2902 5224 0 2902 5280 0 2902 5211


79 85 0 2902 5226 0 2902 5281 0 2902 5222
285 ถ.ติวานนท์ ต.บางกระสอ 0 2902 5324 0 2902 5311
อ.เมือง จ.นนทบุร ี 11000 0 2902 5333
โทร. 0 2902 5200
โทรสาร 0 2902 5291

สำขำย่อยดอนเมือง 0 2565 3842


157/157-158 ถ.ช่างอากาศอุทิศ 0 2565 3853
แขวงทุ่งสองห้อง เขตดอนเมือง โทรสาร 0 2565 3852
กรุงเทพฯ 10210

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
91
กำรไฟฟ้ำนครหลวงเขตและสำขำย่อย โต๊ะบริกำรเบ็ดเสร็จ
รหัสเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้ำ (ONE STOP SERVICE) ช�ำระเงิน แจ้งไฟฟ้ำขัดข้อง
สถำนที่ติดต่อ แผนกบริกำร ค่ำไฟฟ้ำ ตลอด 24 ชั่วโมง

เขตบำงใหญ่ (59) 0 2832 5224 0 2832 5280 0 2832 5211


46 93 94 0 2832 5226 0 2832 5281 0 2832 5222
38/2 หมู ่ 10 ถ.บางกรวย-ไทรน้อย 0 2832 5324 0 2832 5311
ต.บางเลน อ.บางใหญ่ 0 2832 5333
จ.นนทบุรี 11140
โทร. 0 2832 5200
โทรสาร 0 2832 5291

สำขำย่อยบำงรักใหญ่ 0 2920 6371


13/14 หมู ่ 4 ถ.ตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี 0 2920 6391
ต.บางรักพัฒนา อ.บางบัวทอง โทรสาร 0 2920 6390
จ.นนทบุรี 11110

เขตบำงเขน (80) 0 2792 5224 0 2792 5280 0 2792 4322


77 78 0 2792 5226 0 2792 5281 0 2792 5211
476 ม.3 ถ.พหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย ์ 0 2792 5324 0 2792 5222
เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 0 2792 5311
โทร. 0 2792 5200 0 2792 5333
โทรสาร 0 2792 5291

สำขำย่อยจตุจักร 0 2272 4480


520 ถ.ก�าแพงเพชร 2 0 2272 4751
แขวงลาดยาว เขตจตุจักร โทรสาร 0 2272 4750
กรุงเทพฯ 10900

เขตนวลจันทร์ (55) 0 2716 3224 0 2716 3280 0 2716 3211


68 0 2716 3226 0 2716 3281 0 2716 3222
1 ถ.คลองล�าเจียก แขวงนวลจันทร์ 0 2716 3311
เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10230 0 2716 3333
โทร. 0 2716 3200
โทรสาร 0 2716 3291

92
กำรไฟฟ้ำนครหลวงเขตและสำขำย่อย โต๊ะบริกำรเบ็ดเสร็จ
รหัสเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้ำ (ONE STOP SERVICE) ช�ำระเงิน แจ้งไฟฟ้ำขัดข้อง
สถำนที่ติดต่อ แผนกบริกำร ค่ำไฟฟ้ำ ตลอด 24 ชั่วโมง

สำขำย่อยนำคนิวำส 0 2530 6698


49/67-68 หมู่บ้านกฤติกร 0 2539 0729
ซ.นาคนิวาส 25 ถ.ลาดพร้าว 71 0 2539 1325
เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10230 โทรสาร 0 2539 0783

เขตลำดกระบัง (60) 0 2792 3224 0 2792 3280 0 2792 3211


65 66 0 2792 3226 0 2792 3281 0 2792 3222
24 หมู ่ 13 ถ.สุวนิ ทวงศ์ แขวงแสนแสบ 0 2792 3311
เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 0 2792 3333
โทร. 0 2792 3200
โทรสาร 0 2792 3291

เขตบำงนำ (65) 0 2769 3220 0 2769 3280 0 2769 3211


27 35 43 0 2769 3224 0 2769 3281 0 2769 3222
556 ถ.สรรพาวุธ แขวงบางนา 0 2769 3226 0 2769 3311
เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 0 2769 3333
โทร. 0 2769 3200 0 2769 3350
โทรสาร 0 2769 3291

เขตบำงบัวทอง (75) 0 2834 3224 0 2834 3280 0 2834 3211


45 60 72 80 0 2834 3226 0 2834 3281 0 2834 3222
38/2 หมู่ 10 ถ.บางกรวย-ไทรน้อย 0 2834 3324 0 2834 3311
ต.บางเลน อ.บางใหญ่ 0 2834 3333
จ.นนทบุรี 11140
โทร. 0 2834 3200
โทรสาร 0 2834 3291

การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
93
N L

เครื่องปลดวงจร

N L

เครื่องปลดวงจร

เครื่องตัดไฟรั่ว

94
การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิท ิภาพและปลอดภัย
95
96

You might also like