You are on page 1of 37

การประสานสัมพันธ์การฉนวนระบบ

ไฟฟ้าแรงสูง
Insulation coordination in High voltage system

Piyadanai Pachanapan, 303424 : High Voltage Engineering (2/55), Naresuan University


1
เนื้อหา
• การฉนวนระบบไฟฟ้าแรงสูง
• เงื่อนไขการออกแบบฉนวน
• การฉนวนตามระดับแรงดัน
• การประสานสัมพันธ์การฉนวน (Insulation Coordination)
• การประสานสัมพันธ์ของฉนวนที่สถานีไฟฟ้า
• การประสานสัมพันธ์ของฉนวนในระบบ EHV และ UHV

2
การฉนวนระบบไฟฟ้าแรงสูง
 ต้องคานึงถึงความน่าเชื่อถือ (reliability) และความต่อเนื่อง
(continuity) ในการจ่ายไฟของระบบไฟฟ้า
1. อัตราการเกิดความล้มเหลว (failure rate) อันเกิดจากระบบฉนวน
จนเกิดการตัดไฟ  ควรมีให้น้อยที่สุด
2. มูลค่าการลงทุน อันประกอบด้วย การออกแบบ, ติดตั้ง และ
ดาเนินการ ของระบบฉนวน ไม่ควรสูงเกินไป
 อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องการการฉนวน : ระบบสายส่ง และ สถานีไฟฟ้า
 ป้องกันแรงดันเกิน ทาอันตรายต่ออุปกรณ์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
3
คุณสมบัติของฉนวนที่ดี
1. มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าที่ดี
– มีความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าได้สูง
– มีความต้านทานสูงทุกระดับแรงดัน
– มีค่าสูญเสียไดอิเล็กตริกต่า
– มีความคงทนต่อการเกิดร่องรอยนาไฟฟ้าที่ผิว (tracking)
2. ทนต่อแรงกลได้ดี
3. ทนต่อความร้อนได้ดี
4. ทนต่อปฏิกิริยาเคมีได้ดี และไม่ทาปฏิกิริยากับสารอื่น
5. ทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี 4
เงื่อนไขการออกแบบการฉนวน
• ชนิดของฉนวน : ก๊าซ, ของเหลว หรือ ของแข็ง
• คุณสมบัติของฉนวน : รูปแบบสนามไฟฟ้า และ ความเครียด
สนามไฟฟ้า, ชนิดรูปคลื่นแรงดัน
• ระดับแรงดัน : HV, EHV และ UHV
• สภาพแวดล้อม, ความเปรอะเปื้อน
• ลักษณะการฉนวน : ภายใน/ภายนอก, คืนสภาพ/ไม่คืนสภาพ
• ความสาคัญของการฉนวนที่แตกต่างกัน

5
การฉนวนภายนอกและภายใน

• ฉนวนภายนอก : ผิวฉนวนสัมผัสกับอากาศสภาวะบรรยากาศ
• ฉนวนภายใน : อยู่ภายในภาชนะห่อหุ้มอุปกรณ์ 6
• ฉนวนภายนอก
1. คืนสภาพฉนวนได้อีก หลังเกิดวาบไฟตามผิว
2. คานึงถึงสภาวะแวดล้อม ความหนาแน่นของอากาศ ความดันบรรยากาศ
อุณหภูมิ ความเปียกชื้น ความเปรอะเปื้อน ฝุ่นละออง เช่น
• พวงลูกถ้วยแขวน ใช้ระยะรั่ว ประมาณ 2 เท่าของระยะอาร์ก
3. ออกแบบให้ฉนวนทนแรงดันเกินได้ระดับหนึ่ง  ถ้าเกิดกว่านั้น ต้องใช้
อุปกรณ์ป้องกันอื่นลดขนาดแรงดันเกินให้ต่ากว่าความคงทนของฉนวน

• ฉนวนภายใน
1. ไม่มีผลกระทบจากสภาวะบรรยากาศ ความเปรอะเปื้อน ฝุ่นละออง
2. ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้า ขึ้นอยู่กับ ฉนิดฉนวน (ก๊าซ หรือ ของเหลว)
ไม่ขึ้นกับบรรยากาศและความชื้น
7
ก๊าซ SF6 ใช้ดับอาร์ก
สาหรับการฉนวน
SF6
ภายใน

Air

8
การใช้กระดาษร่วมกับน้ามันหม้อ หม้อแปลงชนิดแห้ง หุ้มด้วยคาสท์เรซิน
แปลงเป็นฉนวนภายใน 9
การฉนวนตามระดับแรงดัน
• ระดับ HV (1 kV – 300 kV)
– การฉนวนจะออกแบบบนฐานแรงดันเกินเสิร์จฟ้าผ่า (BIL)
• ระดับ EHV (300 kV – 765 kV)
– การฉนวนจะออกแบบนบฐานแรงดันเกินเสิร์จฟ้าผ่า (BIL) ร่วมกับ
แรงดันเกินเสิร์จสวิตชิ่ง (SIL)
• ระดับ UHV (> 765 kV)
– การฉนวนจะออกแบบบนฐานแรงดันเกินสวิตชิ่ง ร่วมกับความ
เปรอะเปื้อนเป็นแฟกเตอร์สาคัญ
10
Basic Impulse level (BIL) และ Switching Impulse level
(SIL)
• ในเชิงสถิติ BIL และ SIL คือ ค่ายอดแรงดันที่มีโอกาสน่าจะเกิดวาบไฟ
ตามผิว หรือ การฉนวนล้มเหลว 10 % (90 % ไม่เป็นอะไร)

BIL, SIL V50% 1.28 f

f = 2-3% สาหรับฟ้าผ่า
= 5% สาหรับสวิตชิ่ง ที่เสา
ไฟฟ้า
= 7% สาหรับสวิตชิ่ง ที่สถานี
ไฟฟ้าย่อย
11
การวิเคราะห์ค่า V50%
• V50% - ค่าแรงดันอิมพัลส์วิกฤต  เกิดวาบไฟตามผิว หรือ เบรกดาวน์
ของอากาศ
• ค่าแรงดันเบรกดาวน์ต่าสุด จะเกิดในช่วงของแรงดันอิมพัลส์สวิตชิ่ง (ผล
จากความชันหน้าคลื่นและเวลาของการเกิดดิสชาร์จในก๊าซ)

12
• Galer & Leroy เสนอสมการหา V50% ต่าสุด สาหรับการฉนวนเสาไฟฟ้า
และ ลูกถ้วยแขวน คือ
3450
V50% kg
1 (8 / d )

ค่า kg ปรกติ เท่ากับ 1.2 สาหรับแกป อื่นๆ มีค่าดังตาราง


d คือ ระยะแกป

• กรณีแรงดันเกินฟ้าผ่า ค่าแรงดัน V50% ของลูกถ้วยขั้วบวก คือ

V50% 560d

d คือ ระยะอาร์ก และ ความยาวลูกถ้วย


13
14
การประสานสัมพันธ์การฉนวน (Insulation Coordination)

• เป็นมาตรการที่จะทาให้ฉนวนของอุปกรณ์ หรือ ระบบ ไม่ไห้เกิดความ


เสียหายจากแรงดันเกินเสิร์จ
• จะออกแบบให้ฉนวนทนแรงดันเกินได้ระดับหนึ่ง  ส่วนที่เกินกว่า
ระดับนั้น จะใช้อุปกรณ์ป้องกันอื่น ทาให้ระดับแรงดันเกินลดลงต่า
พอที่จะไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ฉนวน
• การประสานความสัมพันธ์  การเลือกระดับความคงทนของฉนวน
ของอุปกรณ์ ให้สัมพันธ์กับแรงดันเกิดที่น่าจะเกิดขึ้น (ต้องรู้คุณลักษณะ
v-t ของแต่ละอุปกรณ์)

15
ฉนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าหลัก เช่น หม้อแปลง

อุปกรณ์ป้องกัน

16
ตัวอย่าง การประสานสัมพันธ์การฉนวนของระบบ 115 kV

• กับดักเสิร์จจะให้ระดับการฉนวนของปลายสายทั้งสองข้างต่ากว่าการฉนวน
ของสถานีไฟฟ้า เพราะความเสียหายที่เกิดขึ้นจะน้อยกว่า
• อุปกรณ์ป้องกัน (rod gap หรือ Surge Arrester) ไม่ควรเกิด flashover ที่ระดับ
แรงดันเกิน AC ความถี่ระบบ (temporary over-voltage) 17
การออกแบบการป้องกันจะใช้กราฟ v-t ของฉนวนอุปกรณ์ และ อุปกรณ์
ป้องกัน (Rod gap หรือ surge arrester)

• เส้นกราฟ v-t ของอุปกรณ์ป้องกัน จะอยู่ต่ากว่า ระดับฉนวนอุปกรณ์


• ระยะห่างระหว่างกราฟ v-t ต้องคานึงผลของระยะห่างระหว่างอุปกรณ์,
ขั้วไฟฟ้า และ สภาพบรรยากาศ 18
19
• แท่ง Rod gap จะปกป้องฉนวนหม้อแปลง ในกรณีแรงดันเกินเสิร์จ มีค่าน้อยกว่า
ค่าสโลปวิกฤต X
• ถ้ามีแรงดันเสิร์จ แบบ 1 เข้ามา  rod gap จะมีการแลปข้าม ป้องกันหม้อแปลง
• ถ้ามีแรงดันเสิร์จ แบบ 2 เข้ามา  กับดักเสิร์จจะทางาน ป้องกันหม้อแปลง
20
ระดับแรงดันป้องกัน
ของ Surge Arrester

21
การประสานสัมพันธ์ของฉนวนที่สถานีไฟฟ้า
• พิจารณาตาแหน่งและจานวนของกับดักเสิร์จให้เหมาะสม
• โดยปกติ กับดักเสิร์จจะติดตั้งระหว่างหม้อแปลงกับเบรกเกอร์
• พยายามติดตั้งกับดักเสิร์จให้ใกล้หม้อแปลงที่สุด
• BIL จะมีระดับสูงกว่า ค่าระดับป้องกัน (protection level) ของกับดัก
เสิร์จ ประมาณ 30 %
• SIL จะมีระดับสูงกว่า ค่าระดับป้องกัน ของกับดักเสิร์จ ประมาณ 15 %

22
BIL

23
SIL

24
ระดับป้องกันของการฉนวนสถานีไฟฟ้า
• มีค่าขึ้นอยู่กับ ตาแหน่งของสถานีไฟฟ้า, ระดับป้องกันของกับดักเสิร์จ
และ ระบบชิลด์ที่ใช้
• การฉนวนในระบบสายส่ง จะจากัดขนาดแรงดันเสิร์จ ก่อนจะมาถึงตัว
สถานีไฟฟ้า อยู่แล้ว
• เรียงลาดับความสาคัญของแต่ละอุปกรณ์ในสถานีไฟฟ้าได้ดังนี้
1. Busbar, Transformer
2. Circuit Breaker
3. Switches
4. Instruments
5. Relay transformer 25
26
ระดับการฉนวนที่สถานีไฟฟ้า และ โซนป้องกัน
1. ขนาดและรูปร่างของแรงดันเสิร์จที่จะเข้ามา
– ควรติดตั้งระบบชิลด์ที่สามารถป้องกันการเกิดฟ้าผ่าลงสายเฟส และ back
flashover เป็นบริเวณครอบคลุมตัวสถานีได้ (ประมาณ 2 กม. นับจากตัวสถานี)
2. ระดับการฉนวนของอุปกรณ์ป้องกัน
– คานึงถึงตาแหน่งและจานวนของกับดักเสิร์จ
– BIL มีค่าประมาณ 1.25 – 1.30 เท่าของ ระดับป้องกันของ กับดักเสิร์จ
3. ผลของระยะห่างระหว่างอุปกรณ์
– มีผลมากกับสถานีไฟฟ้าขนาดใหญ่ ที่อุปกรณ์แต่ละอย่างติดตั้งห่างกัน
– มีการสะท้อนของคลื่นแรงดันเกิน ระหว่างอุปกรณ์แบบเสริมกัน  แรงดัน
เกินสูงขึ้น 27
การประสานสัมพันธ์ของฉนวนในระบบ EHV และ UHV

• อุปกรณ์ในสถานีไฟฟ้า ส่วนใหญ่เป็นแบบฉนวนไม่คืนสภาพ
• พิจารณาทั้ง BIL และ SIL
• SIL ต้องทน/ป้องกัน ต่อแรงดันเกินสวิตชิ่งได้

28
พิจารณาระดับการฉนวนด้วย Risk of Failure
• ใช้ค่าทางสถิติมาพิจารณาความเหมาะสมของระดับการฉนวน (Insulation level)
• พิจารณาความเสี่ยงในการเกิด Flashover โดยคิดจาก Flashover voltage
distribution function และ overvoltage-probability density function
Vi

Risk of failure, R P0 Vi Pd Vi dVi


0

P0 Vi - ความน่าจะเป็นสาหรับการเกิดแรงดันเกิน ที่แรงดัน Vi ถึง Vi+dVi

Pd Vi - ความน่าจะเป็นสาหรับการ Flashover ของฉนวน

29
ความน่าจะเป็น

30
Safety Factor ( )
• กาหนดโดย IEC
• อัตราส่วนระหว่าง : ค่าแรงดันที่
ฉนวนทนได้ทางสถิติ (Vds) ต่อ ค่า
แรงดันเกินทางสถิติ (Vos)
Vds
Vos
• Safety margin มากขึ้น ความ
เสี่ยงที่จะล้มเหลวจะลดลง แต่
ค่าใช้จ่ายสาหรับฉนวนจะมากขึ้น

31
ขั้นตอนการพิจารณาระดับการฉนวน
• เลือกค่า Risk of Failure, R
• เลือกระดับ safety factor
• กาหนดค่าแรงดันที่ทนได้ของฉนวน (withstand voltage)
• ออกแบบค่าระดับการฉนวนของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ค่าประมาณ 90 – 95 %
ของค่า withstand voltage

32
แรงดันเกิน ระดับที่มีโอกาสเกิดขึ้น 2 % แรงดันที่ฉนวนทนได้ โดยมีความ
เสียหาย 10%

33
Vi

Risk of failure, R P0 Vi Pd Vi dVi


0

34
ผลของ Safety margin

การล้มเหลวจะลดลง
35
(ระดับป้องกัน, Protective level)

(ระดับฉนวน, Insulation level)

ระดับป้องกัน : Rod gap, Surge Arrester


ระดับฉนวน : อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าในสถานีไฟฟ้า 36
37

You might also like