You are on page 1of 147

ขอบเขตของงาน (TOR)

งานซื้อพร้อมติดตั้งระบบสมาร์ทไมโครกริด สาหรับศูนย์ฝึกอบรมบางปะกง

ด้วย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มีความประสงค์จะซื้อพร้อมติดตั้งระบบ


สมาร์ทไมโครกริด สาหรับศูนย์ฝึกอบรมบางปะกง วงเงินงบประมาณรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 31,618,500.00 บาท
โดยมีรายละเอียดสาระสาคัญของขอบเขตของงาน (TOR) และคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ ดังต่อไปนี้.-

1. ความเป็นมา
เนื่ องจาก การไฟฟ้าฝ่ ายผลิ ตแห่ งประเทศไทย (กฟผ.) ฝ่ ายพัฒ นาศักยภาพทรัพยากรบุคคลและ
คุณภาพ (อศค.) มีความประสงค์จะซื้อพร้อมติดตั้งระบบสมาร์ทไมโครกริด สาหรับศูนย์ฝึกอบรมบางปะกง
(BANGPAKONG TRAINING CENTER SMART MICROGRID SYSTEM) ณ ศู น ย์ ฝึ ก อบรมบางปะกง จั ง หวัด
ฉะเชิงเทรา เพื่อรักษาคุณภาพไฟฟ้า เพิ่มประสิทธิภาพและความมีเสถียรภาพของระบบไฟฟ้า และใช้เป็น
ต้ น แบบเทคโนโลยี ก ารผลิ ต พลั ง งานรู ป แบบใหม่ ใ นศู น ย์ ฝึ ก อบรมบางปะกง เพื่ อ รองรั บ การปรั บ เปลี่ ย น
ยุทธศาสตร์ของ กฟผ. ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว อันมีผลกระทบอย่าง
รุนแรงต่อการดาเนินธุรกิจ และความอยู่รอดขององค์การ ทาให้ กฟผ. จึงจาเป็นต้องเร่งปรับตัวในทุก ๆ ด้าน
โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมและพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีการผลิตพลังงานไฟฟ้ารูปแบบใหม่ ๆ ให้
บุ คลากร กฟผ. มีขีดความสามารถและศักยภาพที่จ ะปฏิบัติง านตามภารกิจใหม่ ๆ อีกทั้งโครงการนี้ยั ง มี
เป้าหมายเพื่อการวิจัยและพัฒนา การบริหารจัดการพลังงานแบบครบวงจร ทั้งด้านอุปสงค์และด้านอุปทาน
ด้วยการพัฒนาระบบการทางาน (Algorithm) ที่เหมาะสม ทาให้สามารถพยากรณ์ภาระทางไฟฟ้า ได้อย่าง
แม่นยา นอกจากนี้ยังจะสามารถขยายผลไปสู่พื้นที่ที่ระบบจาหน่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าเข้าไม่ถึง หรือระบบ
ไฟฟ้าไม่มีความมั่นคง นับเป็นการพัฒนา และประยุกต์ใช้พลังงานทดแทนซึ่งเป็นพลังงานสะอาดที่ไม่มีวันหมด
เป็ น การเพิ่มสั ดส่ ว นพลั งงานทดแทน และลดการพึ่งพานาเข้าพลั งงานจากต่างประเทศ ส่ งผลให้ องค์การ
สามารถแข่งขันและเจริญเติบโตได้อย่างยั่งยืนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนา
โครงข่ายสมาร์ทกริด (Smart Grid) ของประเทศ ตามแผนแม่บทการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดของ
ประเทศไทย พ.ศ. 2558 – 2579

ดังนั้นฝ่ายพัฒนาศักยภาพทรัพยากรบุคคลและคุณภาพ (อศค.) จึงมีความตั้งใจที่จะจัดทาการพัฒนา


ระบบสมาร์ทไมโครกริดสาหรับศูนย์ฝึกอบรมบางปะกง เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจหลักการ
ทางานของระบบสมาร์ทไมโครกริด
2. วัตถุประสงค์
ซื้อพร้อมติดตั้งระบบสมาร์ทไมโครกริดศูนย์ฝึกอบรมบางปะกง ภายใต้ความเห็นชอบด้านเทคนิคจากที่
ปรึกษาของ กฟผ. เพื่อใช้งานสาหรับแผนการพัฒนาระบบสมาร์ทไมโครกริดฯ ตามระบบดังต่อไปนี้
2.1. ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์และระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร
2.2. ระบบกักเก็บพลังงานเพื่อการศึกษาและจาลองสภาวะวิกฤต
2.3. ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่ (EV Charging Station)
2.4. ระบบ Smart Energy Trading Platform โดยมี Algorithm ที่สามารถเชื่อมต่อเพื่อบริหาร
จัดการและควบคุมอุปกรณ์ภายในระบบฯ
โดยงานก่อสร้างเป็นส่วนหนึ่งของการติดตั้งตามรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ

3. คุณสมบัติของผู้ยื่นข้อเสนอ
3.1 เป็นไปตามเอกสารประกวดราคาซือ้ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ข้อ 2 “คุณสมบัติของผู้
ยื่นข้อเสนอ”
3.2 ต้องเป็นนิติบุคคลที่ได้จดทะเบียนในประเทศไทยถูกต้องตามกฎหมายและประกอบธุรกิจเกี่ยวกับ
ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์มาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี
3.3 ต้องมีผลงาน ที่เกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งเป็นคู่สัญญาโดยตรงกับ
หน่วยงานที่เป็นส่วนราชการ องค์การ เทศบาล รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนในประเทศไทยที่ กฟผ. เชื่อถือ สาหรับ
งานโครงการนั้นๆ มิใช่ผู้รับจ้างช่วง โดยผลงานนั้นต้องเป็นผลงานแล้วเสร็จภายในระยะเวลา 5 ปี นับถึงวันที่
เสนอราคา โดยมีราคางานสัญญาเดียวไม่ต่ากว่า 10,000,000 บาท (สิบล้านบาทถ้วน) รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม

4. รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
ตามเอกสารแนบ จานวน 1 เล่ม

5.เอกสารประกอบการยื่นข้อเสนอ
ผู้ยื่นข้อเสนอต้องยื่นเอกสารอย่างน้อยดังต่อไปนี้ เพื่อประกอบการพิจารณาในวันที่กาหนดยื่นข้อเสนอ
5.1 หลักฐานยืนยันคุณสมบัติผู้ยื่นข้อเสนอตามที่กาหนดในข้อ 3 ดังนี้
- หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (ตาม TOR ข้อ 3.2)
- หนังสือรับรองผลงาน กรณีเป็นคู่สัญญาเป็นหน่วยงานเอกชนให้แนบสาเนาสัญญามาด้วย
(ตาม TOR ข้อ 3.3)
5.2 เอกสารอื่นๆ
- ผู้ ยื่ น ข้ อ เสนอต้ อ งจั ด ท าตารางเปรี ย บเที ย บคุ ณ ลั ก ษณะเฉพาะ (Proposal Data) ของ
อุปกรณ์ที่เสนอกับข้อกาหนด กฟผ. ให้ครบถ้วน พร้อมระบุยี่ห้อ รุ่น ที่เสนอ
- สาเนาใบขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) หรือ สาเนา
หนังสือรับรองสินค้า Made in Thailand (ถ้ามี)
ผู้ยื่นข้อเสนอที่มีคุณสมบัติไม่ถูกต้อง หรือยื่นหลักฐานการยื่นข้อเสนอไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน หรือ
ยื่นข้อเสนอไม่ถูกต้อง คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะไม่รับพิจารณาข้อเสนอ
ของผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้น

6. หลักประกันการเสนอราคา
กาหนดมูลค่าเป็นจานวนเต็มในอัตราร้อยละ 5 ของวงเงินงบประมาณรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นเงิน
1,580,925.00 บาท (หนึ่งล้านห้าแสนแปดหมื่นเก้าร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน)

7. หลักเกณฑ์การเสนอราคาและเกณฑ์การพิจารณา
7.1 ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอราคาครบทุกรายการ
7.2 กฟผ. จะพิจารณาตัดสินโดยใช้ หลักเกณฑ์ราคา โดยพิจารณารับราคารวมต่าสุดและรายละเอียด
ถูกต้องตามข้อกาหนด กฟผ. และเป็นไปตามเอกสารประกวดราคาซื้อด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
ข้อ 6 “หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา”

8. ระยะเวลาดาเนินการ
งวดที่ 1 ส่งมอบ ระบบโซลาร์เซลล์บนดิน , ระบบโซลาร์เซลล์ระบบทุ่นลอยน้า, งานติดตั้ง Transfer
Switch 22kV และ งานก่อสร้างบ้านกระแสตรงอัจฉริยะ ให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน นับถัดจากวันลงนามใน
สัญญา
งวดที่ 2 ส่งมอบ งานก่อสร้างหลังคาอาคารและปรับปรุงบันได, ระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคาอาคาร,
ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร และ ระบบกักเก็บพลังงาน ให้แล้วเสร็จ ภายใน 140 วัน นับถัดจากวัน
ลงนามในสัญญา
งวดสุดท้าย ส่งมอบงานทั้งหมดให้แล้วเสร็จเรียบร้อยตามสัญญา รวมทั้งทาสถานที่ก่อสร้างให้สะอาด
เรียบร้อย ให้แล้วเสร็จภายใน 210 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา.
การส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้ ไม่ว่าจะเป็นการส่งมอบเพียงครั้งเดียว หรือส่งมอบหลายครั้ง ผู้ขาย
จะต้องแจ้งกาหนดเวลาส่งมอบแต่ละครั้งโดยทาเป็นหนังสือนาไปยื่นต่อ กฟผ. ณ สถานที่ตรวจรับในวันและ
เวลาทาการของ กฟผ. ก่อนวันส่งมอบไม่น้อยกว่า 3 วันทาการ ของ กฟผ.
9. การติดตั้งและทดสอบ
ผู้ขายจะต้องเป็นผู้ขนส่งอุปกรณ์ไปยังสถานที่ที่ กฟผ. กาหนด ตามรายละเอียดในตารางแสดงสถานที่
ติดตั้ง ทั้งนี้หากอุปกรณ์เกิดความเสียหาย เนื่องจากการขนส่ง ผู้ขายต้องรับผิดชอบในความเสียหายดังกล่าว
โดยผู้ขายจะต้องดาเนินการติดตั้งอุปกรณ์ ทดสอบ และนาอุปกรณ์เข้าใช้งานตามมาตรฐานผู้ผลิต และต้องทา
หนังสือรับรองการติดตั้ง ทดสอบและนาอุปกรณ์เข้าใช้งานให้เป็นที่เรียบร้อย
ในกรณีที่หน่วยงานของ กฟผ. ไม่พร้อมที่จะให้ติดตั้ง อุปกรณ์ตามกาหนดเงื่อนไขการส่งของและติดตั้ง
ผู้ขายจะต้องให้ผู้ประสานงาน หรือผู้ใช้งานในหน่วยงานของ กฟผ. ลงนามไว้เป็นหลักฐานตามแบบฟอร์ม
เอกสารใบตรวจรับที่กาหนด
ในกรณีที่ทดสอบไม่ผ่านผู้ขายต้องทาการแก้ไขให้แล้วเสร็จเรียบร้อยถูกต้องครบถ้วน ตามข้อกาหนด
กฟผ.

10. การรับประกัน
ผู้ขายจะต้องรับประกันคุณภาพสิ่งของตามสัญญาภายในระยะเวลา 2 ปี นับจากวันที่คณะกรรมการ
ตรวจรับได้ลงนามตรวจรับมอบสิ่งของไว้ถูกต้องเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
หากสิ่งของตามสัญญานี้เกิดชารุดบกพร่องหรือขัดข้องอันเนื่องมาจากการใช้งานตามปกติ ผู้ขายจะต้อง
จัดการซ่อมแซมหรือแก้ไขให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดีดังเดิม ภายใน 15 วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งจาก กฟผ.
โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น หากผู้ขายไม่จัดการซ่อมแซมหรือแก้ไขภายในกาหนดเวลาดังกล่าว กฟผ. มีสิทธิ
ที่จะทาการนั้นเองหรือจ้างผู้อื่นให้ทาการนั้นแทนผู้ขาย โดย ผู้ขายต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเองทั้งสิ้น

11. หลักประกันสัญญา
กาหนดเป็นจานวนเต็มในอัตราร้อยละ 5 ของมูลค่าตามสัญญารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม

12. หลักเกณฑ์การตรวจรับ
กฟผ. จะตรวจรั บ เมื่อ เห็ น ว่ า มี คุ ณ สมบั ติ ถู ก ต้อ ง หรื อ ใช้ ง านได้ ถู ก ต้อ งครบถ้ ว นตามสั ญ ญา และ
คณะกรรมการตรวจรับได้ลงนามตรวจรับไว้เป็นที่เรียบร้อย
ในกรณีที่ผู้ขายส่งมอบสิ่งของถูกต้องแต่ไม่ครบจานวน หรือส่งมอบครบจานวน แต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด
ผู้ซื้อจะตรวจรับเฉพาะส่วนที่ถูกต้อง โดยออกหลักฐานการตรวจรับเฉพาะส่วนนั้นก็ได้

13 หลักเกณฑ์การจ่ายเงิน
กฟผ. จะจ่ายเงินเป็นรายงวด ดังนี้.-
กฟผ. จะจ่ายเงินค่าสิ่งของตามสัญญาให้กับผู้รับจ้างเป็นจานวน 3 งวด เมื่อผู้ขายส่งมอบงาน
ให้แก่ กฟผ. ครบถ้วนตามจานวน ถูกต้องตามสัญญา และคณะกรรมการตรวจรับได้กระทาการตรวจ
รับไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนี้
งวดที่ 1 จานวนร้อยละ 18.87 ของราคาตามสัญญา หลังจากที่ ส่งมอบงานงวดที่ 1 ตามข้อ 8
แล้วเสร็จ และคณะกรรมการตรวจรับงานซื้อได้ตรวจรับงานเรียบร้อยแล้ว
งวดที่ 2 จานวนร้อยละ 66.38 ของราคาตามสัญญา หลังจากที่ ส่งมอบงานงวดที่ 2 ตามข้อ 8
แล้วเสร็จ และคณะกรรมการตรวจรับงานซื้อได้ตรวจรับงานเรียบร้อยแล้ว
งวดที่ 3 จานวนร้อยละ 14.75 ของราคาตามสัญญา หลังจากที่ ส่งมอบงานงวดที่ 3 ตามข้อ 8
แล้วเสร็จ และคณะกรรมการตรวจรับงานซื้อได้ตรวจรับงานเรียบร้อยแล้ว

14. บทปรับ
กรณีส่งมอบงานทั้งระบบล่าช้ากว่ากาหนด กฟผ. จะปรับเป็นรายวันในอัตราตายตัวร้อยละ 0.10 ของ
ราคางานทั้งหมดตามสัญญารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม

15. เงื่อนไขในการจัดหา
การเสนอราคาครั้งนี้ย่อมไม่ผูกพัน กฟผ. หากงบประมาณรายการนี้ไม่ได้รับอนุมัติ

16. ข้อกาหนดด้านลิขสิทธิ์
ผู้ขายต้องส่งมอบงานพร้อมลิขสิทธิ์ต่างๆ จัดส่งให้ กฟผ. และไม่มีสิทธิ์ที่จะเผยแพร่หากมิได้รับอนุญาต
จาก กฟผ.

17. ข้อกาหนดอื่นๆ (ถ้ามี)


(1) ข้อกาหนดด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน
(2) ข้อกาหนดทางวิชาการ
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
สารบัญ
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ................................................................................................................. 1
สารบัญ ..................................................................................................................................................... 1
หัวข้องาน ................................................................................................................................................. 4
ระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ (PV System) ................................................................................ 5
ขอบเขตงานในภาพรวมของระบบโซลาร์เซลล์ทั้ง 3 ประเภท ............................................................... 5
ชนิดของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ (PV Module) ตามตาแหน่งติดตั้ง ........................................................ 6
คุณสมบัติเฉพาะ .................................................................................................................................. 6
ตรวจรับและรับประกัน ........................................................................................................................ 7
ระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคาอาคาร ........................................................................................................... 7
ระบบโซลาร์เซลล์บนดิน ........................................................................................................................... 7
ชุดเครื่องมือสาหรับวัดคุณสมบัติทางไฟฟูาของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ 1 ชุด .......................................... 7
เครื่อง Digital Multimeter ................................................................................................................. 9
ระบบโซลาร์เซลล์ระบบทุ่นลอยน้า..........................................................................................................10
งานก่อสร้างหลังคาอาคาร และปรับปรุงบันได ........................................................................................11
ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (Building Energy Management) ............................................13
ขอบเขตงาน .......................................................................................................................................13
ตรวจรับ .............................................................................................................................................17
ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System).................................................................................18
ระบบกักเก็บพลังงาน .........................................................................................................................18
ระบบกักเก็บพลังงานแบบรวมศูนย์ (Centralized Energy Storage) ...............................................20
ระบบกักเก็บพลังงานแบบกระจายศูนย์ (Decentralized Energy Storage).....................................22
Smart DC house.............................................................................................................................22
ระบบบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงาน (Battery Management System) ..................................22
มาตรฐาน ...........................................................................................................................................23

-1-
การติดตั้ง ...........................................................................................................................................23
การทดสอบ/การตรวจรับ ...................................................................................................................24
การรับประกัน ....................................................................................................................................24
ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่ (EV Charging Station)..............................................................................25
ระบบชาร์จไฟฟูาแบบเร่งด่วน (Fast Charging).................................................................................26
ระบบประจุไฟฟูาแบบสองทาง และ AC Charger Station ขนาด 22 kW.........................................27
ระบบประจุไฟฟูาแบบสองทาง (G2V and V2G) ...............................................................................28
AC EV Charger ขนาด 22 kW..........................................................................................................28
งานตกแต่งภูมิทัศน์ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่ ..................................................................................29
การตรวจรับ .......................................................................................................................................29
การรับประกัน ....................................................................................................................................29
งานติดตั้ง Transfer Switch 22kV.........................................................................................................30
งานก่อสร้างบ้านกระแสตรงอัจฉริยะ (Smart DC House) .....................................................................32
ขอบเขตงาน .......................................................................................................................................32
ตรวจรับ .............................................................................................................................................34
รับประกัน ..........................................................................................................................................34
งานตกแต่งห้องนิทรรศการ .....................................................................................................................35
ระบบจัดแสดง Smart Microgrid ......................................................................................................35
ระบบไฟฟูา ห้องนิทรรศการ ..............................................................................................................35
ระบบปรับอากาศจานวน 2 เครื่อง .....................................................................................................36
ระบบ Peer to Peer Trading Platform และ ระบบ Central Control ..............................................37
Smart Trading Platform (Software) ............................................................................................37
Server and Smart Monitor and Control for Smart Trading Platform ..................................38
การส่งมอบ .............................................................................................................................................41
ข้อมูลจาเพาะ มาตรฐานอุปกรณ์ และรายละเอียดของอุปกรณ์ประกอบร่วม ..........................................42
ระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์และอุปกรณ์ประกอบร่วม.........................................................42
แผงสวิทซ์ย่อย (Panel board) ..........................................................................................................61
อุปกรณ์เดินสายไฟฟูา ........................................................................................................................62
Circuit Breaker Box (Enclosed Circuit Breaker).........................................................................67
สายไฟฟูาแรงต่า ................................................................................................................................68

-2-
ระบบต่อลงดิน ...................................................................................................................................70
ระบบปูองกันฟูาผ่า ............................................................................................................................73
สายสัญญาณ ......................................................................................................................................75
การอุดช่องเดินท่อ ช่องเจาะ ด้วยวัสดุปูองกันไฟและควันลาม (Fire Barrier System) ......................78
สายไฟฟูาชนิดทนไฟ (Fire Resistance Cable) ................................................................................79
การทาสีปูองกันการผุกร่อนและรหัสสี ................................................................................................81
ผลิตภัณฑ์อ้างอิง ................................................................................................................................84
Static Transfer Switch (STS) .........................................................................................................85
รายละเอียดและข้อมูลการสารวจพื้นที่ติดตั้งเบื้องต้น .........................................................................86
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน .................................................................................................88
มาตรฐานฝีมือช่าง ..............................................................................................................................88
แนวทางปฏิบัติตามกฎกระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพั สดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือ
สนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2563 .........................................................................................................89
ข้อกาหนดทางวิชาการ .......................................................................................................................90

-3-
หัวข้องาน
เพื่อความชัดเจน กฟผ. จะแบ่งหัวข้องานดังนี้
1. ระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ (PV System)
1.1 ระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคาอาคาร
1.2. ระบบโซลาร์เซลล์บนดิน
1.3. ระบบโซลาร์เซลล์แบบทุ่นลอยน้า
1.4. งานก่อสร้างหลังคาอาคาร และปรับปรุงบันได
1.5. ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (Building Energy Management)
2. ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System)
3. ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่ (EV Charging Station)
• งานติดตั้ง DC Charger Station
• งานติดตั้ง AC Charger Station แบบ V2G
• งานติดตั้ง AC Charger Station
• งานตกแต่งภูมิทัศน์ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่
4. ระบบจาลองการซื้อ-ขายพลังงาน (Peer to Peer Trading Platform) และศูนย์ควบคุมระบบ
กาลังไฟฟูา (Central Control)
4.1 งานติดตั้ง Transfer Switch 22kV
4.2 งานก่อสร้างบ้านกระแสตรงอัจฉริยะ (Smart DC House)
4.3 งานตกแต่งห้องนิทรรศการ
4.4 ระบบ Peer to Peer Trading Platform และ ระบบ Central Control

-4-
ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ (PV System)

ขอบเขตงานในภาพรวมของระบบโซลาร์เซลล์ทั้ง 3 ประเภท
ติดตั้งระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบติดตั้ง ลักษณะต่าง ๆ ตามที่ กฟผ. กาหนด โดยมี
กาลังผลิตติดตั้งรวมไม่น้อยกว่า 350 kWp ที่ STC (Standard Test Condition) โดยมีพื้นที่ติดตั้ง 4 แห่ง
และข้อกาหนดดังนี้
พื้นที่ ชนิด กาลังติดตั้ง (kW)
อาคาร Simulator บนหลังคา Metal Sheet 200
อาคาร 9 (อาคารนพนที) บนหลังคา Metal Sheet 50
บนพื้น ข้างอาคารยานพาหนะ On ground / Ground-Mounted 50
บนน้า ข้างอาคารยานพาหนะ Solar Floating System 50
กาลังติดตั้งรวม 350

ตาแหน่งติดตั้งระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์

มีค่า Performance Ratio (PR) ไม่ต่ากว่า 78 เปอร์เซ็นต์ ทุกจุดที่มีการติดตั้ง


ติดตั้งระบบผลิตไฟฟูาฯ แบบ Grid Connected System โดยเชื่อมต่อไปยังตู้ MDB ที่ กฟผ.
กาหนดไว้ในแต่ละพื้นทีท่ ี่ได้มีการติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์

-5-
ปรับปรุงตู้ MDB เดิมเพื่อให้รองรับการเชื่อมต่อระบบผลิตไฟฟูาจากเซลล์แสงอาทิตย์ ให้เป็นไป
ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟูา
ติดตั้ง Smart Meter ที่ตู้ MDB เพื่อวัดค่าพลังงานไฟฟูาที่ใช้งาน (Load อาคาร) และค่าพลังงาน
ไฟฟูาที่ผลิตได้จากระบบผลิตไฟฟูาฯ แยกจากกัน
ปรับปรุงระบบปูองกันฟูาผ่าของแต่ละอาคารให้มีความสามารถในการปูองกันความเสียหายที่จะ
เกิดขึ้นกับระบบผลิตไฟฟูาจากเซลล์แสงอาทิตย์ และอาคารที่ดาเนินการติดตั้ง
ติดตั้ง ชุดควบคุมและ โปรแกรมแสดงผลการผลิตพลังงาน
ติดตั้งบันไดทางขึ้นลง Walk Way Lifeline และ กันตก (สาหรับอาคาร Simulator) ให้สามารถ
เดินเข้าพื้นที่ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์ได้อย่างสะดวก และมีความปลอดภัย
จัดทารายการคานวณโครงสร้างและ Single Line Diagram ระบบเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบ
ควบคุม และ ระบบตรวจสอบและติดตามการผลิตไฟฟูาพร้อมกับให้สามัญวิศวกรลงนามรับรองรายการ
ดังกล่าวและส่งมอบให้ กฟผ. พิจารณา ก่อนดาเนินการใดๆ

ชนิดของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ (PV Module) ตามตาแหน่งติดตั้ง


แผงเซลล์แสงอาทิตย์มีทั้งหมด 3 ชนิด ประกอบด้วย
1. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด Crystalline Silicon แบบ Half-cut Cells เป็นพัสดุที่ผลิต/
ประกอบในประเทศ กาลังติดตั้งไม่น้อยกว่า 200 kW ติดตั้งที่อาคาร Simulator
2. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด Crystalline Silicon แบบมาตรฐานทั่วไป เป็นพัสดุผลิต
ภายในประเทศ ที่ได้รับการรับรองจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กาลังติดตั้งไม่น้อยกว่า 50 kW
ติดตั้งที่อาคาร 9
3. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด Crystalline Silicon แบบ Hot Spot Free (มีไดโอดครบทุกเซลล์)
ขนาดติดตั้งไม่น้อยกว่า 50 kW ติดตั้งบนพื้น (Ground-Mounted)
4. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด Crystalline Silicon แบบ Double Glass เป็นพัสดุที่ผลิต/
ประกอบในประเทศ ขนาดติดตั้งไม่น้อยกว่า 50 kW ติดตั้งบนน้า (PV Floating System)

คุณสมบัติเฉพาะ
เป็นไปตามหัวข้อ ข้อมูลจ าเพาะ มาตรฐานอุปกรณ์ และรายละเอียดของส่วนประกอบร่วม ที่
เกี่ยวข้อง

-6-
ตรวจรับและรับประกัน
เป็นไปตามหัวข้อ ข้อมูลจ าเพาะ มาตรฐานอุปกรณ์ และรายละเอียดของส่วนประกอบร่วม ที่
เกี่ยวข้อง

ระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคาอาคาร
 ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบ Half Cell ที่อาคาร Simulator ขนาดไม่น้อยกว่า 200 kW บน
หลังคาที่ก่อสร้างใหม่ตามหัวข้อ 1.4 งานก่อสร้างหลังคาอาคาร และปรับปรุงบันได
 ระบบน้าล้างแผงและอุปกรณ์ เพื่ออานวยความสะดวกในการทางานและฝึกอบรม
 ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบมาตรฐานทั่วไปขนาดไม่น้อยกว่า 50 kW ที่อาคาร 9

ระบบโซลาร์เซลล์บนดิน
ติดตั้งบนพื้นปูน บนอ่างเก็บน้าดิบ ผู้ขายต้องออกแบบและคานวณน้าหนัก รวมทั้งวิธีการติดตั้ง
ให้กรรมการพิจารณาก่อนดาเนินการ

ชุดเครื่องมือสาหรับวัดคุณสมบัติทางไฟฟูาของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ 1 ชุด
ชุดเครื่องมือวัดคุณสมบัติทางไฟฟูาของแผงเซลล์แสงอาทิตย์มีทั้งหมด 2 เครื่อง ประกอบด้วย 1.
เครื่องตรวจสอบความปลอดภัยทางด้านไฟฟูาของระบบเซลล์แสงอาทิตย์ 2. เครื่องวัดประสิทธิภาพของ
ระบบเซลล์แสงอาทิตย์ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

เครื่องตรวจสอบความปลอดภัยทางด้านไฟฟูาของระบบเซลล์แสงอาทิตย์
 เป็นเครื่องมือมัลติฟังก์ชั่นสาหรับการทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟูา (Electrical Safety Testing)
และการแก้ไขปัญหา (Troubleshooting) ของระบบเซลล์แสงอาทิตย์
 สามารถวัดความเป็นฉนวนและสามารถปรับแรงดันในการทดสอบได้ถึง 1,500 Vdc
 มีฟังชั่นตรวจวัด Ground Fault Locator (GFL) ที่สามารถปรับแรงดันในการทดสอบได้ถึง 1,500
Vdc
 สามารถตรวจวัดความต่อเนื่องของตัวนา (Continuity of the Protective Conductor)
 แรงดันไฟฟูากระแสตรงต้องมีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 1 %
 ค่าความเป็นฉนวน (Insulation Resistance) มีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5 %
 การตรวจวัด Continuity of protection conductors (RPE) มีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 2 %
 Ground Fault Locator (GFL) มีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5 %

-7-
 มีหน่วยความจา (Memory) ในเครื่องสามารถเก็บข้อมูลการทดสอบได้ไม่น้อยกว่า 900 ครั้ง
 สามารถใส่แบตเตอรี่ในเครื่องได้
 มี Output Interface เป็น USB
 ได้รับมาตรฐานดังต่อไปนี้
 Instrument’s safety : IEC/EN61010-1, IEC/EN61010-2-030
IEC/EN61010-2-033, IEC/EN61010-2-034
 EMC : IEC/EN61326-1
 Safety of measurement accessories : IEC/EN61010-031
 General : IEC/EN62446
 Measurement M : IEC/EN 61557-2
 Measurement RPE : IEC/EN 61557-4

เครื่องวัดประสิทธิภาพของระบบเซลล์แสงอาทิตย์
 เป็นอุปกรณ์ที่สามารถตรวจวัดประสิทธิภาพของระบบเซลล์แสงอาทิตย์ได้
 เป็นเครื่องมือที่สามารถตรวจวัดความเข้มรังสีอาทิตย์และอุณหภูมิของแผงเซลล์แสงอาทิตย์
 สามารถตรวดวัดกาลังไฟฟูาได้ทั้ง AC และ DC
 สามารถตรวจวัดกาลังไฟฟูา AC ได้ 3 เฟส
 สามารถตรวจวัดและวิเคราะห์คุณภาพไฟฟูา (Power Quality Analyzer)
 สามารถตรวจวัดแรงดันไฟฟูาฝั่ง DC ได้ 0 – 1,000 V และมีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 0.5 %
 สามารถตรวจวัดแรงดันไฟฟูาฝั่ง AC (TRMS) ได้ 0 – 1,000 V และมีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 0.5 %
 สามารถวัดกระแส AC ได้ 0 – 300 A
 สามารถวัด ความถี่ (Frequency), Power Factor, Flicker และมีความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน 1 %
 สามารถตรวจวัด Active Power, Reactive Power, Apparent Power
 สามารถใส่แบตเตอรี่เป็นแหล่งพลังงานของเครื่องมือได้
 มีหน่วยความจาในตัว (Internal Memory) และสามารถต่อเชื่อมกับ External Memory ที่เป็น USB
Strick ได้
 มี Port Interface เป็น USB
 ได้รับมาตรฐานดังต่อไปนี้

-8-
 Safety: IEC/EN61010-1
 Safety of measurement accessories: IEC/EN61010-031, IEC/EN61010-2-032
EMC: IEC/EN61326-1
 Quality networks: IEC/EN50160
 Quality of power measurements: IEC/EN61000-4-30 class B
 Flicker: IEC/EN61000-4-15, IEC/EN50160
 Unbalance: IEC/EN61000-4-7, IEC/EN50160

เครื่อง Digital Multimeter


ผู้ขายจะต้องจัดหาเครื่อง Digital Multimeter ทั้งหมด 5 เครื่อง ซึ่งมีรายละเอียดคุณสมบัติ
ดังต่อไปนี้
Absolute Maximum AC Current Measurement 400A ac หรือดีกว่า
Absolute Maximum DC Current Measurement 400A dc หรือดีกว่า
Absolute Maximum AC Voltage Measurement 600V ac หรือดีกว่า
Absolute Maximum DC Voltage Measurement 600V dc หรือดีกว่า
Absolute Maximum Resistance Measurement 40kΩ หรือดีกว่า
AC Current Measurement Resolution 10mA หรือดีกว่า
DC Current Measurement Resolution 10mA หรือดีกว่า
Best DC Current Accuracy ±(2% rdg + 5dgts) หรือดีกว่า
Clamp Meter Type AC/DC Clamp Meter หรือดีกว่า
Best AC Current Accuracy ±(2% rdg + 5dgts) หรือดีกว่า
Best AC Voltage Accuracy ±(1.5% rdg + 5dgts) หรือดีกว่า
Best DC Voltage Accuracy ±(1% rdg + 5dgts) หรือดีกว่า
Maximum Operating Temperature +50°C หรือดีกว่า
DC Current Measurement Range 40 → 400 A dc หรือดีกว่า
Minimum Operating Temperature -10°C หรือดีกว่า
AC Voltage Measurement Resolution 100mV หรือดีกว่า
AC Current Measurement Range 40 → 400 A ac หรือดีกว่า
Safety Category Level CAT III, CAT IV

-9-
Safety Category Voltage 300 V, 600 V หรือดีกว่า
AC Voltage Measurement Range 600 V ac หรือดีกว่า
Functions Measured AC Current, AC Voltage, Capacitance,
Continuity, DC Current, DC Voltage,
Frequency, Resistance,
DC Voltage Measurement Resolution 100 mV หรือดีกว่า
Resistance Measurement Resolution 100 mΩ หรือดีกว่า
Power Source Battery
Safety Category CAT III 600V, CAT IV 300V
Display Type LCD
การรับประกัน รับประกันอย่างน้อย 1 ปี

ระบบโซลาร์เซลล์ระบบทุ่นลอยน้า
ดาเนินการออกแบบ ก่อสร้าง ตกแต่ง และติดตั้งตามหัวข้อ ดังนี้
 ออกแบบ ตามแบบวาดอ้างอิง ตามเอกสารแนบ แบบวาดสระน้า.docx จานวน 1 แผ่น
 เสนอแบบหรือแผนการดาเนินงานให้กรรมการพิจารณาก่อนดาเนินการ
 สามารถแบ่งส่วนงานในการนาเสนอ
 งานขุดดินสระน้า ไม่ต่ากว่า 7,500 ลบ.ม.
 ความลึก 1-2 เมตร ความลึกเฉลี่ย 1.5 เมตร
 พื้นที่ 5,000 ตร.ม.
 งานขุดดินคลองไส้ไก่
 ขนาด กว้าง 1 ม. ลึก 1.5 ม. ยาว 150 ม. โดยประมาณ
 เชื่อมระหว่างโคก และหนองน้าเดิมและสระน้าใหม่
 งานถมบริเวณ ไม่ต่ากว่า 4,500 ลบ.ม.
 งานก่อสร้างลาน คสล.วงกลมขนาดพื้นที่ตามแบบ ความหนาพื้น คสล. ไม่น้อยกว่า 20 ซม. เสริมเหล็ก
ข้ออ้อยขนาดไม่น้อยกว่า 16 มม.ระยะห่างเหล็กเสริมตะแกรงขนาด 0.20x0.20 ม.สองชั้น บน-ล่าง
(หรืออาจเสนอเป็นตะแกรงสาเร็จรูปที่มีความแข็งแรงไม่น้อยกว่าที่ระบุข้างต้น) และสะพานไม้ หรือ
เหล็ก หรือคอนกรีต ความกว้างไม่น้อยกว่า 2 เมตร โดยจัดทารายละเอียดขออนุมัติกรรมการก่อน
ดาเนินการก่อสร้าง

- 10 -
 งานระบบสูบน้า
 ปั๊มน้า จานวน 2 ตัว
 ระบบท่อหรือราง ระบบสูบน้า และระบบระบายน้า
 หรือ จานวน ขนาด รูปแบบ ที่เหมาะสมโดยเสนอแบบต่อกรรมการก่อนดาเนินการ
 งานปรับภูมิทัศน์ เสนอแบบต่อกรรมการก่อนดาเนินการ
 ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด Double Glass ขนาดติดตั้งไม่น้อยกว่า 50 kW บนสระน้าข้างต้น
เป็นลักษณะ PV Floating System
 ให้เสนอตาแหน่งติดตั้ง ชนิดทุ่นลอยน้าและรูปแบบการยึดโยง ให้กรรมการพิจารณาก่อนดาเนินการ

งานก่อสร้างหลังคาอาคาร และปรับปรุงบันได
ดาเนินการก่อสร้างและติดตั้งตามหัวข้อ ดังนี้
 แบบวาดตามเอกสารแนบ แบบวาดหลังคาและบันได.pdf จานวน 19 แผ่น
 หลังคานี้จะใช้สาหรับ ติดตั้ง ระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคาอาคาร
 หลังคาเมทัลชีตที่นามาใช้ต้องมีความหนารวมชั้นเคลือบไม่น้อยกว่า 0.45 มม. ตามมาตรฐาน มอก.
2228-2559 ความสูงสันลอนไม่น้อยกว่า 38 มม. เคลือบสังกะสีผสมอลูมิเนียมมาตรฐาน AZ150
(พร้อมมีใบรับรองจากผู้ผลิตวัสดุว่ามีการเคลือบสังกะสีผสมอลูมิเนียมมาตรฐาน AZ150 ) ความ
แข็งแรง (tensile strength) ไม่น้อยกว่า G 550 mpa. มีฉนวน PU ความหนาประมาณ 1-2 นิ้ว
ความหนาแน่นของ PU ไม่น้อยกว่า 35 กก./ลบ.ม. ด้านล่าง PU อาจใช้เป็นระบบอลูมินั่มฟอยล์ หรือ
เมทัลชีตแชนด์วิชก็ได้
 หลังคาต้องมีจุดยึด และราวกันตก พร้อม walk way สาหรับบารุงรักษา และใช้ในการสาธิตหรือเข้า
ชม ระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคาอาคาร
 เหล็กรูปพรรณที่ใช้ในการก่อสร้างต้องเป็นเหล็กที่ได้ มอก. เมื่อประกอบด้วยการเชื่อมแล้วเสร็จต้อง
ทาสีกันสนิมตามมาตรฐาน มอก. ที่สามารถทนการกัดกร่อนของไอน้าทะเลได้ ตามมาตรฐาน มอก.
ไม่น้อยกว่า 2 ชั้น และทาสีทับหน้า 2 ชั้น โดยต้องเสนอแคตตาล็อค เอกสารรับรองคุณภาพจาก
ผู้ผลิตมาให้กรรมการพิจารณาอนุมัติก่อนดาเนินการก่อสร้าง
 หลังคาต้องไม่รั่วซึม และมีระบบระบายน้า
 สภาพภูมิอากาศ
 ระบบน้าล้างแผงและอุปกรณ์ เพื่ออานวยความสะดวกในการทางานและฝึกอบรม

- 11 -
 ย้ายหรือติดตัง้ ใหม่ สายล่อฟูาและอุปกรณ์อื่นเดิมที่มีอยู่ พร้อมทั้งตรวจสอบความต้านทาน หากระบบ
เดิมไม่สามารถใช้งานได้เนื่องจากกราวด์ร็อดหรือสายทองแดงเดิมทรุดตัว ขาด หรือช ารุด จะต้อง
ดาเนินการติดตั้งกราวด์ร็อดพร้อมสายทองแดงให้เชื่อมต่อกับระบบล่อฟูาใหม่ให้สามารถใช้งานได้
อย่างปลอดภัย และต้องออกแบบให้สามารถรองรับการทรุดตัวของดินภายนอกอาคารในอนาคตได้
อย่างปลอดภัย
 ไม่รวมปล่องระบายอากาศเดิม
 ปรับปรุงท่อและปล่องระบายอากาศเดิม ตามความเหมาะสม
 ก่อสร้าง หรือปรับปรุง บันไดภายในอาคาร และ ภายนอกอาคารสาธิตทั้ง 3 จุด
 ให้ผู้ขายปรับปรุงแก้ไขแบบตามสถานที่จริง โดยอ้างอิงตามเอกสารแนบหลังคาและบันได

- 12 -
ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (Building Energy Management)
ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (BEMS) เป็นระบบควบคุมการใช้ภาระทางไฟฟูาในอาคาร
ภายในศูนย์ฝึกอบรมบางประกง ซึ่งมีรายละเอียดดังแสดงในตาราง ดังนี้
ชนิดห้อง จานวนห้อง อุปกรณ์ที่ต้องติดตั้ง
ห้องพัก 216 - Wireless Control (เครื่องปรับอากาศ/แสงสว่าง)
ห้องอบรม 18 - Smart Switch Board Control (แสงสว่าง)
ห้องพักพิเศษ 40 - Real Time Power Monitoring
- Temperature and Humidity Sensor
ห้องอบรม 18 - Motion Sensor (Automatic On/Off)
ห้องพักพิเศษ 40 - Daylight Harvesting
- Air Quality Sensor
รวม 274

ขอบเขตงาน
ระบบตรวจวัดและควบคุมอัตโนมัติที่นาเข้ามาใช้เพื่อให้การผลิต การส่งพลังงาน รวมถึง
การใช้พลังงานให้เป็นไปอย่างเหมาะสมที่สุด โดยที่ระบบจะต้องสามารถควบคุมทางไกลอัตโนมัติ ผ่าน
Web Application/ Platform สาหรับควบคุมเครื่องใช้ไฟฟูา ทั้งเปิด-ปิด หรือควบคุมในรูปแบบอื่น เช่น
แสงสว่าง อุณหภูมิ ระยะเวลาการใช้งาน เป็นต้น และต้องสามารถส่งข้อมูลจากเซ็นเซอร์ในระบบบริหาร
จัดการพลังงาน เช่น เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ เซ็นเซอร์วัดความชื้น เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว
สถานะของระบบปรับอากาศ รวมถึงระบบแสงสว่าง ค่าวัดจาก Power Meter ค่าจากระบบผลิตไฟฟูา
พลังงานแสงอาทิตย์และระบบกักเก็บพลังงานและอุปกรณ์อื่นมายังฐานข้อมูลของ กฟผ. ผ่านเครือข่าย
Internet และ Ethernet ของ ศูนย์ฝึกอบรมบางประกง โดยระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร
Building Energy Management System (BEMs) นี้ จะจัดท าภายในห้องพัก ห้องประชุม และห้อง
อบรม โดยมีรายละเอียดดังนี้
 ระบบ BEMS ต้องสามารถท างานสอดคล้องกับระบบผลิตไฟฟูาเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบกักเก็บ
พลังงานที่ติดตั้งได้
 วัสดุและอุปกรณ์ต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยใช้งานมาก่อน โดยในแต่ละอุปกรณ์ต้องมีเอกสารที่แสดง
Part Number และ Serial Number ของแต่ละ Part อุปกรณ์นั้น
 ระบบ BEMS จะต้องแสดงผลและควบคุมระยะไกล ผ่านระบบ Internet ได้

- 13 -
 มีปูายแสดงรายละเอียดให้ชัดเจน
 มีระบบแสดงผล Smart Monitoring System สาหรับระบบ BEMS อย่างน้อย 4 จุด อยู่ตามอาคารที่
มีการติดตั้งระบบ BEMS

อุปกรณ์ที่ต้องติดตั้ง
 Wireless Control สาหรับเครื่องปรับอากาศ และแสงสว่าง
 Smart Switch Board Control สาหรับควบคุมแสงสว่างและเครื่องใช้ไฟฟูาอื่น ๆ เช่น TV หรือ
ปลั๊กไฟ
 Real Time Power Monitoring ระบบตรวจติดตามการใช้พลังงานของห้องนั้น ๆ โดยต้องสามารถ
แสดงค่าพลังงานแบบ Real Time รายวัน รายเดือน และรายปี รวมถึง Event การใช้ห้องได้
 Daylight Harvesting โหมดประหยัดพลังงานไฟฟูา ของอุปกรณ์ควบคุมเปิดปิดโคมไฟฟูาแบบ
อัตโนมัติ ที่สามารถวัดความส่องสว่างที่พอเหมาะกับการทางาน เพื่อสั่งให้โคมไฟฟูา/หลอดไฟแสง
สว่างทางาน
 Motion Sensor (Automatic On/Off) ระบบตรวจจับความเคลื่อนไหว ในกรณีที่ไม่มีการเคลื่อนไหว
หรือ ไม่มีคนอยู่ในห้องประชุม ให้ตั ดไฟฟูาเพื่อประหยัดพลังงาน หรือ ตัดไฟฟูาของอุปกรณ์ไฟฟูาบาง
ชนิดตามที่ กฟผ. กาหนด
 Temperature and Humidity Sensor ระบบเซ็นเซอร์ที่ใช้ตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้นในอากาศ
 Air Quality Sensor ระบบเซ็นเซอร์ที่ใช้วัดคุณภาพของอากาศ

ระบบการแสดงผล (Smart Monitoring System)


 เพื่อการบัน ทึก การจัดเก็บ ข้อมูล การประมวลผลและแสดงผล ที่เกี่ยวข้องกับระบบบริห ารจัด
การพลังงานในอาคาร Building Energy Management System (BEMs) โดยมีการประมวลผลด้วย
คอมพิวเตอร์ระบบสามารถวัดและแสดงค่าพลังงานไฟฟูาที่ใช้ได้โดยจะต้องรองรับการเชื่อมต่อโดยใช้
Protocol ที่เป็นมาตรฐานทั่วไปเพื่อสามารถทางานร่วมกับซอฟแวร์อื่นที่ไม่ใช่ระบบเดิมซึ่งจะต้องเป็น
ระบบซอฟแวร์ท ี่ ถู กออกแบบน ามาใช้ ในระบบ BEMS และง่ ายต่ อการใช้ งานเพื ่อ ท าให้ การท า
ฐานข้อมูลเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
 ระบบแสดงผลต้องสามารถแสดงสถานะของอุปกรณ์ไฟฟูาที่ควบคุม ว่าอยู่ในสถานะท างาน (On)
หรือไม่ทางาน (Off)
 ขนาดหน้าจอ LED ไม่น้อยกว่า 70 นิ้ว

- 14 -
 ความละเอียดหน้าจอ 3,840 x 2,160 Pixels (4K)
 ช่องการเชื่อมต่ออย่างน้อย ประกอบไปด้วย USB 1 ช่อง HDMI 1ช่อง
 สามารถใช้งานได้บนระบบปฏิบัติการ WINDOWS หรือ MAC OS รุ่นล่าสุด
 สามารถเรียกดูค่าทางไฟฟูาย้อนหลัง ราย 5 นาที, รายวัน, รายเดือน, รายปี
 สามารถประมวลผลเป็นกราฟได้
 สามารถนาข้อมูลออกมาในรูปแบบ CSV หรือ TXT File ได้
 สามารถสรุปออกมาเป็นรายงานทางด้านเทคนิค ผลสรุปการประหยัดทางด้านการเงิน และรายงาน
สรุปผู้บริหาร
 สามารถส่งแจ้งเตือน Alerts & Notifications ได้แบบ Real-time
 ออกแบบการแสดงผลในรูปแบบ Dashboard ที่เหมาะสมตามรูปแบบที่กาหนด

ระบบการควบคุม (Control System)


 ระบบสามารถรับ-ส่งข้อมูลจากอุปกรณ์และเซนเซอร์ต่างๆ และส่งข้อมูลเพื่อจัดเก็บในระบบ Cloud /
Database ตามรูปแบบที่กาหนดเพื่อให้สามารถนามาใช้วิเคราะห์การจัดการพลังงานภายในอาคาร
 ระบบสามารถรองรับการรับ-ส่งข้อมูลผ่าน HTTP, MQTT, และ COAP Protocol ได้
 สามารถควบคุมอุปกรณ์ในแต่ละห้องตามการใช้งานที่แตกต่างกัน โดยใช้ระบบ AI with machine
learning ที่ควบคุมให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมการใช้งานจริง ณ ขณะนั้น เช่น จานวนคน สภาพ
อากาศ พฤติกรรมการใช้งาน เป็นต้น
 สามารถเลื อ กการควบคุ ม เป็ น แบบ Auto/Manual ได้ ต ามความต้ อ งการของผู ้ ใ ช้ ง านผ่ า น
Application/Platform
 ระบบสามารถรองรับแก้ไขหรือปรับเปลี่ยน Control Algorithm ได้
 สามารถบริหารจัดการพลังงานเพื่อลดการใช้พลังงานภายในอาคารได้ มากกว่า 15% จากระบบที่ใช้
งานอยู่เดิม
 รองรับการเชื่อมต่อเพื่อทางานร่วมกับซอฟแวร์หรือ แพลตฟอร์ม อื่นได้
 ระบบต้องมี Control Algorithm ที่สามารถเชื่อมต่อเพื่อบริหารจัดการและควบคุมอุปกรณ์ภายใน
ระบบไมโครกริด พร้อมทั้งเชื่อมต่อกับ Smart Trading Platform ได้

Control Algorithm Requirement


 การร้องขอข้อมูล

- 15 -
 สามารถร้องขอข้อมูลจากอุปกรณ์ได้ผ่านทาง HTTP, MQTT, และ COAP Protocol ได้
 อุปกรณ์ หรือ platform จะต้องส่งข้อมูล feedback ซึ่งหมายถึงข้อมูลสถานะของอุปกรณ์กลับมา
หา user ผ่านทาง HTTP, MQTT, และ COAP Protocol
 ต้องสามารถร้องขอข้อมูลได้ทั้งผ่านทาง Public IP (Internet) และ local IP (local WIFI)
 การ control หรือสั่งการไปยังอุปกรณ์
 สามารถสั่งการหรือ control อุปกรณ์ได้ผ่านทาง HTTP, MQTT, และ COAP Protocol ได้
 สามารถสั่งการหรือ control อุปกรณ์ได้ผ่านทาง Public IP (Internet) และ local IP (local
WIFI)
 การสั่งการจะต้องมีการ authentication (user/pass)
 สามารถสั่งการได้ผ่าน platform หรือผ่าน HTTP protocol
 Control algorithm
 สามารถเปิดปิดอุปกรณ์ได้อย่างอัตโนมัติด้วย rule base หรือ AI (optional)
 สามารถควบคุมการทางานของเครื่องปรับอากาศโดยมี feature ที่ต้องปรับได้อย่างอัตโนมัติด้วย
rule base หรือ AI ดังนี้ อุณหภูมิ setting, Fan speed, On/off และ Mode
 สามารถสั่งการอุปกรณ์ต่างๆได้ในลักษณะที่สัมพันธ์กันได้แก่
 control algorithm ต้องสามารถวางแผนในการเปิดปิด หรือ เปลี่ยนแปลงค่า setting อุปกรณ์
ไฟฟูาได้ด้วยตัว control algorithm อย่างอัตโนมัติ เช่น การปรับลดอุณหภูมิ setting ของระบบ
ปรับอากาศ เพื่อลีกเลี่ยง peak demand หรือ demand charge ได้ล่วงหน้า โดยไม่กระทบการ
ทางานในสภาวะปกติ (พิจารณาทั้ง energy saving และ comfort)
 control algorithm ต้องสามารถปิดระบบแสงสว่างได้เมื่อไม่มีคนอยู่
 control algorithm ต้องสามารถปิดระบบปรับอากาศ (A/C split type และ Chiller) หรือปรับ
ลดค่า setting ของระบบปรับอากาศได้เมื่อไม่มึคนอยู่
 control algorithm ต้องสามารถแก้ไขหรือปรับเปลี่ยนกฎ (rule base) ได้ง่ายผ่าน user
 control algorithm ต้องมีหน้า platform ในการแก้ไขหรือปรับเปลี่ยนกฎหรือเพิ่มอุปกรณ์ได้
โดยง่าย

- 16 -
รูปการรับส่งข้อมูลของระบบ Control Algorithm

ตรวจรับ
ผู้ขายสามารถส่งมอบงานแยกห้อง ชนิดอุปกรณ์ หรือแต่ละระบบ ได้ แต่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
ไม่น้อยกว่า 10 วันทาการ

- 17 -
ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System)
ระบบกักเก็บพลังงานทีจ่ ะต้องติดตั้งในพื้นที่ที่ กฟผ. กาหนด โดยมีรายละเอียดแสดงดังนี้
หัวข้องาน ขนาด จานวน
ระบบกั ก เก็ บ พลั ง งานแบบรวมศู น ย์ PCS/Battery Capacity 1 ระบบ
(Centralized Energy Storage) 200 kW/200 kWh
ระบบกั กเก็บ พลั ง านแบบกระจายศูน ย์ PCS/Battery Capacity 3 ระบบ
(Distributed Energy Storage) 10 kW/10 kWh
Smart DC house Load power/Battery Capacity 1 ระบบ
5 kW/30 kWh
ระบบบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงาน - 1 ระบบ
(Battery Management System)

ระบบกักเก็บพลังงาน

ความต้องการทั่วไป
 จัดหา ติดตั้ง และทดสอบวัสดุและอุปกรณ์ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟูา (Energy Storage System)
โดยมีอุปกรณ์และสถานที่ติดตั้งตามที่ กฟผ. กาหนด ทั้งนี้อุปกรณ์ทั้งหมดจะต้องเป็นของใหม่เป็น
ผลิตภัณฑ์ที่ประกอบสาเร็จจากโรงงานผู้ผลิต
 จัดหาและติดตั้งระบบกักเก็บพลังงานไฟฟูารวมถึงฐานรากงานโครงสร้างคอนกรีตหรือโครงสร้างเหล็ก
เพื่อจัดวางชุดตู้คอนเทนเนอร์ของระบบกักเก็บพลังงานไฟฟูา
 ทดสอบการใช้งานระบบกักเก็บพลังงานไฟฟูาตามมาตรฐานของบริษัทผู้ผลิตและจัดทารายงานผลการ
ทาสอบส่งมอบให้ กฟผ.
 สามารถควบคุม สั่ ง การ Charge และ Discharge ก าลั ง ไฟฟู าของระบบกั ก เก็ บพลั งงาน แบบ
Schedule หรือแบบอัตโนมัติ ตาม Algorithm ของระบบไมโครกริด
 ระบบกักเก็บพลังงาน ต้องเคยมีการติดตั้งใช้งานทั้งภายในหรือภายนอกประเทศ ไม่น้อยกว่า 5 ปี
 โดยอุปกรณ์ที่จัดหาและติดตั้งอย่างน้อยจะต้องประกอบไปด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้
 Battery Energy Storage system (BESS)
 Power Conversion System (PCS)
 CONTAINER/ENCLOSURE
 COMMUNICATION SYSTEM

- 18 -
 Energy Management System (EMS) โดย Energy Management System นี้ต้องสามารถ
รองรับการทางานร่วมกับระบบ Control and Monitor ของระบบไมโครกริดได้

แบตเตอรี่ มีคุณสมบัติดังนี้
 แบตเตอรี่ชนิดลิเธียมไอออน (Lithium-Ion Battery) หรือดีกว่า
 สามารถทาการต่อวงจรเพื่อเพิ่มความจุการกักเก็บพลังงานไฟฟูารวมได้
 ได้รับ การออกแบบให้มีอายุการใช้งานได้ไม่ต ่ากว่า 10 ปี ที่อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมเฉลี่ย 25 องศา
เซลเซียส
 มี Communication Port RS485 และ CAN โดยแสดง Diagram การเชื่อมต่อการสื่อสารระหว่าง
ชุดแบตเตอรี่ กับ ชุดอุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ อุปกรณ์แปลงผันไฟฟูา อุปกรณ์ติดตามข้อมูล
การทางาน เพื่อรองรับการสั่งการจาก Microgrid Controller
 สามารถใช้งานได้ในช่วงอุณหภูมิ 0 – 50 องศาเซลเซียส หรือกว้างกว่า
 มีระดับการปูองกันไม่ต่ากว่า IP20
 ได้รับการรับรองคุณภาพไม่น้อยกว่า 5 ปี โดยให้การรับรองจากเจ้าของผลิตภัณฑ์
 แบตเตอรี่แต่ละ cell จะต้องถูกประกอบด้วยกันเป็นลักษณะเป็นโมดูล (Module) ที่สามารถติดตั้งใน
ตู้มาตรฐาน (Rack) พร้อม Battery Management System ที่ถูกออกแบบและติดตั้งมาจากโรงงาน
ผู้ผลิต
 สามารถจ่ายไฟได้อย่างต่อเนื่อง ในกรณีที่ไม่มีไฟจาก grid
 มีความสามารถในการคายประจุได้ไม่น้อยกว่า 1C-Rate หรือช่วงเวลา 1 ชั่วโมง ที่สภาวะ 25 องศา
เซลเซียส หรือ ดีกว่า
 Positive Electrode หรือ Cathode ทาจาก Lithium Ion เป็นส่วนประกอบหลักพร้อมระบุชนิด
อย่างชัดเจน
 ความสามารถในการประจุไฟฟูากลับเพื่อให้มีความจุ 100% ด้วยอัตราสูงสุดไม่เกิน 1C โดยใช้เวลาใน
การประจุ 1 ชั่วโมง ที่สภาวะอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
 Self Discharge Rate ไม่เกิน 3 % ต่อเดือน ที่อุณหภูมิแวดล้อม 25 องศาเซลเซียส
 แบตเตอรี่โมดูล มี Nominal Cycle Life ไม่น้อยกว่า 6,000 Cycle ที่อัตราการคายประจุ 1C-Rate
80% DOD ที่อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมเฉลี่ย 25 องศาเซลเซียส
 ภาชนะบรรจุเซลล์ทาจากกล่องอลูมิเนียมเพื่อปูองกันการกระแทก พร้อมฉนวนปูองกันการลัดวงจร
 สามารถเชื่อมต่อกับ Monitoring Software อื่นได้

- 19 -
 สามารถทางานที่ความชื้นสัมพัทธ์ไม่ต่าว่า 80%
 Cell แบตเตอรี ่ ใ นแบตเตอรี ่ โ มดูล เป็ น แบบ Lithium-Ion ชนิ ด Lithium Iron Phosphate
(LiFePO4) หรือชนิดอื่นๆ ที่มีคุณสมบัติทางไฟฟูาดีกว่า บรรจุใน Package แบบ Cylindrical cell
หรือ Pouch Cell มีแรงดัน Nominal Voltage ในช่วง 3.1 - 3.3 V/Cell ที่ Energy Density ไม่ต่า
กว่า 160 Wh/kg และ มี Nominal Cycle Life ไม่น้อยกว่า 6,000 รอบ
 มีค่าความจุพลังงานไฟฟูา (Nominal Capacity) ไม่น้อยกว่า 2.0 kWh/ลูก
 แบตเตอรี่โมดูล มี Battery Management System (BMS) ติดตั้งอยู่ภายใน โดยมีคุณลักษณะดังนี้
Voltage Sampling , Temperature Sampling , Current Sampling , SOC&SOH , Isolation
and Protection , Communication , Warning & Alarms และ Balancing
 การปูองกัน
 แบตเตอรี่แต่ละเซลล์/โมดูลต้องมี Fuse เพื่อปูองการการเกิดลัดวงจรจากภายนอกและการเกิด
ผิดปกติภายในเซลล์
 แบตเตอรี ่ แ ต่ ล ะแถวที ่ ต ่ อ ขนานกั น ต้ อ งมี อ ุ ป กรณ์ ต ั ด ต่ อ และปู อ งกั น (DC Fuse และ DC
Connector) มิให้การเกิดความเสียหายจากการลัดวงจร
 แบตเตอรี่แต่ละแถวที่ต่อขนานกันต้องมี Rack BMS ท าหน้าที่ร่ วมกันกับ DC Fuse และ DC
Connector เพื่อท าหน้าปูองกันไม่ให้แบตเตอรี่แต่ล ะเซลล์ เกิดความเสียหายจากการ Over
Charge และ Over Discharge
 มีการทดสอบด้านความปลอดภัยของการออกแบบ cell อย่างน้อยดังต่อไปนี้
 Internal Short Circuit
 External Short Circuit
 Thermal Cycling Test
 High Temperature Storage Test
 Thermal Runaway Test
 แบตเตอรี่โมดูล ยี่ห้อ และรุ่น เมื่อนามาเชื่อมต่อเป็นชุดแบตเตอรี่แล้วต้องติดตั้งในชั้นวางเหล็ก (Rack)
ที่มั่นคงแข็งแรง และระบายอากาศได้ดี

ระบบกักเก็บพลังงานแบบรวมศูนย์ (Centralized Energy Storage)


มีคุณสมบัติเพิ่มเติมดังนี้
 มีความจุการกักเก็บพลังงานไฟฟูา (Nominal Capacity) ไม่น้อยกว่า 200 kWh

- 20 -
 แบตเตอรี่ทุกโมดูล ต้องติดตั้งอยู่ในตู้คอนเทนเนอร์ (Container) ที่ได้มาตรฐาน มีความแข็งแรง และมี
การจัดวางอย่างเป็นระเบียบ สามารถเข้าถึงเพื่อการซ่อมบารุงรักษาได้อย่างสะดวก

CONTAINER
ตู้ Container สาหรับติดตั้ง Battery Module หรือ Battery Rack สาหรับระบบกักเก็บพลังงาน
แบบรวมศูนย์
 เป็น Container ชนิด Weatherproof type หรือ ระดับการปูองกันไม่น้อยกว่า IP55
 มีระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟูาแสงสว่าง
 มีระบบไฟฟูาสารอง UPS สาหรับอุปกรณ์เครื่องมือวัด และระบบควบคุมต่างๆ
 มีระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ที่เป็นไปตามมาตรฐาน NFPA72 หรือ UL LISTED 864 หรือ JFEII หรือ
ดีกว่า และจะต้องส่งสัญญาณไปยังระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้รวมของอาคารได้ด้วย
 มีระบบดับเพลิงอัตโนมัติติดตั้งอยู่ ภายในตู้ และจะต้องส่งสัญญาณไปยังระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้รวม
ของอาคารได้ด้วย

Power Conversion System (PCS)


PCS ที่ใช้ในระบบนี้ ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นทะเบียนกับการไฟฟูาส่วนภูมิภาค
ข้อกาหนดโดยทั่วไป
• Rated active power output : ≥ 200 kW continuous
• Type of Installation : Modular Type
• Ambient Temperature : 0°C ~ 50°C
• Frequency : 50 Hz
• Type of Output : AC Three-phase system
• Minimum Efficiency : ≥ 98%
• Communication : RS485, RS232, CAN, Ethernet, Profibus, IEC61850,
Modbus TCP/IP (GATEWAY for IEC 61850)
คุณสมบัติด้าน AC
• Voltage : 380/416V ± 10%
• Phase : Three phase
• Frequency : 50 Hz ± 1 Hz
• Power factor : 0-1 lagging and leading

- 21 -
คุณสมบัติด้านเทคนิค
• PCS สามารถที่จะทาการเปลี่ยนสถานะจาก On-grid เป็น Off-grid ได้แบบ Seamless Transition
• PCS สามารถที่จะทาการเปลี่ยนสถานะ (Transition) จาก On-grid เป็น Off-grid ได้
• PCS มีความสามารถในการสั่งการ Black Start ได้

ระบบกักเก็บพลังงานแบบกระจายศูนย์ (Decentralized Energy Storage)


มีคุณสมบัติเพิ่มเติมดังนี้
 มีความจุการกักเก็บพลังงานไฟฟูา (Nominal Capacity) ไม่น้อยกว่า 10 kWh ต่อระบบ จานวน 3
ระบบ
 Cell แบตเตอรี่ บรรจุใน Package ที่มีความแข็งแรง ไม่เป็นสนิม
 มี Battery Management System (BMS) โดยสามารถควบคุมและสั่งการจาก Microgrid Central
Control ได้
 ติดตั้งที่ อาคาร Simulator, อาคาร 9 และ อาคารสัมมนา โดยต่อกับโหลดที่ผู้จ้างกาหนด

Power Conversion System (PCS)


มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ PCS ของ Central Energy Storage
ยกเว้น Rated active power output : ≥ 10 kW

Smart DC house
คุณสมบัติแบตเตอรี่ที่ติดตั้งในงานก่อสร้าง Smart DC House มีคุณสมบัติเพิ่มเติมดังนี้
 มีความจุการกักเก็บพลังงานไฟฟูา (Nominal Capacity) ไม่น้อยกว่า 30 kWh
 Cell แบตเตอรี่ บรรจุใน Package ที่มีความแข็งแรง ไม่เป็นสนิม
 มี Battery Management System (BMS) โดยสามารถควบคุมและสั่งการจากระยะไกลได้
 สามารถควบคุม สั่ ง การ Charge และ Discharge ก าลั ง ไฟฟู าของระบบกั ก เก็ บพลั งงาน แบบ
Schedule หรือแบบอัตโนมัติ ตาม Algorithm ของระบบไมโครกริด

ระบบบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงาน (Battery Management System)


BMS สาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบบรวมศูนย์ และแบบกระจายศูนย์ มีคุณสมบัติดังนี้
 ควบคุมและปรับแรงดันให้สมดุลในแต่ละเซลล์ในระหว่างประจุโดยอัตโนมัติ (Cell Balancing)
 ควบคุมและแสดงผล การประจุไฟฟูาและคายประจุไฟฟูา

- 22 -
 สามารถแสดงค่า
 แรงดัน อุณหภูมิ กระแส ของแต่ละเซลส์ แต่ละโมดูล และแต่ละ Rack ได้
 กาลังไฟฟูา Charge/Discharge และ Event Log การทางานต่าง ๆ
 สถานะประจุไฟฟูา (State of Charge, SOC) ในแต่ละ Rack และทั้งระบบได้
 คุณภาพของแบตเตอรี่ (State of Health, SOH) ในแต่ละ Rack และทั้งระบบได้
 สามารถสื่อสารกับอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ทาหน้าที่ประจุไฟฟูาและคายประจุไฟฟูาของแบตเตอรี่ได้
 มีการสื่อสารเป็นแบบ Modbus TCP/IP (GATEWAY for IEC 61850) หรือ IEC61850
 สามารถเชื่อมต่อกับ Monitoring Software อื่นได้
 สามารถทางานที่ความชื้นสัมพัทธ์ไม่ต่ากว่า 80%
 สามารถควบคุมการ Charge และ Discharge กาลังไฟฟูาของระบบกักเก็บพลังงานทั้งแบบ Manual
และในรูปแบบ Programing ได้
 สามารถสั่งการให้ระบบกักเก็บพลังงานรักษาคุณภาพไฟฟูาทั้งในรูปแบบอัตโนมัติ และแบบ Manual
เช่น AVR (Automatic Voltage Regulation) และ Active/Reactive Power Control
 สามารถควบคุมสั่งการการ Charge และ Discharge ก าลังไฟฟูาของระบบกักเก็บพลังงานแบบ
Schedule หรือแบบอัตโนมัติ ตาม Algorithm ของระบบไมโครกริด
 ระบบบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานต้องสามารถบารุงรักษาตัวเอง (Self -Maintenance) ได้
เป็นรอบตามที่ได้กาหนดไว้ เพื่อยืดอายุการใช้งานระบบแบตเตอรี่
 ระบบบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานต้อ งสามารถเปิด Port และต้องเชื่อมต่อและรับคาสั่งจาก
Central Control ของระบบไมโครกริด เพื่อควบคุมการทางานของระบบกักเก็บพลังงานให้เป็นไป
ตาม Control Algorithm ที่จะพัฒนาขึ้นได้

มาตรฐาน
 แบตเตอรี่ต้องผ่านการทดสอบมาตรฐาน ความปลอดภัย UL1642 (Unit cell) และ IEC62619 (UNIT
CELL)
 แบตเตอรี่ module ต้องผ่านการทดสอบมาตรฐานของการขนส่งตาม UN38.3

การติดตั้ง
 ต้องเสนอรายละเอียด และอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดตั้ง ให้กรรมการพิจารณาก่อนดาเนินการติดตั้ง
 การติดตั้งและเดินสาย ให้เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟูาของ วสท.

- 23 -
การทดสอบ/การตรวจรับ
 ต้องดาเนินการทดสอบการฟังก์ชั่นการใช้งานระบบกักเก็บพลังงานไฟฟูาตามข้อกาหนดของ กฟผ.
และมาตรฐานของบริษัทผู้ผลิต พร้อมทั้งจัดทารายงานผลการทาสอบส่งมอบให้ กฟผ.
 การทดสอบเพื่อจะมั่นใจได้ว่าระบบนั้นทางานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และตรงตามกับมาตรฐาน

การรับประกัน
 หนังสือรับประกันอุปกรณ์และระบบ BESS ไม่น้อยกว่า 2 ปี
 หนังสือรับประกันความจุแบตเตอรี่ไม่น้อยกว่า 70% ตามเงื่อนไขการรับประกัน ไม่น้อยกว่า 10 ปี
จากเจ้าของผลิตภัณฑ์

- 24 -
ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่ (EV Charging Station)
ระบบประจุไฟฟูาสาหรับรถไฟฟูา (EV Charging System) ในโครงการนี้มีทั้งหมด 3 ประเภท
ประกอบด้วย 1.ระบบชาร์จไฟฟูาแบบเร่งด่วน (Fast Charging) 2. ระบบประจุไฟฟูาแบบสองทาง (G2V
and V2G) และ 3. AC EV Charger ขนาด 22 kW ซึ่งระบบประจุแบตเตอรี่ทั้งหมดต้องติดตั้งตามที่ กฟผ.
กาหนด
ระบบประจุไฟฟ้าสาหรับรถไฟฟ้า ขนาดขั้นต่า จานวน
ระบบชาร์จไฟฟูาแบบเร่งด่วน (Fast Charging) 50 kW 1 ชุด
หรือ งานติดตั้ง DC Charger Station
ระบบประจุไฟฟูาแบบสองทาง (G2V and V2G) 7.4 kW 2 ชุด
หรือ งานติดตั้ง AC Charger Station แบบ V2G
AC EV Charger ขนาด 22 kW 22 kW 4 ชุด
หรือ งานติดตั้ง AC Charger Station
งานตกแต่งภูมิทัศน์ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่ - 1 งาน

คุณลักษณะทั่วไป
 สถานีอัดประจุฯ จะต้องสามารถประจุไฟฟูาส าหรับรถบัสไฟฟูาขนาดเล็ก (EV Minibus), รถยนต์
ไฟฟูา (EV car) ได้อย่างน้อย 1 หัวจ่าย
 ระบบไฟฟูาที่จาเป็นต้องติดตั้งเพิ่มเติม เช่น สายไฟฟูา เบรกเกอร์ ตู้ MDB และอุปกรณ์ปูองกันต่าง ๆ
เป็นต้น ต้องมีความเหมาะสมกับพื้นที่หน้างาน และต้องเป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยของสภา
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.)
 รูปแบบและตาแหน่งติดตั้ง ร่วมถึงข้อกาหนดต่าง ๆ ให้สอดคล้องและเป็นไปตาม ข้อกาหนดอุปกรณ์
มาตรฐานไฟฟูาและความปลอดภัยสาหรับการติดตั้งเครื่องอัดประจุไฟฟูายานยนต์ไฟฟูา (EV) ของการ
ไฟฟูาส่วนภูมิภาค
 สถานีฯ จะต้องมีระบบปูองกันไฟฟูาลัดวงจร และ ระบบปูองกันแรงดันและความถี่ ต่าเกินหรือสูงเกิน
เป็นต้น
 พื้นที่ในการติดตั้งสถานีประจุไฟฟูาให้สอดคล้องตามที่กฏหมายก าหนดโดยมีความเหมาะสมและ
สะดวกในการใช้บริการ
 พื้นที่ของช่องจอดรถต้องตีเส้นจราจรชัดเจน และใช้สีที่ถูกต้องตามกฎหมายกาหนด
 ต้องมีโรงคลุมสาหรับเครื่องประจุไฟฟูา พร้อมทั้งเสนอแบบให้คณะกรรมการพิจารณา

- 25 -
 อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการติดตั้งสถานีประจุไฟฟูาต้องเป็นไปตามมาตรฐาน สมอ. หรือ กฎหมายอื่นที่
เกี่ยวข้อง
 พื้นที่สาหรับติดตั้งตู้ควบคุมไฟฟูา (Main Distribution Board, MDB) หัวจ่ายประจุไฟฟูา โดยให้เป็น
พื้นที่สะดวกต่อการเข้าซ่อมบารุงและเป็นไปตามข้อแนะนาของผลิตภัณฑ์ผู้ผลิต
 จัดทาสัญลักษณ์แสดงตาแหน่งสถานีประจุไฟฟูา และสัญลักษณ์บริเวณติดตั้งเครื่องประจุไฟฟูาทุก
เครื่อง
 สัญลักษณ์แสดงช่องจอดรถยนต์ไฟฟูาและมีปูายสัญลักษณ์แสดงสถานีประจุไฟฟูาจะต้องสามารถ
มองเห็นได้ชัดเจนในเวลากลางคืน
 ต้องจัดให้มี Emergency Stop อย่างน้อย 1 จุด ต่อ 1 สถานีอัดประจุ
 ระบบบริหารจัดการสถานีอัดประจุไฟฟูา ทีส่ ามารถตรวจวัดอัตราการใช้พลังงานของสถานีอัดประจุได้
และมีซอฟแวร์ควบคุมการบริหารจัดการสถานี
 ระบบบริหารจัดการ ต้องรองรับการเชื่อมต่อ OCPP เข้ากับระบบ Network กฟผ. และต้องรอบรับ
การเชื่อมต่อกับระบบสมาร์ทไมโครกริดฯ
 ระบบแสดงผลและเก็บข้อมูล ต้องสามารถเชื่อมโยงกับระบบสมาร์ทไมโครกริดฯ ได้

ระบบชาร์จไฟฟูาแบบเร่งด่วน (Fast Charging)


คุณลักษณะด้านเทคนิค (Specification) ของสถานีอัดประจุไฟฟูาแบบเร่งด่วน (Fast Charging)
ลาดับ หัวข้อ รายละเอียด
1. Quick Charging Station Electrical requirement
1.1 Charging Standard 1 เครื่อง 2 หัวจ่าย Mode 4 ตามมาตรฐาน IEC61851
1.2 Output Interface 2 หั ว จ่ า ย (CCS2+CHAdeMO) ตามมาตรฐาน IEC
(ไม่สามารถถอดเปลี่ยนสายได้) 61851-1, IEC 61851-23, IEC 62196-3 รองรับการอัด
ประจุแบบ Config FF, Config AA
1.3 Connection to the grid 400 Vac ± 10% , 50Hz , 3P+N+PE
1.4 Input Current (Max. Rated) ไม่เกิน 250 A ± 10%
1.5 Output power (Max.) ไม่ต่ากว่า DC 50kW
1.6 Output voltage (Max.) 200 – 900Vdc เทียบเท่าหรือดีกว่า
1.7 Output Current (Max.) 125 A เทียบเท่าหรือดีกว่า
2. Protection

- 26 -
2.1 Station Index protection ไม่น้อยกว่า IP54 (IEC 60529)
2.2 Degree of mechanical ไม่น้อยกว่า IK08 (IEC 62262)
protection
2.3 Operating Temp. 0 °C to +40 °C เทียบเท่าหรือดีกว่า โดยประสิทธิภาพไม่
ลดลง
2.4 Safety Standard เป็ น ไปตามมาตรฐานความปลอดภั ย ทางไฟฟู า IEC
61851-1, IEC 62196-1
3 Energy Management System
3.1 User dialogue LCD Touch Screen Display ขนาดไม่ต่ากว่า 7 นิ้ว
3.2 Energy monitoring system Web base access / Application เทียบเท่าหรือดีกว่า
3.3 Safety access RFID for user authentication MIFARE ISO/IEC
14443A และ ISO/IEC 15693 เทียบเท่าหรือดีกว่า
3.4 การเชื่อมโยงการสื่อสาร 1) ไม่ต่ากว่า OCPP Protocol 1.6 J
2) สามารถ Direct OCPP เข้า Server ที่ กฟผ. กาหนด
ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งาน
3.5 การเชื่อมโยงเครือข่าย 1) 3G/4G เทีย บเท่าหรือสูง กว่า โดยไม่เ สียค่าใช้จ่า ย
ตลอดอายุประกัน
2) Ethernet
4 อื่นๆ
4.1 ระดั บ ความดั ง ของเสี ย งขณะ ไม่เกิน 65 เดซิเบล
ทางาน
4.2 DC Charging Cable length ไม่น้อยกว่า 3.9 เมตร (IEC 62196)
4.3 Housing เหล็กทาสี หรือ Stainless steel
4.4 Emergency Stop มีปุม Emergency Stop โดยติดตั้งในจุดที่มองเห็นง่าย
4.5 การ Update ระบบ สามารถ Remote Setting เปลี่ยนเครือข่าย OCPP และ
ปรับค่าอื่นๆ ได้
ตารางคุณลักษณะด้านเทคนิค (Specification) ของสถานีอัดประจุไฟฟูาแบบเร่งด่วน (Fast Charging)

ระบบประจุไฟฟูาแบบสองทาง และ AC Charger Station ขนาด 22 kW


มีคุณลักษณะด้านเทคนิคร่วมกัน ดังนี้

- 27 -
 สายหัวจ่ายยาวไม่น้อยกว่า 5 เมตร
 สามารถปรับกระแสไฟฟูาในการประจุได้
 มีระบบปูองไฟฟูากระแสตรงรั่วไหล (DC Leakage Protection)
 มีจอแสดงผลแสดงสถานการณ์ทางานของเครื่องประจุไฟฟูา
 มีระบบ User Interface
 มีระบบ Identification
 เครื่องควบคุมการประจุไฟฟูาสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับระบบควบคุมกลางของระบบ
ไมโครกริดผ่านทางระบบ Wi-Fi / Bluetooth / Ethernet เป็นต้น
 ต้องมีโรงคลุมสาหรับเครื่องประจุไฟฟูาและรถไฟฟูา พร้อมทั้งเสนอแบบให้คณะกรรมการพิจารณา
 หลังคาโรงคลุมรถไฟฟูา ให้ใช้เป็นแผงเซลล์แสงอาทิตย์

ระบบประจุไฟฟูาแบบสองทาง (G2V and V2G)


มีคุณลักษณะด้านเทคนิคเพิ่มเติม ดังนี้
 หัวจ่ายเป็นแบบ CCS หรือ CHAdeMO
 จานวนอย่างน้อย 1 หัวต่อ 1 จุดจ่าย
 กาลังไฟฟูาไม่น้อยกว่า (Maximum Power) 7.4 kW
 สามารถประจุกระแสไฟฟูาได้สูงสุด 32 A
 สามารถจ่ายไฟฟูาจากแบตเตอรี่รถยนต์ย้อนเข้าสู่ระบบจาหน่ายได้ (Vehicle to Grid)
 มี Mobile Application รองรับ
 สามารถสร้างรายงานทางด้านเทคนิค อาจจะเป็นในรูปแบบ Monthly Report

AC EV Charger ขนาด 22 kW
มีคุณลักษณะด้านเทคนิคเพิ่มเติม ดังนี้
 หัวจ่ายเป็นแบบ Type 2 ตามมาตรฐาน IEC 62196-2
 กาลังไฟฟูาไม่น้อยกว่า (Maximum Power) 22 kW
 สามารถประจุกระแสไฟฟูาได้สูงสุด 32 A 3 เฟส

- 28 -
งานตกแต่งภูมิทัศน์ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่
 ออกแบบ ตามแบบวาดอ้างอิง ตามเอกสารแนบ
 แบบวาดหลังคาEV.pdf จานวน 4 แผ่น
 แบบวาดหลังคาEV.dwg จานวน 4 แผ่น
 ev ref 1.png จานวน 1 แผ่น
 ev ref 2.png จานวน 1 แผ่น
 ให้เสนอแบบวาดโรงคลุม และแผนการด าเนินการ พร้อมขอบเขตการใช้พื้นที่ ที่เกี่ยวข้องตามช่วง
ระยะเวลาตามแผนการดาเนินงาน ให้กรรมการพิจารณาก่อนดาเนินการก่อสร้าง
 ข้อมูลเพื่อใช้ในการออกแบบ ให้ผู้ขายสารวจจากสถานที่จริง
 การก่อสร้าง จุดจอดรถ และปรับปรุงตกแต่งภูมิทัศน์ ให้เป็นไปตามคุณลักษณะทั่วไป มาตรฐานงาน
วิศวกรรม มาตรฐานวิชาการ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

การตรวจรับ
ผู้ขายสามารถส่งมอบงานแยกหัวข้อได้ แต่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 10 วันทาการ

การรับประกัน
ผู้ขายจะต้องรับประกันความช ารุดบกพร่องเครื่องอัดประจุไฟฟูาและอุปกรณ์ และการติดตั้งที่
เสนอเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี นับจากวันที่คณะกรรมการตรวจรับได้ลงนามตรวจรับไว้เป็นที่
เรียบร้อยแล้วภายในระยะเวลาดังกล่าว หากเกิดการช ารุดเสียหายหรือขัดข้องด้วยประการใด ๆ อัน
เนื่องมาจาก การใช้งานตามปกติ ผู้ขายจะทาการตรวจหาสาเหตุของการชารุดเสียหายภายใน 24 ชั่วโมง
หลังจากที่ได้รับแจ้งจาก กฟผ. และซ่อมให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยใช้งานได้ หรือนาสิ่งของใหม่ที่มีชนิด
ขนาด ปริมาณ และคุณภาพเดียวกัน มาทดแทนให้โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นค่าแรง
อุปกรณ์ หรือค่าขนส่ง เป็นต้น
การซ่อมแซมหรือการนาสิ่งของใหม่มาส่งมอบทดแทน ผู้ขายต้องทาการซ่อม หรือนาสิ่งของใหม่
มาส่งมอบทดแทนให้แล้วเสร็จภายใน 7 วัน นับจากวันที่ได้รับแจ้งความเสียหายเป็นลายลักษณ์อักษรจาก
กฟผ. หากพ้นกาหนดเวลาดังกล่าวข้างต้น ผู้ขายยินยอมให้ กฟผ. ดาเนินการซ่อมเอง หรือจัดซื้อสิ่งของ
ใหม่มาทดแทน โดยผู้ขายยอมชดใช้ค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากการซ่อม หรือยอมชาระราคาค่าสิ่งของใหม่ที่
ซื้อมาทดแทนให้ แก่ กฟผ. ทุกประการ

- 29 -
งานติดตั้ง Transfer Switch 22kV
ระบบสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟูาอัตโนมัติที่ระดับแรงดัน 22 kV ติดตั้งภายในอาคารเดิมทดแทน
ระบบสับเปลี่ยนเดิมที่เป็นแบบ Manual และในกรณีที่มีการปรับปรุงอาคารเพื่อติดตั้งระบบใหม่ ผู้ขาย
ต้องทาการปรับปรุงอาคารให้มีสภาพปกติ
 ต้องเป็นระบบสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟูาอัตโนมัติที่ระดับแรงดัน 22 kV
 เป็นระบบสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟูาระหว่าง 22 kV Feeder ของการไฟฟูาฝุายผลิตที่มาจากโรงไฟฟูา
บางประกง และ 22 kV Feeder ของการไฟฟูาส่วนภูมิภาค
 22 kV Feeder ของการไฟฟูาฝุายผลิตต้องเป็นแหล่งจ่ายไฟฟูาหลัก (Main Incoming Line) และ 22
kV Feeder ของการไฟฟูาส่วนภูมิภาคต้องเป็นระบบสารองหรือ Standby line
 ผลิตภัณฑ์ได้รับมาตรฐานที่ยอมรับได้ เช่น UL, NEMA, IEEE, IEC เป็นต้น
 ระบบสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟูาจะมีหน้าที่ในการถ่ายโอนแหล่งพลังงานไฟฟูาให้โดยอัตโนมัติ โดยเมื่อ
เกิดไฟฟูาดับที่แหล่งพลังงานไฟฟูาหลัก จะทาการโอนย้ายการจ่ายไฟฟูาไปเป็นแหล่งพลังงานไฟฟูา
สารองให้ทันทีทันใดอย่างต่อเนื่อง โดยปราศจากการเชื่อมต่อทับซ้อนกันของแหล่งพลังงาน โดยไม่มี
ผลกระทบต่อการใช้ไฟฟูากับโหลดไฟฟูา และจะทาการโอนย้ายแหล่งพลังงานไฟฟูากลับมาที่แหล่ง
พลังงานไฟฟูาหลัก เมื่อแหล่งพลังงานไฟฟูาหลักอยู่ในสภาพพร้อมจ่ายพลังงานไฟฟูาให้กับโหลด
 ระบบสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟูาจะต้องสามารถโอนย้ายการจ่ายไฟฟูาไปเป็นแหล่งพลังงานไฟฟูา
สารองได้อย่างต่อเนื่อง และสามารถโอนย้ายกลับแหล่งพลังงานไฟฟูาหลั กเมื่อเข้าสู่การทางานสภาวะ
ปกติ
 มี Protection Relay ที่สามารถทางานได้ตามข้อกาหนดที่การไฟฟูาส่วนภูมิภาคกาหนด
 มีระบบการสื่อสารเช่น Wi-fi, Bluetooth หรือ ระบบ Ethernet เป็นต้น เพื่อรองรับการควบคุม
และสั่งการการทางานของระบบสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟูาจาก Central Control ของระบบไมโครก
ริด
 คุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟูา (Automatic Transfer System)
 Rated Voltage : มากกว่าหรือเท่ากับ 22 kV
 Current Rating : ไม่น้อยกว่า 400 Amp.
 Transfer time : น้อยกว่า 10 mS.
 Communication : RS485, RS232, MODBUS, IEC61850, TCP/IP(GATEWAY for
IEC 61850)
 IP Rating : มากกว่า IP21

- 30 -
 มีระบบ Over load protection
 มีระบบ Over and Under voltage Protection
 มีระบบ Over and Under frequency Protection
 มีระบบ Short Circuit Protection
 มีระบบ Arc fault detection and protection
 มีระบบ Voltage presence indicator
 มีระบบ Thermal and ambient Monitoring

ตรวจรับ
ผู้ขายต้องบรรยายและสาธิต วิธีใช้งานให้ครบถ้วน ตามที่ระบุในขอบเขตงาน สามารถกระทาก่อน
หรือหลังการส่งคืนพื้นที่ของงานนี้ แต่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 10 วันทาการ

- 31 -
งานก่อสร้างบ้านกระแสตรงอัจฉริยะ (Smart DC House)
ระบบบ้านไฟฟูากระแสตรงอัจฉริยะ (Smart DC House) ประกอบด้วย
1. ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟูา (Battery Lithium-ion) ขนาด 30 kWh
2. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ขนาดไม่น้อยกว่า 5 kW
3. เครื่องใช้ไฟฟูากระแสตรงภายในบ้าน
4. ระบบควบคุมไฟฟูา
5. ก่อสร้าง ปรัปปรุง และตกแต่งภายใน ตามแบบตัวอย่างที่ทาง กฟผ. กาหนด
โดยรายละเอียดแสดงดังต่อไปนี้

ขอบเขตงาน
 สร้างบ้านขนาดไม่น้อยกว่า 23 ตารางเมตร โดยผู้ขายต้องเสนอแบบ และรายละเอียดการก่อสร้างให้
คณะกรรมการพิจารณาก่อนดาเนินการก่อสร้าง
 ระบบ Smart DC house ต้องถูกออกแบบให้สามารถใช้ไฟฟูา AC มาเป็นระบบ Backup ได้เพื่อให้
เพียงพอกับ Load ของบ้าน
 ผู้ขายต้องแสดงรายการคานวณอุปกรณ์ต่างๆ ร่วมถึง บริภัณฑ์ไฟฟูา ภายในบ้าน DC ทั้งหมด
 ระบบ Smart DC House ต้องมีระบบ Monitoring ในการตรวจวัดกาลังไฟฟูา พลังงานไฟฟูา ที่
ระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ผลิตได้ กาลังไฟฟูาของ Load และ กาลังไฟฟูาจากระบบ Grid
 ระบบ Monitoring ของบ้านต้องอ้างอิงการตรวจวัดจากมาตรฐาน IEC 61724
 แรงดันไฟฟูากระแสตรงภายในบ้านต้องไม่เกิน 48 Volt

ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟูา (Battery Lithium-ion)


 แบตเตอรี่มีความจุไฟฟูาไม่น้อยกว่า 30 kWh
 อุปกรณ์ต่อพ่วง
 มีคุณสมบัติตามหัวข้อ Distributed Energy Storage

แผงเซลล์แสงอาทิตย์
 แผงเซลล์แสงอาทิตย์ขนาดไม่น้อยกว่า 5 kW ที่ STC
 แผงเซลล์แสงอาทิตย์เป็นชนิด Half-cut Cells
 มีคุณสมบัตติ ามหัวข้อ PV Module

- 32 -
เครื่องใช้ไฟฟูากระแสตรงภายในบ้าน
 เครื่องปรับอากาศจานวน 1 เครื่อง
 เป็นเครื่องปรับอากาศที่ใช้ไฟฟูากระแสตรง 100 %
 ขนาดไม่ต่ากว่า 24,000 BTU
 มีค่า EER ไม่ต่ากว่า 10
 มี Remote ควบคุมอุณหภูมิของเครื่องปรับอากาศ
 มีอุปกรณ์ควบคุมไฟฟูา
 สามารถถอดประกอบระบบ Filters ได้ (Washable Filters)
 ระบบไฟฟูาแสงสว่าง
 ไฟฟูาแสงสว่างเป็นไฟฟูากระแสตรง
 ไฟฟูาแสงสว่างต้องเพียงพอต่อขนาดของบ้าน DC house
 เต้ารับไฟฟูากระแสตรง
 อย่างน้อย 2 จุดติดตั้ง ไม่นับรวมกับจุดที่ใช้งานกับระบบควบคุม
 มีชนิดเหมาะสมกับการใช้งาน
 สายไฟพ่วงที่สามารถใช้กับเต้ารับได้ อย่างน้อย 1 ชุด ต่อ 1 จุดติดตั้ง

ระบบควบคุมและแปรผันไฟฟูา
 AC/DC Converter
 ต้องสามาถจ่ายไฟฟูาให้กับภาระทางไฟฟูาได้แม้ในกรณีที่แบตเตอรี่ไม่ สามารถจ่ายไฟฟูาได้
 ต้องสามารถจ่ายภาระทางไฟฟูาได้ไม่น้อยกว่า 3,000 วัตต์
 ต้องสามารถรับไฟฟูาแบบ Single Phase 230 V 50 Hz ได้ เพื่อใช้เป็นระบบ Standby
 Protection Degree ไม่น้อยกว่า IP23
 มีระบบ Over-temperature Protection
 มีระบบ Overload Protection
 มีระบบ Short Circuit Protection
 PV Charge Controller
 ต้องมีระบบ Multiple MPPT tracking
 ต้องสามารถรับแรงดันไฟฟูาจาก PV string ใน Range ที่กว้างกว่า 100 – 300 Vdc
 ต้องสามารถรับกาลังไฟฟูาจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ได้ไม่น้อยกว่า 5,000 W

- 33 -
 ต้องสามารถจ่ายภาระทางไฟฟูาที่เป็น DC ได้ไม่น้อยกว่า 3,000 W
 Protection Degree ไม่น้อยกว่า IP23
 มีระบบ Over-temperature Protection
 มีระบบ Overload Protection
 มีระบบ Short Circuit Protection
 มีระบบ Overcharge and Over-discharge Protection
 มีระบบ Battery Reverse Polarity Protection at Battery Connection Terminal
 มีจอแสดงสถานการณ์ทางานของ PV Charge Controller
 จอแสดงผลขนาดไม่น้อยกว่า 60 นิ้ว แสดงผลของระบบการทางานและตรวจวัดพลังงานไฟฟูาของ
อุปกรณ์ภายใน Smart Dc house ทั้งหมด
 ต้องสามารถเปิด Port และต้องเชื่อมต่อและรับคาสั่งจาก Central Control ของระบบไมโครกริด
เพื่อควบคุมการทางานของระบบกักเก็บพลังงานให้เป็นไปตาม Control Algorithm ที่จะพัฒนาขึ้นได้

ก่อสร้าง ปรัปปรุง และตกแต่งภายใน


 แบบวาดตามเอกสารแนบ แบบวาด Smart DC House.pdf จานวน 15 แผ่น

ตรวจรับ
ถ้ามีการปรับปรุงแบบวาด ให้ผู้ขายเสนอและส่งแบบก่อสร้างจริง (final / as build)ประกอบการ
ตรวจรับ

รับประกัน
การรับประกันระบบกักเก็บพลังงาน และแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ให้เป็นไปตามหัวข้อที่เกี่ยวข้อง
ส่วนอุปกรณ์ใดที่ไม่ได้กาหนดไว้ ให้มีเอกสารรับรองหรือคู่มือ จากบริษัทผู้ผลิตหรือบริษัทที่จัดจาหน่าย

- 34 -
งานตกแต่งห้องนิทรรศการ
ให้เสนอแบบต่อคณะกรรมการพิจารณา ณ วันที่ประกวดราคา

ระบบจัดแสดง Smart Microgrid


 ผู้ขายจะต้องน าเสนอผัง สาระการจัดการความรู้ ทางด้านระบบไมโครกริดภายในศูนย์ฝึกอบรมฯ
รวมถึงนาเสนอการออกแบบตกแต่งห้องจัดนิทรรศการให้เหมาะสม
 ผู้ขายจะต้องนาเสนอวิธีการแสดงนิทรรศการและกระบวนการทางานของระบบไมโครกริด ในรูปแบบ
3D Projection Mapping โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงความเป็นมาของโครงการ รูปแบบการทางาน
และส่วนประกอบต่าง ๆ ของระบบ
 ผู้ขายจะต้องจัดหาอุปกรณ์ที่มีความจาเป็นในการสร้างระบบ 3D projection Mapping
 ผู้ขายจะต้องจัดทา Model พื้นที่ของศูนย์ฝึกอบรมบางประกง กฝผ. รวมถึงส่วนประกอบต่าง ๆ ของ
ระบบไมโครกริด เพื่อรองรับรูปแบบการแสดงนิทัศการในรูปแบบ 3D Projection Mapping
 ระบบแสดงนิทัศการจะต้องสามารถแสดง Power Flow สถานะของแบตเตอรี่ ข้อมูลการชื้อขาย
ไฟฟูา ของระบบ Microgrid แบบ Real Time มาแสดงในรูปแบบ 3D Projection Mapping

ตัวอย่างอ้างอิง
https://www.youtube.com/watch?v=I8-kqovVjss
https://www.youtube.com/watch?v=CpRLwLcLHNA
https://www.youtube.com/watch?v=93wiNPh4WFw
https://www.youtube.com/watch?v=XSR0Xady02o

ระบบไฟฟูา ห้องนิทรรศการ
 ขนาดห้องประมาณ 80 ตร.ม.
 ระบบไฟฟูาแสงสว่าง
 ไฟฟูาแสงสว่างเป็นไฟฟูากระแสตรง
 ไฟฟูาแสงสว่างต้องเพียงพอต่อขนาดของห้อง
 ลักษณะแสงไฟต้องเหมาะกับการใช้งานเป็นห้องนิทรรศการ
 เต้ารับไฟฟูากระแสตรง
 อย่างน้อย 2 จุดติดตั้ง ไม่นับรวมกับจุดที่ใช้งานกับระบบควบคุม
 มีชนิดเหมาะสมกับการใช้งาน และมี USB type

- 35 -
 สายไฟพ่วงที่สามารถใช้กับเต้ารับได้ อย่างน้อย 1 ชุด ต่อ 1 จุดติดตั้ง
 ให้มีสัญลักษณ์ แสดงชนิดเต้ารับไฟที่ชัดเจน
 เต้ารับไฟฟูากระแสสลับ
 ปรับปรุงเต้ารับไฟที่มีอยู่เดิม ให้มีสัญลักษณ์ แสดงชนิดเต้ารับไฟที่ชัดเจน
 ระบบเสียง
 ไมโครโฟนไร้สาย 2 ชุด
 ชุดลาโพง 4 จุด
 ระบบผสมสัญญาณเสียง และขยายเสียง
 ออกแบบและตกแต่งภายใน
 ติดตั้ง ระบบกักเก็บพลังานแบบกระจายศูนย์ 1 ระบบ ข้างต้น ในห้องนี้
 ระบบ Monitoring
 ต้องแสดงผลและสถานะการทางานของระบบ Microgrid แบบ Real Time สามารถเห็นถึง Power
Flow ในระบบ และสามารถเข้ า ไปดู ร ายละเอี ย ด ของแต่ ร ะบบที ่ ส นใจได้ ผ่ า นทางหน้ า
Dashboard หลัก
 สามารถแสดงผลแยกเป็นระบบเช่น ระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบกักเก็บพลังงาน
ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร ระบบสับเปลี่ยนแหล่งพลังงานไฟฟูา ระบบแสดงผลทางด้าน
สิ่งแวดล้อม เป็นต้น
 มีจอแสดงผลไม่น้อยกว่า 4 จอ ความละเอียดภาพสูงสุดไม่น้อยกว่า 1,920x1,080 pixel หรือดีกว่า
ขนาดไม่น้อยกว่า 60 นิ้วต่อจอ

ระบบปรับอากาศจานวน 2 เครื่อง
 เครื่องปรับอากาศจานวน 2 เครื่อง
 เป็นเครื่องปรับอากาศที่ใช้ไฟฟูากระแสตรง 100 %
 ขนาดไม่ต่ากว่า 48,000 BTU ต่อเครื่อง
 มีค่า EER ไม่ต่ากว่า 10
 มี Remote ควบคุมอุณหภูมิของเครื่องปรับอากาศ ต่อเครื่อง
 มีอุปกรณ์ควบคุมไฟฟูา
 สามารถถอดประกอบระบบ Filters ได้ (Washable Filters)

- 36 -
ระบบ Peer to Peer Trading Platform และ ระบบ Central Control

Smart Trading Platform (Software)


 พัฒนาออกแบบระบบจัดเก็บและแสดงขอมูล (Dashboard) ใหสามารถนามาใชงานไดจริง สามารถ
จาลองการชื้อขายไฟฟูาภายในศูนย์ฝึกอบรมบางประกงภายใต้โครงข่ายไฟฟูาไมโครกริด
 พัฒนาออกแบบระบบจัดเก็บ แสดงขอมูล (Dashboard) และวิเคราะห์ข้อมูลใหสามารถสรุปการชื้อ
ขายไฟฟูาแบบ Peer-to-Peer Energy Trading โดยสามารถออกแบบโครงสรางการจัดเก็บขอมูล
ในแตละประเภทกิจกรรมพรอม ทั้งแสดงผลขอมูลดังกลาว
 ระบบ Smart Trading Platform ต้องสามารถจาลองได้ว่าพลังงานไฟฟูาที่ USER ใช้มาจากแหล่ง
ผลิตไฟฟูาใด เช่น มาจากแหล่งระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบกักเก็บพลังงาน กลุ่ม
Prosumer หรือ ไฟฟูาจาก Utility โดยข้อมูลต้องมาจากการตรวจวัดจริงของระบบ
 กลุ่มผู้ผลิตไฟฟูาภายใต้โครงข่ายไมโครกริดต้องสามารถแสดงราคาค่าไฟฟูาในแต่ละช่วงเวลาแบบ
Real time เพื่ อ ให้ USER ที ่ ต ้ อ งการใช้ ไฟฟู า เลื อ กชื ้อ ราคาที ่ ถ ู ก ที่ ส ุ ด ในช่ ว งเวลานั ้ น ๆ ผ่ า น
Algorithm ทีพ่ ัฒนาขึ้น
 สามารถนาขอมูลดานพลังงานไฟฟามาประมวลผลและแสดงผลตามชวงเวลาที่ กาหนด เชน ผลรวม
ของการผลิต-การใชพลังงานไฟฟา, ระบบ Electricity Billing, Wheeling Charge หรือ ระบบอื่น ๆ
ตามที่ กฟผ. กาหนด
 รูปแบบการเก็บข้อมูล รูปแบบการตัดสินใจยืนยันการชื้อขาย ใช้เทคโนโลยี Block Chain ในการ
บริหารจัดการ
 สามารถนาขอมูลดานพลังงานไฟฟูามาแสดงผลในรูปแบบกราฟแนวโนม ตามชวงเวลารายวัน/เดือน/

 สามารถแสดงผลแบบ Geographic View หรือแสดงผลในรูปแบบ 3D, คากาลังการผลิตติดตั้งของ
โครงการ ตาแหน่งการติดตั้ง สามารถแสดงผลการเปรียบเทียบหนวยพลังงานไฟฟาและความตอง
การใชของกลุ่ม USER พลังงานไฟฟาจาก Platform
 สามารถเรียกดูข อมูลยอนหลังได มีระบบวิเคราะหและแสดงผลขอมูล (Dashboard) ที่จัดเก็บใน
ระบบฐานขอมูล ของการฃื้อขายไฟฟูาระหว่าง ผู้ผลิตไฟฟูา Prosumer USER และ Utility
 มีระบบรักษาความปลอดภัย (Security)
 มีการเขารหัสขอมูล (Encryption) ในฐานขอมูลเพื่อปองกันการแกไข เปลี่ยนแปลงขอมูลการซื้อขาย
พลังงานไฟฟา

- 37 -
 มีการเขารหัสขอมูล Transaction ในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางอุปกรณ ที่เชื่อมตอกับเครื่อง
คอมพิวเตอรแมขาย (Server)
 สามารถแสดงผลและใหสิทธิ์การเขาถึงขอมูลของผูดูแลระบบ (Admin), ผูใชงานระบบ (User) และผู
ใชงานทั่วไป (Public User) ใน Platform โดยมี Password เปนตัวควบคุม
 สามารถ Export ขอมูลจาก Platform ในรูปแบบไฟล Excel นามสกุล .csv หรือ .xls
 มีระบบ Back-End เพื่อสามารถเพิ่ม ลบ แกไข หรือเปลี่ยนแปลงขอมูลกิจกรรมต่างๆ ได้
 รองรับการซื้อ-ขายของไฟฟูา โดยการควบคุมการส่งผ่านพลังงานไฟฟูาระหว่างอาคาร ระบบไฟฟูาจาก
Grid, ระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์, ระบบกักเก็บพลังงาน, ระบบ EV Charging ได้อย่าง
เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลาตามโหลดการใช้งานจริง
 แสดงการผลิตจากระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
 แสดงสถานะระบบกักเก็บพลังงาน Battery และ Battery Health
 แสดงผลการใช้งานของ EV charging station
 แสดงภาพรวมการใช้งานในแต่ละอาคาร
 แสดงข้อมูลการใช้พลังงานในอดีตและพยากรณ์การใช้พลังงานในอนาคต
 มีระบบการจัดการการรับและจ่ายเงินจากการทา Transaction ผ่านระบบ SmartTrading Platform
(Blockchain)
 มีการจัดฝึกอบรมการใช้งาน การบารุงรักษา และแก้ ไขปัญหา สาหรับระบบสมาร์ทไมโครกริดให้กับ
ผู้ใช้งานหรือพนักงานกฟผ. พร้อมส่งมอบเอกสารประกอบการฝึกอบรมโดยละเอียด

Server and Smart Monitor and Control for Smart Trading Platform

Server และ Monitoring


 เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server)
 ตัวเครื่องเป็นแบบติดตั้งภายใน Rack
 มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) จ านวน Core 8-Core หรือดีกว่า, ความเร็ว สัญญาณนาฬิกา
พื้นฐานไม่น้อยกว่า 2.4 GHz จานวนไม่น้อยกว่า 2 หน่วยหรือดีกว่า
 หน่วยประมวลผลการ CPU รองรับการประมาณผลแบบ 64 bit มีหน่วยความจา
 แบบ Cache Memory ไม่น้อยกว่า 20 MB
 มีหน่วยความจาหลัก RAM ชนิด ECC DDR3 หรือดีกว่า ขนาดไม่น้อยกว่า 32 GB

- 38 -
 มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard Drive) ชนิด SCSI หรือ SAS ที่มีความเร็วรอบไม่น้อย กว่า 10,000
รอบต่อนาที หรือ ชนิด Solid State Drive หรือดีกว่า และมีความจุ ไม่น้อยกว่า 450 GB จานวน
ไม่น้อยกว่า 4 หน่วย
 มี Optical Drive: DVD-ROM หรือดีกว่า แบบติดตั้งภายใน (Internal) หรือ ภายนอก (External)
จานวน 1 หน่วย
 มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย (Network Interface) แบบ 10/100/1000 Base-T หรือดีกว่า
จานวนไม่น้อยกว่า 2 ช่อง
 มี Network Controller: Gigabit Ethernet
 มี Power Supply แบบ Redundant หรือ Hot Swap จานวน 2 หน่วย
 UPS ชนิด U-RACK ขนาดไม่น้อยกว่า 2,000 VA
 ตู้ Rack 19” ชนิด 27U ขนาดไม่น้อยกว่า 600 x 1000 mm พร้อมพัดลมระบาย อากาศและ
ปลั๊กไฟ
 มี Rack mount LCD Monitor ขนาดไม่น้อยกว่า 14.9 นิ้ว ความละเอียดไม่น้อย กว่า 1280 x
1024 พร้อม Keyboard และ เมาส์หรือ Touchpad
 สวิตช์ฮับ (Switch hub) 24 ช่อง จัดการผ่านเว็ป ความเร็วไม่น้อยกว่า 1 Gb
 ระบบ Monitoring
 ต้องแสดงผลและสถานะการทางานของระบบ Microgrid แบบ Real Time สามารถเห็นถึง Power
Flow ในระบบ และสามารถเข้าไปดูรายละเอียด ในแต่ระบบที่สนใจได้ผ่านทางหน้า Dashboard
หลัก
 สามารถแสดงผลแยกเป็นระบบเช่น ระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบกักเก็บพลังงาน
ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร ระบบสับเปลี่ยนปหล่งพลังงานไฟฟูา ระบบแสดงผลทางด้าน
สิ่งแวดล้อม เป็นต้น
 มีจอแสดงผลไม่น้อยกว่า 4 จอ ความละเอียดภาพสูงสุดไม่น้อยกว่า 1,920x1,080 pixel หรือดีกว่า
ขนาดไม่น้อยกว่า 60 นิ้วต่อจอ

ระบบควบคุมกลางไมโครกริด (Central Control)


 จัดหา Software ระบบควบคุมกลางในการควบคุมอุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่ภายใต้ระบบไมโครกริดอย่าง
น้อยดังนี้ ระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบกักเก็บพลังงาน ระบบบริหารจัดการพลังงาน
ในอาคาร ระบบสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟูาอัตโนมัติ ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่

- 39 -
 Software ระบบควบคุมกลางต้องสามารถควบคุมสั่งการรวมถึงแสดงผลของระบบต่างๆ ดังนี้ ระบบ
ผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบกักเก็บพลังงาน ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร ระบบ
สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟูาอัตโนมัติ ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่
 Software ระบบควบคุมกลางต้องสามารถควบคุม ระบบผลิ ตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบกัก
เก็บพลังงาน ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร ระบบสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟูาอัตโนมัติ ระบบ
สถานีประจุแบตเตอรี่ ตาม Control Algorithm ที่พัฒนาขึ้นได้
 Software ระบบควบคุมกลางต้องสามารถวิเคราะห์ภาพรวมการผลิตไฟฟูา การใช้ไฟฟูา เพื่อให้ เกิด
ประโยชน์สูงสุดต่อการไฟฟูาการไฟฟูาฝุายผลิต
 ผู้เสนอราคาต้องพัฒนา Control Algorithm ในการควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้ ระบบผลิตไฟฟูาด้วย
เซลล์แสงอาทิตย์ ระบบกักเก็บ พลังงาน ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร ระบบสับเปลี่ยน
แหล่งจ่ายไฟฟูาอัตโนมัติ ระบบสถานีประจุแบตเตอรี่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ กฟผ.
 ผู้เสนอราคาต้องเสนอ Concept การออกแบบ Design ของ Control Algorithm ที่จะใช้สาหรับ
ระบบไมโครกริด
 Software ระบบควบคุมกลางต้องสามารถควบคุม สั่งการ ระยะไกลผ่านระบบ Internet ได้
 Software ระบบควบคุมกลางต้องสามารถทารายงานรายวัน รายเดือน และรายปี รวมถึงรายงาน
สาหรับผู้บริหารได้
 สามารถแสดงผลและใหสิทธิ์การเขาถึงขอมูลของผูดูแลระบบ (Admin), ผูใชงานระบบ (User) และผู
ใชงานทั่วไป (Public User) ในระบบโดยมี Password เป็นตัวควบคุม

- 40 -
การส่งมอบ
การส่งมอบวัสดุอุปกรณ์และเอกสาร
เอกสารคู่มือสาหรับการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์หลักของระบบผลิตไฟฟูาจากพลังงาน
แสงอาทิตย์ ชนิดติดตั้งบนหลังคา และระบบกักเก็บพลังงาน Battery Energy Storage System (BESS)
ของบริษัทผู้ผลิต และติดตั้งตามที่ กฟผ.กาหนด จัดทาเป็นรูปเล่มใส่แฟูมปกแข็งที่ได้มาตรฐาน จานวน
ระบบละ 3 ชุด และแต่ละระบบจัดเรียงเป็นหมวดหมู่พร้อม Scan เอกสารเป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ บรรจุ
ลงในแผ่น DVD และบันทึกลงใน SSD External HDD ส่งมอบให้ กฟผ. จานวน 3 ชุด พร้อมการส่งงาน
งวดสุดท้าย
จัดหาวิทยากรผู้ชานาญงานของบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์หลัก หรือผู้จัดจาหน่าย มาอบรมและแนะนา
ให้บุคลากรของ กฟผ.รับทราบเกี่ยวกับการใช้งาน การดูแลรักษา และอื่นๆ ตามระบุในคู่มือข้างต้น อย่าง
น้อย 2 ครั้ง ทฤษฎี 1 ครั้ง ปฏิบัติ 1 ครั้ง
ส่งมอบเครื่องมือและชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีมากับอุปกรณ์ หรือตามระบุในสัญญา ให้ กฟผ. ทั้งหมด
แบบแสดงต าแหน่ งการติ ด ตั ้ ง จริ ง (As-built Drawing) จั ด เป็ น รู ป เล่ ม แยกแต่ ล ะระบบ
ประกอบด้วย ต้นฉบับกระดาษขาวหรือกระดาษไขขนาด A1 ชนิด 100/105 GM. จานวน 1 ชุด สาเนา
ขนาด A1 และ A3 จ านวนขนาดละ 3 ชุด และข้อมูลของแบบดังกล่าว เป็นไฟล์คอมพิวเตอร์รูปแบบ
DWG และ PDF บรรจุลงในแผ่น DVD และบันทึกลงใน SSD External HDD ข้างต้น โดยส่งมอบให้ กฟผ.
พร้อมการส่งงานงวดสุดท้าย แบบแสดงตาแหน่งการติดตั้งจริงจะต้องแสดงอุปกรณ์ ระยะการติดตั้งวัสดุ
อุปกรณ์ ในผนัง หรือพื้น ให้ถูกต้องตามที่ติ ดตั้งจริง แสดงส่วนที่เปลี่ยนแปลงหรือ เพิ่ม -ลดจากแบบ
คู่สัญญาอย่างชัดเจน
การจัดทาแบบแสดงตาแหน่งการติดตั้งจริงให้ใช้กรอบมาตรฐาน และ Title Box ของ กฟผ. (ตาม
แบบฟอร์ม)
หนังสือรับประกันคุณภาพจากบริษัทผู้ผลิต หรือผู้ติดตั้งสาหรับวัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดตามสัญญา
โดยระบุรายชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้ และกาหนดระยะเวลารับประกันอย่างน้อยตาม
สัญญา
รายการวัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดที่ใช้ในงานนี้ ระบุชื่อบริษัท ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และชื่อผู้ที่
ติดต่อได้ เพื่อสะดวกในการซ่อมบารุงหรือสั่งซื้อเพิ่มเติม
ซ่อมแซมบริเวณโดยรอบสถานที่ติดตั้งที่เกิดความเสียหาย อันเนื่องมาจากการท างาน ผู้ขาย
จะต้องดาเนินการซ่อมแซมให้เสร็จเรียบร้อย ก่อนการส่งมอบงานงวดสุดท้าย
ท าความสะอาดพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งให้เรียบร้อย โดย กฟผ. สามารถใช้งานได้ทันที
หลังจากการรับมอบงานแล้ว

- 41 -
ข้อมูลจาเพาะ มาตรฐานอุปกรณ์ และรายละเอียดของอุปกรณ์ประกอบร่วม

การจัดจ้างก่อสร้าง
 ก าหนดให้ รายละเอีย ดในแบบรูปรายการงานก่อสร้าง ให้คู่ส ัญญาต้องใช้พัสดุประเภทวัสดุหรือ
ครุภัณฑ์ที่จะใช่้ในงานก่อสร้างเป็นพัสดุที่ผลิตภายในประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของมูลค่าพัสดุที่
จะใช้ในงานก่อสร้างทั้งหมดตามสัญญา
 ให้พิจารณาการใช้เหล็กในการก่อสร้างก่อน โดยกาหนดรายละเอียดในแบบรูปรายการงานก่อสร้าง ให้
คู่สัญญาต้องใช้เหล็กที่ผลิตภายในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณเหล็กที่ต้องใช้ทั้งหมด
ตามสัญญา
 กรณีจะไม่ใช้พัสดุที่ผลิตภายในประเทศ หรือใช้พัสดุที่ผลิตภายในประเทศไม่ครบร้อยละ 60 ให้เสนอ
คณะกรรมการ กฟผ. พิจารณาอนุมัติเห็นชอบก่อน

การจัดจ้างที่มิใช่งานก่อสร้าง
 ให้ใช้พัสดุประเภทวัสดุหรือครุภัณฑ์ที่ผลิตภายในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของมูลค่าวัสดุ หรือ
ครุภัณฑ์ที่จะใช้ในงานจ้างนั้น
 กรณีจะไม่ใช้พัสดุที่ผลิตภายในประเทศหรือจะใช้พัสดุที่ผลิตภายในประเทศไม่ครบร้อยละ 60 ให้
หน่วยงานเสนอ คก. กฟผ. พิจารณาอนุมัติเห็นชอบก่อน

ระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์และอุปกรณ์ประกอบร่วม

แผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด Crystalline Silicon ทุกชนิด


 เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) หรือ International Electrotechnical
Commission (IEC) ซึ่งประกอบด้วย IEC 61215 และ IEC 61730
 ก าลังผลิตไฟฟูาของแผงเซลล์ไม่น้อยกว่า 350 W ต่อหนึ่งแผงเซลล์ และมีค่าประสิทธิภ าพแผง
(Module efficiency) ไม่น้อยกว่า 15 % ที่ STC (Standard Test Condition) ที่ความเข้มแสง
1,000 วัตต์ต่อตารางเมตร อุณหภูมิแผงเซลล์ที่ 25 องศาเซลเซียส และ Air mass 1.5
 ค่า Power Tolerance ของแผงเซลล์ต้องมีค่าเป็นบวก
 Cable Connecter เป็นชนิดสาหรับระบบ Solar Cell โดยเฉพาะหรือดีกว่า IP67
 ชุดเซลล์แสงอาทิตย์จะต้องมีเครื่องหมายการค้า รุ่น ขนาด และ คุณสมบัติทางไฟฟูาเหมือนกันทุกแผง
ในการต่อขนานและ/หรืออนุกรมกัน โดยเป็นของใหม่ที่ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน

- 42 -
 โลหะหุ้มขอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์เป็นอลูมิเนียมชุบอโนไดซ์ (Anodized Aluminum) เพื่อให้มี
น้าหนักเบา ทนทานและไม่เป็นสนิม
 มีผลการทดสอบหาค่ากาลังไฟฟูาสูงสุด (Maximum power determination) ตามมาตรฐาน IEC
61646 หรือ IEC61215 หรือ IEC 61730
 รับประกันอายุการใช้งานแผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Manufacturing Warranty) ไม่ต่ากว่า 20 ปื และ
รับประกันการผลิตพลังงานไฟฟูาไม่ต่ากว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ที่ 10 ปี และไม่ต่ากว่า 80 เปอร์เซ็น ต์ ที่
25 ปี โดยมีหนังสือรับประกันประสิทธิภาพกาลังไฟฟูา (Pmax warranty) ของแต่ละปีที่ใช้งานตลอด
อายุการใช้งาน 25 ปี ตามมาตรฐานจากบริษัทผู้ผลิตหรือตัวแทนจาหน่าย

แผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด Crystalline Silicon (Half Cell หรือ แบบมาตรฐานทั่วไป)


 เป็นแผงชนิด Poly-crystalline หรือ Multi-crystalline ขนาดแผงไม่ต่ากว่า 350 W ประสิทธิภาพ
แผงไม่ต่ากว่า 15 เปอร์เซ็นต์
 ด้านหลังของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ติดตั้งกล่องรวมสายไฟฟูา (Junction Box) หรือขั้ว ต่อสาย
(Terminal Box) ที่มั่นคงแข็งแรง ทนต่อสภาพอากาศและสภาวะแวดล้อมได้ดี สามารถปูองกันการซึม
เข้าของน้าได้ ทนทานต่อสภาวะการใช้งานภายนอกและมีอายุการใช้งานยาวนาน ทาจาก PPE (Poly-
Phenyl-Ether) resin หรือดีกว่า
 มีกรอบที่แข็งแรงไม่เป็นสนิมและเคลือบสารที่ทนทานต่อการกัดกร่อนของสภาพแวดล้อมและสภาพ
ภูมิอากาศ ทาด้วย Anodized Aluminum Alloy หรือดีกว่า
 แผงเซลล์แสงอาทิตย์มีไดโอด (Bypass diode) ติดตั้งในกล่องรวมสายไฟฟูา (Junction Box) หรือ
ขั้วต่อสาย (Terminal Box) หรือมีเทคนิคการติดตั้ง Bypass Diode ที่ดีกว่า เพื่อช่วยให้เกิดการไหล
ของกระแสไฟฟูาเป็นไปตามปกติกรณีที่เกิดเงาบังเซลล์ใดเซลล์หนึ่ง
 สายไฟที่ใช้ภายนอกทาจาก HCVF solar poly-ethylene insulated poly-vinyl sheath cable
หรือ PV Cable หรือเทียบเท่า

แผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด Crystalline Silicon แบบ Hot Spot Free (มีไดโอดครบทุกเซลล์)


 เป็น แผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบ Hot Spot Free มี Bypass Diode ต่อขนาน ทุกเซลล์เพื่ อลด
ผลกระทบเรื่องการบังเงา

- 43 -
แผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด Crystalline Silicon แบบ Double Glass
 เป็นแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด Poly-crystalline หรือ Multi-crystalline แบบมีกระจกสองด้าน
(Double Glass)
 อนุโลมให้กาลังผลิตไฟฟูาของแผงเซลล์ไม่น้อยกว่า 300 W ต่อหนึ่งแผงเซลล์

โครงสร้างรองรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์
วัสดุที่ใช้ทาโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ทั้งหมด รวมทั้งอุปกรณ์ประกอบทั้งหมด เช่น
Fitting, hardware Bolt และ Nut ทาจาก Stainless Steel Grade 304 หรือ โลหะปลอดสนิม หรือ
วัส ดุอื่น ที่เทีย บเท่าหรือดีกว่า ซึ่ งเป็นวัส ดุอุปกรณ์ ที่ออกแบบส าหรับใช้กับการติดตั้งชุ ดแผงเซลล์
แสงอาทิตย์โดยเฉพาะและผลิตสาร็จจากโรงงาน
เอกสาร รายการค านวณและรายละเอี ย ดในการติ ด ตั ้ ง ของแบบชุ ด โครงรองรั บ แผงเซลล์
แสงอาทิตย์และมีการตรวจวัดโครงสร้างโดยการจาลอง Load จริง ว่าสามารถระบุน้าหนักได้ตามรายการ
คานวน โดยจะต้องมีวิศวกรวิชาชีพเป็นผู้ลงนามรับรองแบบดังกล่าวเสนอ กฟผ.
ชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ต้องออกแบบให้มีขนาดที่เหมาะสม มีความมั่นคง
แข็งแรง สามารถทนต่อแรงลมปะทะที่มีความเร็วไม่ต่ากว่า 25 เมตรต่อวินาที และน้าหนักของโครงสร้าง
ชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์จะต้องไม่สร้างความเสียหายต่อความแข็งแรงของโครงสร้างหลังคาและอาคารที่
ติดตัง้
ในกรณีที่ติดตั้งบนดาดฟูาจะต้องท าฐานซีเมนต์เกร้าท์และคานที่ท าจากโลหะปราศจากสนิม
สาหรับรองรับชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์พร้อมทาระบบกันรั่วซึมของชั้นดาดฟูาทั้งชั้น ตามหลักวิศวก รรม
หากจาเป็นต้องจะติดตั้งโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์บนดาดฟูาจะต้องขออนุญาตจาก กฟผ.
ก่อน
ในการออกแบบชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ จะต้องมีทางเดินสาหรับผู้ปฏิบัติงาน
สามารถเข้าถึงเพื่อดาเนินการซ่อมแซมและบารุงรักษาชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาได้อย่างปลอดภัย
และสะดวกทุกแผงเซลล์แสงอาทิตย์ภายหลังการติดตั้ง และจะต้องจัดให้มีบันไดหรือทางขึ้นลง
โครงสร้างรองรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ต้องเป็นวัสดุ Aluminum หรือ Stainless steel
ชุดโครงสร้างรองรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ สามารถถอดออกเป็นชิ้นส่วยย่อย ๆ และประกอบได้
อย่างสะดวก และวางมุมกับแนวระนาบเป็นมุมเอียงเมื่อติดตั้งชุดแผงเซลล์ฯ แล้วสามารถผลิตกาลังไฟฟูา
ได้สูงที่สุด
ชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ต้องต่อสายดินตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟูา
สาหรับประเทศไทย พ.ศ.2556 หรือฉบับล่าสุด

- 44 -
ระบบปูองกันทางด้านไฟฟูากระแสตรง
ระบบปูองกันทางด้านไฟฟูากระแสตรงประกอบด้วย ฟิวส์ , เบรกเกอร์, PV Firefighter, Safety
Switch, และ DC Surge Protection โดยมีรายละเอียดดังนี้
 อุปกรณ์ปูองกันกระแสเกินฝั่งกระแสตรง (DC Fuse)
 ออกแบบตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟูาระบบการผลิตไฟฟูาจากพลังงานแสงอาทิตย์ พ.ศ. 2559
ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
 อุปกรณ์ปูองกันและปลดวงจร (DC Circuit Breaker)
 ออกแบบสาหรับใช้กับไฟฟูากระแสตรงสาหรับระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
 ออกแบบตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟูาระบบการผลิตไฟฟูาจากพลังงานแสงอาทิตย์ พ.ศ. 2559
ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
 มีพิกัดกระแสลัดวงจร Isc ไม่ต่ากว่า 125 เท่าของพิกัดกระแสสูงสุด Isc ของระบบ
 สามารถปลดวงจรไฟฟูาได้โดยไม่ต้องปลดโหลด
 มีพิกัดแรงดันไฟฟูากระแสตรงได้ไม่ต่ากว่า 1.15 เท่าของของแรงดัน Voc ของระบบ
 มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน IEC 60898 หรือ IEC 60947 หรือเทียบเท่า
 ติดตั้งอยู่ภายในตู้สาหรับอุปกรณ์โดยเฉพาะ แยกจากตู้เครื่องวัดพลังงานไฟฟูา สถานที่ติดตั้งตาม
อาคารที่ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์
 อุปกรณ์ปลดวงจรระบบไฟฟูากระแสตรงสาหรับการดับเพลิง (PV Firefighter Safety Switch)
 ออกแบบส าหรับใช้กับไฟฟูากระแสตรงของระบบเซลล์แสงอาทิตย์ส าหรับการดับเพลิง (PV
Firefighter Safety Switch) โดยเฉพาะที่ตัวอุปกรณ์จะต้องเปิด-ปิดวงจร สามารถทาได้ง่ายด้วยมือ
และมีระบบปูองกันไม่ให้เปิด-ปิดวงจร โดยบังเอิญ
 ขนาดพิกัดกระแสไฟฟูาต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1.25 เท่าของพิกัดกระแสสูงสุด (Isc) ของชุดแผงเซลล์
แสงอาทิตย์
 มีพิกัดกระแสลัดวงจร Isc ไม่ต ่ากว่า 1.25 เท่าของกระแสลัดวงจร Isc ของระบบสามารถปลด
วงจรไฟฟูาโดยไม่ต้องปลดโหลด
 มีพิกัดแรงดันไฟฟูากระแสตรงได้ไม่ต่ากว่า 1.06 เท่าของของแรงดัน Voc ของระบบ
 มี Indicator บอกตาแหน่งหรือสภาวะการทางาน
 ระดับการปูองกันไม่น้อยกว่า IP65
 มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน IEC 60898 หรือ IEC 60947 หรือเทียบเท่า

- 45 -
 ติดตั้งอยู่ภายในตู้สาหรับอุปกรณ์โดยเฉพาะ แยกจากตู้เครื่องวัดพลังงานไฟฟูา สถานที่ติดตั้งตาม
อาคารที่ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์

สายไฟฟูา
 เป็นสายไฟชนิด Photovoltaic Cable หรือดีกว่า ที่สามารถทนอุณหภูมิไม่น้อยกว่า 80˚C
 มีขนาดทนกระแสสูงสุดได้ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่าของกระแสลัดวงจรของ PV String ที่สภาวะ STC

กล่องรวมสาย (DC Junction Box)


 เป็นกล่องโลหะหรือกล่องพลาสติกแข็ง ชนิดใช้งานกลางแจ้ง (Outdoor type)
 สามารถปูองกันสิ่งรบกวนตาม Ingress Protection (IP) ที่ระดับ IP 45 หรือดีกว่า
 ต้องติดตั้งขั้วต่อสายไฟฟูาภายในกล่องรวมสายอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ เป็นระเบียบ แข็งแรง
และปลอดภัย

เครื่องแปลงกระแสไฟฟูาแบบเชื่อมต่อเข้าระบบจาหน่าย
 ต้องเป็นผลิตภัณฑ์และรุ่นที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน IEC61727 Photovoltaic (PV) system
Characteristic of the utility interface และมาตรฐาน IEC62116 Test Procedure of islanding
prevention measure for utility interconnected และ เป็นอินเวอร์เตอร์ที่ผ่านการขึ้น ทะเบียน
ตามประกาศของการไฟฟูาส่ว นภูมิภ าค “รายชื่อผลิตภัณฑ์อินเวอร์เตอร์ที่ผ ่านการทดสอบตาม
ข้อกาหนดสาหรับอินเวอร์เตอร์ที่ใช้ในระบบผลิตไฟฟูาประเภทเชื่อมต่อกับโครงข่ายของการไฟฟูาส่วน
ภูมิภาค”
 Grid Connected Inverter ขนาดไม่น้อยกว่า 25 kW ต่อเครื่อง
 ยกเว้น Hybrid inverter ขนาดไม่น้อยกว่า 10 kW ต่อเครื่อง
 เป็นไฟฟูากระแสสลับชนิด 3 phase 4 Wire 230/400 V , 50 Hz
 ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงาน มากกว่า 98% (Total Efficiency)
 มีระบบปูองกัน ดังนี้
 แรงดันไฟฟูาสูงหรือต่ากว่าปกติ
 ความถี่ไฟฟูาสูงหรือต่ากว่าปกติ
 กระแสไฟฟูาด้าน Input DC และ Output AC สูงกว่าปกติ
 ความร้อนภายในสูง
 แรงดันไฟฟูากระชาก (Surge Arrester) ทั้งด้าน DC และ AC

- 46 -
 มีระดับการปูองกันไม่น้อยกว่า IP65
 มีอุปกรณ์ปูองกันกระแสเกินและกระแสย้อนกลับด้าน DC
 มีความผิดเพี้ยนทางรูปคลื่นของกระแสรวมไม่เกิน 5 %
 มี Port มาตรฐานเพื่อใช้ต่อกับชุดควบคุมการแสดงผลหรือเพื่อการแก้ไข software หรือเพื่อเก็บ
ข้อมูลโดย computer
 อินเวอร์เตอร์ที่เสนอราคาจะต้องได้รับประกันอายุการใช้งานอินเวอร์เตอร์ไม่น้อยกว่า 5 ปี

อุปกรณ์ปูองกันทางด้านไฟฟูากระแสสลับของระบบเซลล์แสงอาทิตย์
เป็น อุป กรณ์ป ูอ งกั น ทางด้า นไฟฟูา กระแสสลั บที่ จ ่า ยออกมาจากเครื ่อ งแปลงกระแสไฟฟู า
ประกอบด้วย
 AC Circuit Breaker
 AC Circuit Breaker สาหรับปูองกันและปลดวงจร Inverter ด้าน ไฟฟูากระแสสลับ
 เป็นชนิด 3 poles, 3 Phase 400 V 50 Hz เทียบเท่าหรือดีกว่า
 มีพิกัดกระแสลัดวงจร Icu ตามผลการค านวณแต่ต้องไม่น ้อยกว่า 10 kA และมี พิกัดกระแส
Ampere trip (AT) ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่าของพิกัดกระแสจ่ายออกสูงสุดของอินเวอร์เตอร์
 มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน IEC 60898 หรือ IEC 60947 หรือเทียบเท่า
 ติดตั้งอยู่ภายในตู้สาหรับอุปกรณ์โดยเฉพาะ แยกจากตู้เครื่องวัดพลังงานไฟฟูา สถานที่ติดตั้งตาม
อาคารที่ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์
 อุปกรณ์ปูองกันไฟฟูากระโชก (AC Surge Protection) ด้านไฟฟูากระแสสลับ
 สาหรับใช้กับระบบไฟฟูา 3 Phase, 400Vac,50 Hz
 มีคุณสมบัติการปูองกัน (Mode of protection) ต้องสามารถปูองกันไฟฟูากระโชกระหว่าง Phase
กับ Phase (L-L), Phase กับ Ground (L-G),Phase กับ Neutral (L-N) และ Neutral กับ
Ground (N-G)
 Surge Current Rating : 40 kA at 8/20 µsec. เทียบเท่าหรือดีกว่า
 Response Time : ไม่เกิน 25 nsec.
 มีหลอดไฟหรือสัญญาณเสียง (ALARM) เพื่อเตือนเมื่ออุปกรณ์ไม่อยู่ในสภาวะที่จะปูองกันในการรับ
SURGE ได้แล้ว
 มีระบบ Test เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของระบบการทางานภายใน

- 47 -
 ติดตั้งอยู่ภายในตู้สาหรับติดตั้งเครื่องวัดพลังงานไฟฟูา สถานที่ติดตั้งตามอาคารที่ติดตั้งแผงเซลล์
แสงอาทิตย์

MDB
 เป็นตู้โลหะทาจากแผ่นโลหะความหน้าไม่น้อยกว่า 2 มิลิเมตร ทาสีกันสนิมและพ่นสีพื้นเป็นสีเทาหรือ
สีโทนสีอ่อน
 ด้านหน้าตู้เป็นฝาเปิด-ปิด พื้นฝาตัดเป็นช่องที่มีสัดส่วนเหมาะสมสาหรับติดตั้งเครื่องมือแสดงค่าทาง
ไฟฟูาโดยติดกรอบย่างหรือวัสดุอื่น ๆ ที่มีคุณภาพเทียบเท่าหรือดีกว่าที่ขอบช่องของเครื่องมื อแสดงค่า
ทางไฟฟูา
 ติดตั้งเครื่องมือแสดงค่าทางไฟฟูาบนฝาตู้ พร้อมชื่อของเครื่องมือนั้น ๆ โดยพิมพ์ปูายชื่อให้มีความ
ชัดเจน

อุปกรณ์วัดความเข้มของแสงอาทิตย์ (Solar Irradiation)


 เป็นอุปกรณ์วัดค่าความเข้มแสงอาทิตย์ First Class หรือดีกว่าตามมาตรฐาน ISO 9060
 Accuracy จะต้องดีกว่าร้อยละ 5
 ติดตั้งร่วมกับกล่อง Pull Box ชนิด Hot-dip galva nized หรือติดตั้งรวมเป็นชุดตรวจสภาพอากาศ
(Weather Station) โดยยึดกับ Support เหนือระดับหลังคา ให้ติดตั้งมุมหันไปหาดวงอาทิตย์ทาง
เดียวกับแผงเซลล์ให้ได้รับแสงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน
 ให้ติดตั้งทุกระบบที่มีการติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ โดยติดตั้งระบบละ 1 ชุด

อุปกรณ์วัดความร้อนของแสงอาทิตย์ (Thermometer)
 Accuracy ดีกว่า 1 K (including signal conditioning)
 ส่งสัญญาณเป็น Analog แสดงปริมาณความร้อนไปที่ Data Logger เปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอลเข้า
เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผล

ชุดปูองกันระบบผลิตไฟฟูาจากเซลล์แสงอาทิตย์ประกอบด้วย
 Fuse Switch หรือ Breaker Switch ตัดต่อระบบไฟฟูาด้านเซลล์แสงอาทิตย์ (DC) มีคุณสมบัติตาม
มาตรฐาน IEC 60898 หรือ IEC 60947 หรือเทียบเท่า
 Breaker Switch ตัดต่อระบบไฟฟูาด้านกระแสสลับ (AC.) มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน IEC 60898
หรือ IEC 60947 หรือเทียบเท่า

- 48 -
 สายไฟฟูาที่นามาใช้ในระบบผลิตไฟฟูาจะต้องมีขนาดที่เหมาะสม ทนแรงดันไฟฟูาได้ไม่ต่ากว่า 700
โวลต์ และมีแรงดันไฟฟูาตกคร่อมขณะมีกระแสไฟฟูาไหลสูงสุดไม่เกิน 2%
 มีอุปกรณ์ปูองกัน Surge Protection ทางด้าน DC ออกแบบสาหรับใช้ไฟฟูากระแสตรงสาหรับระบบ
PV โดยเฉพาะ และมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน EN 50539-11 หรือเทียบเท่า
 มีอุปกรณ์ปูองกัน Surge Protection ทางด้าน AC ติดตั้งอยู่ภายในตู้สาหรับติดตั้งเครื่องวัดพลังงาน
ไฟฟูา สถานที่ติ ดตั้งตามอาคารที่ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์มีหลอดไฟและสัญญาณเสียง (ALARM)
เพื่อเตือนเมื่ออุปกรณ์ไม่อยู่ในสภาวะที่จะปูองกันในการรับ SURGE ได้แล้ว มีระบบ Test เพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้องของระบบการทางานภายใน
 อุปกรณ์ป ลดวงจรระบบไฟฟูากระแสตรงส าหรับการดับเพลิง (PV Firefighter Safety Switch)
โดยเฉพาะ
 ที่ตัวอุปกรณ์จะต้องเปิด-ปิดวงจรสามารถทาได้ง่ายด้วยมือ และสามารถควบคุมระยะไกล (Remote
Control) จากโปรแกรมได้
 สามารถปลดวงจรได้โดยไม่ต้องปลดโหลด
 มี Indicator บอกตาแหน่งหรือสภาวะการทางาน
 ระดับการปูองกันไม่น้อยกว่า IP65
 ติดตั้งอยู่ภายในตู้สาหรับอุปกรณ์โดยเฉพาะ แยกจากตู้เครื่องวัดพลังไฟฟูา สถานที่ติดตั้งตามอาคาร
ที่กาหนด
 มีระบบ Ground ที่ได้มาตรฐาน วสท.ฉบับล่าสุด
 มีอุป กรณ์ป ูองกัน กระแสไฟฟูาย้อนกลับ (Blocking Diodes) ทางด้าน DC ที่มีพิกัดทนแรงดัน
ย้อนกลับไม่น้อยกว่า 2 เท่าของแรงดันเปิดวงจร (Voc) ของระบบ
 Combiner Box ชนิด NEMA TYPE1 สาหรับติดตั้งภายในอาคาร และชนิด NEMA TYPE 3R สาหรับ
ติดตั้งภายนอกอาคาร อุปกรณ์ที่ประกอบภายในต้องได้มาตรฐาน
 DC Protection Box อุปกรณ์ที่ประกอบภายในต้องสามารถทนต่อสภาพอากาศและสภาวะแวดล้อม
ได้ดี และต้องมีวัสดุปูองกันการซึมของน้า
 AC Protection Box อุปกรณ์ที่ประกอบภายในต้องสามารถทนต่อสภาพอากาศและสภาวะแวดล้อม
ได้ดี และต้องมีวัสดุปูองกันการซึมของน้า

- 49 -
เครื่องวัดการใช้ไฟฟูากระแสสลับแบบดิจิตอล (Digital AC Power Meter)
 ใช้วัดกาลังไฟฟูาและพลังงานที่ผลิตได้จากระบบผลิตไฟฟูาจากเซลล์แสงอาทิตย์ในแต่ละอาคาร และ
สาหรับใช้วัดพลังงานของระบบไฟฟูาที่จ่ายให้แต่ละอาคาร จานวน 1 ชุด/อาคาร สามารถตรวจวัดการ
ใช้พลังงานไฟฟูากระแสสลับรวมถึงค่าทางไฟฟูาอื่นๆ แบบ Real time
 โดยอ่านข้อมูลที่วัดได้ทั้งหน้าจอแสดงผลและสามารถส่งข้อมูลที่วัดไปยังจอแสดงผลการผลิตไฟฟูาจาก
เซลล์แสงอาทิตย์โดยผ่านระบบสื่อสารข้อมูล พร้อมอุปกรณ์ประกอบสาหรับการติดตั้ง เครื่องวัดการใช้
พลังงานไฟฟูากระแสสลับแบบดิจิตอล มีคุณสมบัติอย่างน้อยดังนี้
- Voltage : Line to Neutral per Phase,
3 Phase Line to Line and Min/Mix
- Current : Per phase and Min/Mix
- Power (kVA,kW ,kVAR) : Per phase and Total 3 Phase
- Power Factor : Per phase and Total 3 Phase
- Energy(kWh ,kW ,kVARh) : Per phase and Total 3 Phase
- Demand : Max , Demand
- Harmonics : Up to 31 order
- Harmonics Distortion : %THD of Voltage and Current
- Type of Measurement : True RMS
- Accuracy
- Voltage : 0.5% FS
- Current : 0.5% FS
- Power : 0.5% FS
- Power Factor : 1.0% FS
- Energy : 0.5% FS
- Nominal Input Voltage : Direct up to 400 V Line to Line
- Input Current : suitable for 5 A. CT secondary rating
- Input Frequency : 45 – 65 Hz
- Overload : 10 a max continuous (50 A max for 1 second)
- Sensing/Measurement : 1 sec update time
- Programmable : Both CT and PT Ratio
- Burden : Not more than 6 VA

- 50 -
- Display : LCD or LED Display

ระบบเก็บข้อมูลแสดงผล (DATA LOGGER)


 ระบบเก็บข้อมูลแสดงผล คุณสมบัติของโปรแกรมเก็บข้อมูลและแสดงผล
 สามารถเชื่อมต่อกับเครื่องแปลงกระแสและนาข้อมูลมาแสดงผลที่จอแสดงผลขนาด 60”ได้
 สามารถเก็บข้อมูลทั้งหมดเพื่อจัดทารายงานในภายหลังได้
 ข้อมูลที่จัดเก็บไว้สามารถนามาใช้กับโปรแกรม Open Office ได้
 สามารถน าเสนอข้อมูลชนิด Real Time และ Diagram ระบบผลิตไฟฟูาจากเซลล์แสงอาทิตย์
พร้อมกันในจอแสดงผลหน้าเดียว
 บันทึกค่าพลังงานที่ผลิตได้ต่อวันจาก Inverter ทุกเครื่อง
 บันทึกค่ากาลังงานเฉลี่ยที่ผลิตได้ต่อชั่วโมง จาก Inverter ทุกเครื่อง
 บันทึกค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยต่อชั่วโมงจาก อุปกรณ์วัดความเข้มแสงอาทิตย์ (Sensor Box)
 บันทึกค่าได้อย่างน้อย 2 ปี
 สามารถนาข้อมูลมาประมวลผลโดยโปรแกรมในกลุ่ม Microsoft office ระบบปฏิบัติการ Window
ได้
 มีช่องสื่อสารมาตรฐานสามารถที่จะสื่อสารกับ Display Controller และ Laptop Computer ได้
 สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้แม้ไม่มีพลังงานไฟฟูา
 The standalone data logger for small to large PV systems with optional external
sensor connection
 Power line
 RS485
 RS232
 Ethernet

Monitoring and Display System


 เครื่องควบคุมการแสดงผลการผลิตไฟฟูาด้วย Solar Cell
 เครื่องคอมพิวเตอร์ Server กาหนดให้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย แบบที่ 1 คุณลักษณะพื้นฐาน
เป็นไปตามเกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐานครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ฉบับล่าสุดของกระทรวง
ดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

- 51 -
 เครื่องคอมพิวเตอร์ กาหนดให้ใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับงานประมวลผลแบบที่ 2 (จอภาพขนาด
ไม่น ้อยกว่า19 นิ้ว ) คุณลักษณะพื้นฐาน เป็นไปตามเกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐาน
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ฉบับล่าสุดของกระทรวงดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

อุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Switch)
เป็นไปตามมาตรฐานอุปกรณ์เครือข่ายสารสนเทศ สาหรับผู้ใช้งานทั่วไป (ปรับปรุงครั้งที่ 4) พ.ศ.
2560 แผนกวิศวกรรมเครือข่าย กองระบบเครือข่ายสารสนเทศ ฝุายปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฟผ.

จอแสดงผล LED
 เป็น LED ขนาดไม่น้อยกว่า 60 นิ้ว
 ให้ความละเอียดภาพสูงสุดไม่น้อยกว่า 1,920x1,080 pixel
 ขั้วต่อสัญญาณ HDMI ไม่น้อยกว่า 2 ช่องสัญญาณ เพื่อการเชื่อมต่อสัญญาณภาพ และเสียง
 ช่องต่อ USB ไม่น้อยกว่า 1 ช่องสัญญาณ เพื่อรองรับไฟล์ภาพ เพลง และภาพยนต์
 ระบบปรับภาพอัตโนมัติ (Picture sensor)

เครือ่ งส่งสัญญาณภาพและเสียงแบบไร้สาย สาหรับ จอแสดงผล


 จานวนไม่น้อยกว่าจานวนจอแสดงผล
 แสดงภาพจากอุปกรณ์ไร้สายได้อย่างน้อย 4 อุปกรณ์พร้อมกัน
 มีพอร์ต USB 2.0 หรือดีกว่า อย่างน้อย 1 ช่อง
 มีพอร์ตสาหรับต่อจอแสดงผลแบบ HDMI หรือดีกว่า อย่างน้อย 1 ช่อง
 มีพอร์ตสาหรับเชื่อมต่อระบบเครือข่ายชนิด LAN อย่างน้อย 1 ช่อง
 มีพอร์ตสาหรับเชื่อมต่อระบบเสียงภายนอก อย่างน้อย 1 ช่อง
 สามารถรองรับการนาเสนอสัญญาณภาพจากคอมพิวเตอร์ระบบปฎิบัติการ Window, IOS, Android

UPS ขนาดไม่น้อยกว่า 1,500 VA


 เป็ น เครื ่ อ งส ารองแบบ Line Interactive with Stabilizer ควบคุ ม ระบบการท างานด้ ว ย
Microprocessor
 มีกาลังไฟฟูาขาออกไม่น้อยกว่า 1,500 VA

- 52 -
 มีPort เสียบไฟฟูา Outlet อย่างน้อย 2 ports เป็นแบบ Backup และอย่างน้อย 1 port เป็นแบบ
Surge Protection
 ไฟฟูาขาออกลักษณะ Stimulated Sine Wave มีแรงดันขาออกที่ 220 Volt โดยมีค่าผิดพลาดในการ
จ่ายไฟฟูาไม่เกิน +/- 5% และในขณะที่Stabilizer ทางานจะมีค่าผิดพลาดในการจ่ายไฟฟูาไม่เกิน +/-
10%
 สามารถรองรับแรงดันไฟฟูาขาเข้าได้ตั้งแต่170-275 Volt Single Phase หรือดีกว่า
 ใช้แบตเตอรี่แบบ Sealed Lead Acid Maintenance Free
 สามารถสารองไฟฟูาได้ไม่น้อยกว่า 15 นาทีที่full load
 เครื่องสารองไฟฟูามีสัญญาณเสียงเตือนบอกสถานะอย่างน้อยคือ Battery Backup, Battery Low
และ Overload
 บนเครื่องสารองไฟฟูามีสัญญาณไฟ LED เตือน บอกสถานะอย่างน้อยคือ On-line, On Battery

ชุดควบคุมระบบแสดงผล
 มี Port สื่อสารที่ต่อกับ Port ของ Inverter ทุกเครื่อง
 สามารถอ่านค่ากาลังผลิต ณ เวลาใด ๆ ของ Inverter แต่ละเครื่องหรือทุกเครื่องรวมกันได้โดยมีสวิทซ์
เลือกอย่างอิสระส่งไปจอแสดงผล
 สามารถอ่านค่าพลังงานที่ผลิตได้ของ Inverter แต่ละเครื่องหรือทุกเครื่องรวมกันได้โดยมีสวิท ซ์เลือก
อย่างอิสระส่งไปจอแสดงผล
 สามารถแก้ไขรูปแบบการแสดงผลได้โดยใช้ Software

ระบบบันทึกและแสดงผลการผลิตไฟฟูาจากพลังงานแสงอาทิตย์
 การตรวจวัด บัน ทึกและแสดงผลให้เป็นไปตามมาตรฐาน IEC 61724 Photovoltaic system
performance monitoring – Guidelines for measurement, data exchange and analysis
หรือมาตรฐานอื่นๆ ที่เทียบเท่าหรือดีกว่า
 ผู้ขายจะต้องจัดหาและติดตั้งโปรแกรมเพื่อใช้ในการบันทึก แสดงผลการผลิตไฟฟูาจากพลังงาน
แสงอาทิตย์และบริหารจัดการพลังงานจากอุปกรณ์ input และ output ที่ติดตั้งทั้งหมด ให้เป็นไป
ตามข้อกาหนดความต้องการของ กฟผ.

- 53 -
 โปรแกรมที่พัฒนาแล้วจะต้องเป็นลิขสิทธิ์ กฟผ. โดยสมบูรณ์ ละห้ามเปิดเผยหรือกล่าวอ้างข้อมูล ส่วน
หนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมดของโครงการนี้ให้กับบุคคลภายนอกโดยเด็ดขาดกฟผ. สงวนสิทธิ์ที่จะเรียกร้อง
ค่าเสียหายจากการละเมิดลิขสิทธิ์นี้ทุกประการ
 อุปกรณ์สาหรับจัดเก็บบันทึกข้อมูลจากเครื่องวัดและ Sensor ประมวลผล และระบบสื่อสารข้อมูล
เป็นอุปกรณ์สาหรับบันทึกข้อมูลการผลิตไฟฟูาจากเซลล์แสงอาทิตย์ที่ได้จากเครื่องวัดและ Sensor
ต่ า งๆ การประมวลผลข้ อ มู ล รวมถึ ง อุ ป กรณ์ แ ปลงสั ญ ญาณและอุ ป กรณ์ ค วบคุ ม ส าหรั บ การ
ติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่ างค่าที่ได้จากเครื่องวัดและ Sensor ต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลและประมวลผล
ข้อมูล แล้วแสดงผลพร้อมอุปกรณ์ระบบสื่อสารระยะไกล (Remote Monitoring) เพื่อเรียกดูและ
จัดการข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ที่ใดก็ได้ในรูปแบบของ Web base Application ที่ใช้ Web browser
ทั่วไป โดยไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมอื่นเพิ่มเติม ผ่านระบบสื่อสาร LAN ของ กฟผ. หรือแบบไร้สาย WIFI
และสนับสนุนระบบเครือข่าย Internet
 ระบบจัดเก็บข้อมูล NAS Storage
 NAS Storage ที่มีหน่วยประมวลผลกลางในตัวเครื่องแบบ Duad-Core ความเร็วไม่น้อยกว่า 2.0
GHz
 มีหน่วยความจาในตัวเครื่องแบบ DDR3 ขนาดไม่น้อยกว่า 2 GB
 รองรับการใส่ Harddisk ที่มีการเชื่อมต่อแบบ SATA 6Gb/s, SATA 3Gb/s หรือ SSD ได้ไม่น้อย
กว่า 2 ตัวและมี Harddisk ติดตั้งมาในตัวเครื่อง ขนาดไม่น้อยกว่า 4TB จานวน 2 ชุด
 มีช่องต่อระบบเครือข่ายแบบ Gigabit ได้ไม่น้อยกว่า 2 ช่อง
 มีช่องต่อ USB 3.0 ไม่น้อยกว่า 3 ช่อง
 มีช่องต่อ HDMI ออกไม่น้อยกว่า 1 ช่อง
 มีโปรแกรมการจัดการ หรือ ระบบปฏิบัติการ สาหรับควบคุมการทางาน
 เป็นการนาข้อมูลที่ได้จากการวัด และข้อมูลประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาประมวลผล และคานวณหา
ค่าต่างๆได้อย่างน้อยจะต้องประกอบด้วย
 อ่านค่าและแสดงผลที่ได้จากอุปกรณ์ตรวจวัดและ Sensor แบบเวลาปัจจุบัน (Real Time) ได้
จานวนไม่จากัด สามารถแสดงผลการนาเสนอข้อมูลที่อ่านได้คานวณหาประสิทธิภาพของชุดแผง
เซลล์แสงอาทิตย์ ปริมาณลดการปล่อยก๊าซ CO2 สัดส่วนการใช้พลังงานของระบบผลิตฯ แต่ละ
อาคาร ฯลฯ แบบเวลาปัจจุบัน (Real Time) ทั้งรูปแบบตัวเลข และกราฟต่างๆ และสามารถเรียกดู
ย้อนหลังได้
 แสดงค่าสูงสุด-ต่าสุด ค่าเฉลี่ยเป็นรายวัน, รายเดือน, รายปี และตามช่วงเวลาที่เลือกได้

- 54 -
 แสดงปริมาณการใช้พลังงานไฟฟูาแต่ละอาคาร และพลังงานไฟฟูาที่ผลิตได้จากระบบผลิตไฟฟูาฯ ที่
ติด ตั ้ ง ในแต่ ล ะอาคาร รวมถึง พลังงานไฟฟูา รวมที่ร ะบบฯ ผลิต ได้ เช่ น Voltage, Current,
Frequency, Power Factor, kWh, kVAR และค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน โดยจะต้องสามารถปูองกัน
อัตราค่าไฟฟูาแบบต่างๆได้ เช่น ค่าไฟฟูาอัตรา TOD, Demand Charge, Power Factor Charge
โดยแสดงค่าเป็นแบบเวลาปัจจุบันได้, รายวัน, รายเดือน และรายปี
 ผลการประหยัดพลังงานและปริมาณการลดก๊าซ CO2 โดยสามารถแสดงผลเป็นแบบเวลาปัจจุบัน
ได้, รายวัน, รายเดือน และรายปี โดยสามารถแปลงให้อยู่ในรูปของหน่วยเทียบเท่าได้ เช่น จานวน
เงิน, ปริมาณการใช้หลอดไส้, ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
 จัดเก็บข้อมูลจากการวัดลงในฐานข้อมูลทุกๆ 5 นาทีหรือตามที่ กฟผ. กาหนดโดยอัตโนมัติ และต้อง
สามารถเก็บข้อมูลทั้งหมดไม่น้อยกว่า 2 ปี
 จะต้องสามารถตั้งสัญญาณเตือน (Alarm) เมื่อมีเหตุการณ์ใดๆผิดปกติ และบันทึกการแจ้งเตือน
ตามเหตุ ก ารณ์ น ั ้ น ๆ ได้ อ ย่ า งน้ อ ย 1,000 เหตุ ก ารณ์ และสามารถส่ ง ข้ อ มู ล แจ้ ง เตื อ นไปยั ง
โทรศัพท์มือถือหรือ e-mail ได้
 สามารถเพิ่มเติมอุปกรณ์อื่นๆ หรือแก้ไขสูตรต่างๆได้ภายหลัง โดยเจ้าหน้าที่ของ กฟผ.
 มีแผนผังรวมแสดงตาแหน่งการติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์ในแต่ละอาคารพร้อมทั้งแสดงผลการผลิต
ไฟฟูารวมแบบ Real Time ในแต่ละอาคาร
 การจัดทารายงาน
 จะต้องสามารถบันทึกและส่งออกข้อมูลค่าที่ได้จากการวัดและคานวณในรูปแบบของ Microsoft
Excel หรือเทียบเท่า โดยอัตโนมัติ ในการบันทึกข้อมูลดังกล่าวจะต้องเก็บแบบเรียงข้อมูลเป็นกลุ่ม
ที่ง่ายต่อการนาไปใช้งาน เช่นข้อมูลรายวัน รายเดือน รายปี ของแต่ละเครื่องมือวัดต่างๆ เป็นต้น
 สามารถน าค่าจากการวัดและการค านวณ มาจัดท าเป็นรายงาน (ข้อความและรูปภาพ) การใช้
พลังงาน ประสิทธิภ าพของชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ และสภาพแวดล้อม (อุณหภูมิ, ความชื้น,
คาร์บอนไดออกไซด์ ) เป็นรายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน และรายปี โดยสามารถสั่งพิมพ์ออก
ทางเครื่องพิมพ์ได้โดยตรงสามารถจัดทาใบแจ้งปริมาณการใช้ไฟฟูา โดยสามารถสั่งพิมพ์ออกทาง
เครื่องพิมพ์ได้โดยตรง สามารถจัดท าใบแจ้งปริมาณการใช้ไฟฟูา โดยสามารถสั่งพิมพ์ออกทาง
เครื่องพิมพ์โดยตรง

Communication Cable
 Shielded Twisted Pair (STP) for RS485 High Speed Data Cables /Computer Cable: CM,
CMI Data Cable

- 55 -
 These types of cable also called low capacitance cables and application almost for
Balanced Circuited Signal between data communication equipment and data
terminal equipment. Due to very low capacitance these cables can extended
distance with balanced pairs applications up to 500 ft. * Balanced Circuited Signal -
e.g. EIA RS422, RS485, RS232 etc.
 Conductor : Tinned stranded copper
 Insulation : Polyethelene
 Shield : Aluminium polyester Foil
 Drain wire : 7 strands tinned copper
 Jacket : PVC grey color
 Product Description
 Multi pairs Cable Overall Foil Shielded
 Description NEC Type: CM
 AWG: 24
 Conductor Stranded (No.mm): 7/0.20
 No of Pairs.: 4
 Insulation Thickness (mm.): 0.3
 Nominal OD. (mm.): 7.4
 Nominal Pairs Cap-pF/m: 48

ข้อกาหนดการติดตั้งระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
 เสนอรายละเอียด และอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดตั้งให้ กฟผ. อนุมัติก่อนการติดตั้ง
 การติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาหรือพื้นดาดฟูา จะต้องมีร ะยะห่างเพียงพอให้เกิดการ
ไหลเวียนของอากาศเพื่อช่วยการระบายความร้อนของ
 PV Array Jungtion Box และ AC Combiner Box ติดตั้งในตาแหน่งที่สามารถซ่อมบารุงได้สะดวก
 INVERTER ติดตั้งบนชั้นซึ่งทาจากวัสดุที่ไม่เป็นสนิม และรองรับน้าหนักรวมของ Inverter ได้และ
สามารถอดเปลี่ยนอุปกรณ์ได้โดยสะดวกปลอดภัย
 คอมพิวเตอร์, จอ LED 60” และอุปกรณ์ประกอบ ให้ติดตั้งในห้องควบคุมระบบของ กฟผ.

- 56 -
 เมื่อติดตั้งแล้วเสร็จ ห้ามจ่ายไฟเข้าระบบโดยเด็ดขาด จนกว่า กฟผ. จะส่งเจ้าหน้าที่มาตรวจสอบความ
ถูกต้องของระบบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงจะจ่ายไฟเข้าระบบได้ ยกเว้นในกรณีที่ทดสอบระบบต้องแจ้ง
เจ้าหน้าที่ของ กฟผ. ก่อนทดสอบเสมอ
 อุปกรณ์จับยึดต้องมั่นคง ไม่เป็นสนิม
 การเดินสายไฟกระแสตรงใช้สาย PV Cable ขนาด และจานวนตามแบบ
 การเดินสายไฟฟูาจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์มายังตู้ควบคุม (Combiner Box) ในห้องไฟฟูาใช้สาย CV
ขนาด และจานวนตามแบบที่เสนอ
 การเดินสายไฟฟูาจากตู้ควบคุมไฟฟูา ไปยังเครื่องแปลงกระแสไฟฟูาใช้สาย IEC01 ขนาด และจานวน
ตามแบบตามแบบที่เสนอ
 สายสัญญาณชุดแสดงผลมาพร้อมระบบแสดงผลไฟฟูากระแสสลับใช้สาย IEC01 ขนาด และจานวน
ตามแบบตามแบบทีเ่ สนอ จากเครื่องแปลงกระแสไฟฟูาไปยังตู้ Switch Board
 สายไฟฟูาและสายสัญญาณที่เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆจะต้องมีความยาวต่อเนื่องไม่มีการตัดต่อ
สายโดยเด็ดขาดและถ้าฉนวนของสายชารุดในระหว่างปฏิบัติงานผู้ขายต้องเปลี่ยนสายใหม่ทันทีโดย
ค่าใช้จ่ายเป็นความรับผิดชอบของผู้ขาย
 ผู้ขายจะต้องจัดทา Shop Drawing ซึ่งแสดงรายละเอียดการติดตั้งอุปกรณ์ในระบบต่าง ๆ เสนอให้
กฟผ. พิจารณาเห็นชอบก่อนเข้าดาเนินการ

การท างานของระบบผลิ ตไฟฟู าด้ว ยเซลล์แสงอาทิตย์ กรณีเ ชื ่อ มต่ อกับ ระบบจ าหน่ าย ชนิด Grid
Connect (Grid Connected System)
 เป็น ระบบการผลิ ต ไฟฟู า จากพลัง งานแสงอาทิ ตย์ แบบเชื่ อมต่อ สายส่ งโดยการติด ตั ้ งแผงเซลล์
แสงอาทิตย์ (Solar Cell) บนผนังอาคารที่สามารถรับแสงอาทิตย์ได้ตลอดวัน
 แผงเซลล์แสงอาทิตย์ท าการผลิตไฟฟูากระแสตรง (DC) ซึ่งถูกแปลงให้เป็นไฟฟูากระแสสลับ (AC)
ผ่านเครื่องแปลง Grid Connected Inverter ที่เชื่อมต่อกับระบบส่งของการไฟฟูาฯ
 แผงเซลล์แสงอาทิตย์จะผลิตไฟฟูากระแสตรงให้ไหลไปสู่อินเวอร์เตอร์ และอินเวอร์เตอร์จะเปลี่ยน
ไฟฟูากระแสตรงเป็นไฟฟูากระแสสลับ 220 Vac. 50 Hz หรือ 400 Vac. 50 Hz จ่ายไฟไปสู่ตู้ Load
Center ของอาคารและจ่ายไฟไปสู่โหลดไฟฟูาของอาคาร
 การท างานของอินเวอร์เตอร์ชนิดเชื่อมต่อกับระบบของการไฟฟูา (Grid Connected Inverter)
อินเวอร์เตอร์จะแปลงไฟฟูากระแสตรงเป็นไฟฟูากระแสสลับเฉพาะเวลามีไฟฟูากระแสสลับที่จ่ายมา
จากอาคารเท่านั้นและอินเวอร์เตอร์จะไม่ทางานหากไม่มีไฟฟูากระแสสลับจ่ายมาจากอาคาร

- 57 -
 กรณีที่ไม่มีไฟฟูามาจ่ายที่อาคารอินเวอร์เตอร์จะหยุดการทางานทันทีเพื่อปูองกันมิให้เกิดความเสียหาย
ที่อาจจะเกิดกับระบบหรือเป็นอันตรายต่อเจ้าหน้าที่ที่ก าลังซ่อมระบบไฟฟูาของอาคารหรือเวลา
กลางคืน หรือไม่มีแสงอาทิตย์
 กรณีที่แผงเซลล์แสงอาทิตย์ในแต่ละอาคารมีก าลังผลิตมากกว่าโหลดของการใช้งานไฟฟูาของทุก
อาคารรวมกันจะต้องสามารถปรับค่าการทางานของอินเวอร์เตอร์ให้สามารถจ่ายโหลดที่มีอยู่ได้
 ทาการบันทึกจานวนหน่วยของไฟฟูาที่ผลิตได้จากเซลล์แสงอาทิตย์ที่จาหน่ายไปยังสายส่งโดยการใช้
ข้อมูลจาก Inverter ส่งเข้าไปที่ Data Logger เข้าประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์เวลากลางวัน

การทดสอบระบบผลิตไฟฟูาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
 หากผลการทดสอบไม่ผ่านจานวน 1 แผง คณะกรรมการตรวจรับจะไม่ยินยอมรับแผงเซล์แสงอาทิตย์
นั้น ซึ่งผู้ขายจะต้องนาแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชุดใหม่ทั้งหมดมาส่งมอบให้ กฟผ. ในระยะเวลาที่ตกลง
ยินยอมทั้งสองฝุายและดาเนินการกระบวนการตรวจรับอีกครั้งหนึ่งโดยค่าใช้จ่ายทั้งหมดเป็นของผู้ขาย
 เซลล์แสงอาทิตย์ที่จัดส่งต้องบรรจุหีบห่อปูองกันการกระแทก
 ในการส่งมอบงานผู้ขายจะต้อง Commissioning และทดสอบ Function การทางานของระบบผลิต
ไฟฟูาด้วยโซล่าร์เซลล์ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานปกติเป็นเวลา 15 วันติดต่อกันให้ได้ Function การ
ทางานที่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ที่ได้ออกแบบไว้และวิธีการทดสอบจะต้องถูกต้องตามหลักวิชาการ
และทารายงานเสนอ กฟผ. ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจรับมอบงานด้วยขณะทาการทดสอบหาก
มีการชารุดเสียหายผู้ขายจะต้องรีบดาเนินการเปลี่ยนอุปกรณ์ที่เสียหายออกและหาของใหม่มาทดแทน
ทันทีค่าใช้จ่ายต่างๆอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ขายทั้งสิ้นทั้งนี้จะนามาเป็นข้ออ้างในการขอต่ออายุ
สัญญาของงานไม่ได้
 ผู้ขายจะต้องทดสอบความต่อเนื่องของสายไฟฟูาทั้งหมด (Continuity Test)
 ผลการทดสอบทั้งหมดจะต้องส่งให้กฟผ. ภายในเวลา 3 วันทาการหลังจากที่ได้ดาเนินการทดสอบแล้ว
เสร็จ
 ผู้ขายต้องจัดทาเอกสารประกอบการใช้งานการเปิด -ปิดระบบการดูแลและบารุงรักษาระบบและจัด
ฝึกอบรมให้เจ้าหน้าที่กฟผ. หลังการส่งมอบงานงวดสุดท้ายภายใน 7 วัน
 ผู้ขายจะต้องจัดทาข้อมูล Presentation ในรูปแบบของ Microsoft Power Point สาหรับอบรมการ
ใช้งานและบารุงรักษาโดยมีหัวข้อไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้ดังนี้
 สาระสาคัญของโครงการ
 การทางานของระบบ

- 58 -
 รายละเอียดอุปกรณ์ต่างๆ และการทางานระบบย่อยต่างๆ
 ระบบคอมพิวเตอร์แสดงผล
 การใช้งานการบารุงรักษา และการแก้ไขปัญหา
 โดยเขียนไฟล์ลง สื่อที่กาหนดส่งมอบให้กฟผ. พร้อมกับการส่งมอบงานงวดสุดท้าย

การตรวจรับ และรับประกัน
การตรวจรับระบบระบบผลิตไฟฟูาจากเซลล์แสงอาทิตย์
 กฟผ. จะแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับ เพื่อทาการตรวจรับระบบผลิตไฟฟูาจากเซลล์แสงอาทิตย์ โดย
ผู้ขายจะต้องทดสอบค่า Performance Ratio (PR) ได้ไม่ต่ากว่า 78 เปอร์เซ็นต์ โดยการวัดค่าเฉลี่ย
15 วันต่อเนื่อง ซึ่งการคานวณ PR ต้องอ้างอิงการคานวณจาก มาตรฐาน IEC 61724
 ถ้าผลของการทดสอบ PR ไม่ถึงค่าที่ กฟผ. กาหนด ผู้ขายจะต้องด าเนินการแก้ไขและทดสอบใหม่
จนถึงค่าที่ กฟผ. กาหนด ด้วยค่าใช้จ่ายของผู้ขายและถ้าความเห็นของผู้ขายกับคณะกรรมการตรวจ
รับไม่ตรงกัน ให้ถือความเห็นของคณะกรรมการตรวจรับเป็นที่สุด ส่วนระยะเวลาที่เสียไปเพราะเหตุ
ดังกล่าว ผู้ขายจะนามาเป็นเหตุขอขยายกาหนดเวลาส่งมอบหรือของดหรือขอลดค่าปรับไม่ได้
การตรวจรับระบบการจัดเก็บข้อมูลและการแสดงผล
 ผู้ขายต้องจัดทาตามที่ กฟผ. ได้กาหนดไว้ให้เรียบร้อย และตรวจสอบก่อนส่งมอบ
การรับประกัน
 ผู้ขายจะต้องรับประกัน Workmanship and/or Materials ไม่น้อยกว่า 2 ปีนับจากวันที่ส่งมอบงาน
ให้ กฟผ.
 การรับประกัน Power Output นั้น จะต้องไม่น้อยกว่าค่าที่กาหนดดังนี้
Period of Time Percentage of Peak Power Output
At delivery Pmin*
0 – 10 Year 90% of Pmin*
11 – 25 Year 80% of Pmin*
Pmin* : Minimum peak power output (95% of nominal peak power output)

 ผู้ขายจะต้องส่งมอบเอกสารการรับประกันหรือใบรับประกันสินค้าหรืออุปกรณ์จากบริษัทผู้ผลิตให้
กฟผ. ในวันส่งมอบงานการรับประกัน Power Output ตลอดอายุสัญญานั้นหากกาลังผลิตไม่ได้ตามที่

- 59 -
รับประกันไว้ โดยจะต้องปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ของระบบ เพื่อให้ได้ก าลังผลิตตามที่ได้รับประกันไว้
(Degradation Output Warranty (Replacement) 25 Year)
 ในการรับประกันผลงานการติดตั้ง ผู้ขายจะต้องทาการตรวจสอบและบารุงรักษาอุปกรณ์ทั้งระบบให้
กฟผ. ทุก 4 เดือนเป็นเวลา 2 ปี ซึ่งหากเกิดความขัดข้องเสียหายเนื่องจากวัสดุอุปกรณ์ ในการติดตั้งใน
ระหว่างการรับประกันการติดตั้ง ผู้ขายต้องเข้ามาดาเนิการแก้ไขหรือหาอุปกรณ์ใหม่มาทดแทนแก้ไข
ภายใน 1 วัน หลังจากได้รับการแจ้งจาก กฟผ. โดยค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในระยะเวลาที่
ประกัน อยู่ในความรับผิดชอบของผู้ขาย

- 60 -
แผงสวิทซ์ย่อย (Panel board)

ความต้องการทั่วไป
แผงสวิทซ์ย่อย (Panel board) หมายความถึง Load Center (LC.), Power Panel Board
(PB.), Lighting Panel Board (LP.), Emergency Panel Board (EP.), Consumer Unit (CU.)
แผงสวิทซ์ย่อย เป็นแผงสวิทซ์ที่ใช้ควบคุมการจ่ายกาลังไฟฟูาให้แก่ Load ต่างๆ โดยมี Branch
Circuit Breaker เป็ น ตั ว ควบคุ ม Load แต่ ล ะกลุ ่ ม หรื อ แต่ ล ะตั ว ตามก าหนดในแบบหรื อ ตาม
Panelboard Load Schedule

ข้อกาหนดทางเทคนิค
 Panel board ต้องออกแบบขึ้นตามมาตรฐานของ NEMA หรือ IEC หรือ VDE โดยสร้างสาเร็จจาก
ผู้ผลิต Circuit Breaker ที่ใช้สาหรับ Panel board นี้เพื่อใช้กับระบบไฟฟูา 380/220 โวลท์ 3 เฟส 4
สาย 50 เฮิร ์ท หรือ 220 โวลท์ 1 เฟส 2 สาย 50 เฮิร์ท ตามก าหนดในแบบและ Panel board
Schedule
 Cabinet ต้องเป็นแบบติดลอย ตัวตู้ทาด้วย Galvanized Code Gauge Sheet Steel with Grey
Baked Enamel Finish มีประตูปิด-เปิด ด้านหน้าเป็นแบบ Flush Lock
 Bus bar ที่ต่อกันกับ Breaker ต้องเป็น Phase Sequence Type และเป็นแบบที่ใช้กับ Plug-On
หรือ Bolt-On Circuit Breaker
 Main Circuit Breaker ต้องเป็น Molded Case Circuit Breaker มี AMP Trip และ AMP Frame
ตามที่ ก าหนดให้ในแบบ ประกอบด้ว ย Instantaneous Magnetic Short Circuit Trip และ
Thermal Over Current Trip ควรเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกับ Feeder Circuit Breaker ต้นทางเพื่อการ
ทางานที่สัมพันธ์กัน (Co-Ordination)
 Branch Circuit Breaker ต้องเป็นแบบ Quick-Make, Quick-Break, Thermal Magnetic and
Trip Indicating และเป็นแบบ Plug-On หรือ Bolt-On Type มีขนาดตามที่ระบุไว้ใน Panel board
Schedule โดย Circuit Breaker ต้องเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกับ Main Circuit Breaker
 Nameplate แผงสวิทซ์ย่อยต้องบ่งบอกด้วย Nameplate, Nameplate ต้องทาด้วยแผ่นพลาสติก
สองชั้น ชั้นนอกเป็นสีดาและชั้นในเป็นสีขาว การแกะสลักตัวหนังสือ กระทาบนแผ่นพลาสติกสีดา
เพื่อว่าเมื่อประกอบกันแล้ว ตัวหนังสือจะปรากฏเป็นสีขาว ตัวหนังสือบน Nameplate เป็นไปดัง
แสดงไว้ในแบบ

- 61 -
 ผังวงจร ตู้ย่อยทุกตู้ ต้องมีผังวงจรที่อยู่กับตู้ดังกล่าวติดไว้ที่ฝาตู้ ซึ่งบ่งบอกถึงหมายเลขวงจร ขนาด
สาย ขนาดของ Circuit Breaker และ Load ชนิดใดที่บริเวณใดไว้เพื่อสะดวกในการบารุงรักษา
 การติดตั้งให้ติดตั้งกับผนังด้วย Expansion Bolt ที่เหมาะสม หรือติดตั้งบน Supporting ที่เหมาะสม
โดยระดับสูง 1.80 เมตร จากพื้นถึงระดับบนของแผงสวิทซ์ตามตาแหน่งที่แสดงในแบบ

อุปกรณ์เดินสายไฟฟูา

ความต้องการทั่วไป
เพื่อให้การใช้งานและการติดตั้งอุปกรณ์เดินสายไฟฟูา (สายไฟฟูา ให้รวมถึงสายสัญญาณทาง
ไฟฟูา - สื่อสารอื่นๆ เช่น สายโทรศัพท์ สายสัญญาณวิทยุ –โทรทัศน์ สายสัญญาณแจ้งเตือน เป็นต้น)
เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและถูกต้องตามมาตรฐาน จึงกาหนดให้การจัดหาวั สดุ อุปกรณ์ และการติดตั้ง
เป็นไปตามข้อกาหนดดังรายละเอียดนี้

ท่อร้อยสายไฟฟูา
ท่อร้อยสายไฟฟูาโดยปกติแบ่งออกเป็น ชนิด ตามลักษณะความเหมาะสมในการใช้งาน โดยท่อทุก
ชนิดต้องเป็น ท่อโลหะตามมาตรฐาน ANSI หรือ ASTM หรือ JIS ชุบปูองกันสนิมโดยวิธ ี Hot–Dip
Galvanized ซึง่ ผลิตขึ้นเพื่อใช้งานร้อยสายไฟฟูาโดยเฉพาะดังต่อไปนี้
 ท่อโลหะชนิดบาง (Electrical Metallic Tubing : EMT) มีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ½ นิ้ว ติดตั้ง
ใช้งานในกรณีที่ติดตั้งลอยหรือซ่อนในฝูาเพดาน ซึ่งไม่มีสาเหตุใดๆ ที่จะทาให้ท่อเสียรูปทรงได้ หรือทา
ให้ท่อเสียหาย การติดตั้งใช้งานให้เป็นไปตามกาหนดใน NEC Article 348, Connectors ของท่อ
EMT จะต้องเป็นชนิด Compression Type ชนิดเดียวเท่านั้น ชนิด Set screw type ไม่อนุญาตให้
นาเข้ามาใช้
 ท่อโลหะชนิดหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit : IMC) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เล็ก
กว่า ½ นิ้ว ติดตั้งใช้งานได้เช่นเดียวกับท่อโลหะบาง และติดตั้งฝังในคอนกรีตได้ แต่ห้ามใช้ฝังดิน
โดยตรงและใช้ในสถานที่อันตรายตามกาหนดใน NEC Article 345
 ท่อโลหะชนิดหนา (Rigid Steel Conduit : RSC) สามารถใช้งานแทนท่อ EMT และ IMC ได้ทุก
ประการและให้ใช้ในสถานที่อันตรายและฝังดินได้โดยตรงตามกาหนดใน NEC Article 346
 ท่ออ่อน (Flexible Metal Conduit) เป็นท่อโลหะอ่อนที่ใช้ร้อยสายไฟฟูาเข้าอุปกรณ์ หรือเครื่อง
ไฟฟูาที่มี หรืออาจมีการสั่นสะเทือนได้ หรืออุปกรณ์ที่อาจมีการเคลื่อนย้ายได้บ้าง เช่น มอเตอร์ โคม

- 62 -
ไฟแสงสว่างเป็นต้น ท่ออ่อนที่ ใช้ในสถานที่ชื้นแฉะ และนอกอาคารต้องใช้ท่ออ่อนชนิดกันน้า การ
ติดตั้งใช้งานโดยทั่วไปให้เป็นไปตามข้อกาหนดใน NEC Article 350
 ท่อ Corrugated Hdpe Pipe ใช้เดินฝังใต้ดินโดยตรง ความลึกจากผิวดินอย่างน้อย 0.90 ม.
 อุปกรณ์ประกอบการเดินท่อ ได้แก่ Coupling, Connector, Lock Nut, Bushing และ Service
Entrance Cap ต่างๆ ต้องเหมาะสมกับสภาพและสถานที่ใช้งาน
 การติดตั้งท่อร้อยสายไฟฟูา ต้องเป็นไปตามข้อกาหนดดังนี้.-
 ให้ทาความสะอาดทั้งภายในและภายนอกท่อก่อนทาการติดตั้ง
 การดัดงอท่อต้องไม่ทาให้ท่อเสียรูปทรง และรัศมีมีความโค้งของการดัดงอต้องเป็นไปตามข้อกาหนด
ของ NEC
 ท่อต้องยึดกับโครงสร้างอาคารหรือโครงสร้างถาวรอื่นๆ ทุกๆ ระยะไม่เกิน 1.50 เมตร
 ท่อแต่ละส่วนหรือแต่ละระยะต้องติดตั้งเป็นที่เรียบร้อยก่อน จึงสามารถร้อยสายไฟฟูาเข้าท่อได้
ห้ามร้อยสายเข้าท่อในขณะกาลังติดตั้งท่อในส่วนนั้น
 การเดินท่อในสถานที่อันตรายตามข้อกาหนดใน NEC Article 500 ต้องมีอุปกรณ์ประกอบพิเศษ
เหมาะสมกับแต่ละสภาพและสถานที่
 การใช้ท่ออ่อนต้องใช้ความยาวไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร
 แนวการติดตั้งท่อต้องเป็นแนวขนานหรือตั้งฉากกับตัวอาคารเสมอ หากมีอุปสรรคจนท าให้ไม่
สามารถติดตั้งท่อตามแนวดังกล่าวได้ให้ปรึกษากับผู้ควบคุมงานเป็นแต่ละกรณีไป
 หากไม่ได้ระบุเป็นอื่น ท่อต่างๆ จะต้องติดตั้งโดยวิธีฝังในคอนกรีต ยกเว้นที่ติดตั้งภายในฝูาเพดาน
และห้องเครื่องกลหรือไฟฟูา
 เมื่อติดตั้งท่อและกล่องต่อสายเข้าด้วยกันแล้วจะต้องมีความต่อเนื่องทางไฟฟูา ตลอดแนวความยาว
การติดตั้งท่อร้อยสายไฟฟูาจาก ต้นทางถึงปลายทาง

Cable Tray
 Cable Tray ต้องผลิตขึ้นจากเหล็กแผ่นที่ผ่านการปูองกันสนิมโดยวิธีชุบ Galvanized หรือเป็นแผ่น
เหล็กชุบ Electro-Galvanized โดยที่แผ่นเหล็กด้านข้างต้องมีความหนาไม่น้อยกว่า 2 mm. และแผ่น
เหล็กพื้นพับเป็นลูกฟูก มีช่องเจาะระบายอากาศได้อย่างดี
 Cable Tray ชนิด Ladder Type โดยมีระยะห่างระหว่าง rung ไม่เกิน 12 นิ้ว สาหรับ Type ขนาด
ความกว้างไม่เกิน 24 นิ้ว และระยะห่างระหว่าง rung ไม่เกิน 9 นิ้ว สาหรับ tray ขนาดความกว้าง 30
นิ้ว Side rail สูง 6 นิ้ว (0.15 ม.)

- 63 -
 Straight section ของ Cable Tray ที่สั้นกว่า 12 ฟุต (3.65 ม.) จะต้อง เป็นชิ้นเดียวกัน การต่อ
Cable Tray จะต้องกระทาโดยใช้ Splicing Plate
 การเปลี่ยนแนวทางเดินของ Cable Tray หรือการต่อเข้า -อุปกรณ์จะต้องใช้ fittings ที่เหมาะสม
Fittings จะต้องมีรัศมีความโค้ง (Bending radii) ไม่น้อยกว่า 24 นิ้ว หรือมากกว่า ตามความต้องการ
สาหรับรัศมีความโค้งของสายไฟที่เดินใน Cable Tray
 Tray support จะต้องเป็น Galvanized steel channel แขวนห้อยจากพื้นเหนือ Cable Tray ด้วย
1/2" 0 threaded galvanized steel rod 1/2"
 Cable Tray จะต้องเดินในแนวขนานกับโครงสร้างของอาคาร และมีความสูงเหนือ Tray พอเพียง
สาหรับการวางสายไฟฟูาใน Tray
 Tray support จะต้องมีระยะห่างกันไม่เกิน 1.50 เมตร และที่ support ทุกอันจะต้องมี Hold
down clmap สาหรับยึด Cable Tray
 Cable Tray System จะต้องติดตั้งให้ต่อเนื่องกันทั้งทาง mechanically และ electrically
 Cable Tray จะต้องต่อลงดินทุกๆ ระยะ 50 เมตร Cable Tray จะใช้แทน grounding cnductor
ไม่ได้
 Cable Tray จะต้องติดตั้งให้เรียบร้อยเสียก่อน จึงจะเริ่มการวางสายได้ภายใน Tray จะต้องเรียบ
ปราศจากจุดแหลมคม ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อฉนวนของสายไฟฟูาได้
 สายไฟฟูาที่เดินใน Cable Tray จะต้องจัดวางให้เรียบร้อยและต้องยึดสายกับ rung ด้วย Nylon
cable tie ทุกๆ 0.50 เมตร เมื่อเดินในแนวราบ และทุกๆ 0.3 เมตร เมื่อเดินในแนวดิ่งหรือเมื่อมีการ
เปลี่ยนแนวเดินสาย
 สายที่เดินใน Cable Tray จะต้องมีความยาวตลอดจากอุปกรณ์ไฟฟูา ถึงอุปกรณ์ไฟฟูา ห้ามมีการต่อ
สายใน Cable Tray
 การติดตั้ง Cable Tray และการเดินสายใน Tray จะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน NEC Article 318
ของประเทศ

Wireway
 Wireway ต้องพับขึ้นจากเหล็กแผ่นที่มีความหนาไม่น้อยกว่า 1.6 mm. พร้อมฝาครอบปิดผ่านการ
ปูองกันสนิมโดยวิธีชุบ Electro-Galvanized หรือแผ่นเหล็ก Aluzinc แผ่นเหล็กกล้าจะต้องผ่าน
กรรมวิธีปูองกันสนิม และทาเคลือบด้วยสีเทา ด้านหน้าจะต้องเปิดได้ โดยเป็นประตูบานพับหรือเป็น
แผ่นเปิดยึดกับ wireway ด้วย Sheet metal screw

- 64 -
 การติดตั้งใช้งาน Wireway ต้องเป็นไปตาม NEC Article 300 และ Article 362 และต้องยึดกับ
โครงสร้างอาคารทุกๆ ระยะไม่เกิน 1.50 เมตร
 ขนาดพื้นที่หน้าตัดของ wireway สาหรับการติดตั้งแต่ละบริเวณ จะต้องคานวณตามมาตรฐาน NEC
ของ ซึ่งกาหนดให้ผลรวมของพื้นที่หน้าตัดของสายใน wireway ในจุดหนึ่งๆ จะต้องไม่เกิน 20 % ของ
พื้นที่หน้าตัดของ wireway ในจุดนั้น
 Wireway ที่ติดตั้งภายนอกอาคาร หรือ บริเวณที่อาจถูกละอองน้าจะต้องเป็นชนิดกันสนิม
 Wireway จะต้องติดตั้งในที่ๆ สามารถเข้าไปทาการซ่อมแซม บารุงรักษาสายไฟฟูา ภายในได้สะดวก
 Wireway จะต้องติดยึดกับโครงสร้างของอาคาร หรือ Support อย่างแข็งแรง ด้วยอุปกรณ์ที่วิศวกร
เห็นชอบ
 Current rating ของสายไฟฟูาใน wireway จะต้อง derating ตามมาตรฐาน NEC หรือ วสท.
 การเชื่อมสายใน wire way ควรจะกระท าให้น้อยที่สุด ในกรณีที่มีการเชื่อมสายจะต้องไม่ท าให้
พื้นทีห่ น้าตัดของสายที่ผ่านและพื้นที่ๆ เสียไป เพราะอุปกรณ์ในการเชื่อมสายในจุดนั้นรวมกันแล้วเกิน
กว่า 75 % ของพื้นที่หน้าตัดของ wireway
 Wireway จะต้องติดตั้งให้ต่อเนื่องกันทั้งทาง mechanically และ electrically
 ภายใน Wireway ต้องมี Cable Support ทุกระยะ 50 เซนติเมตร

กล่องต่อสาย
กล่องต่อสายในที่นี้ ให้รวมถึงกล่องสวิทซ์ กล่องเต้ารับ กล่องต่อสาย (Junction Box) กล่องพัก
สาย หรือกล่องดึงสาย (Pull Box) ตามกาหนดใน NEC Article 370 รายละเอียดของกล่องต่อสายต้อง
เป็นไปตามกาหนดดังต่อไปนี้
 กล่องต่อสายมาตรฐานโดยทั่วไป ต้องเป็นเหล็ กมีความหนาไม่น้อยกว่า 1.2 มิลลิเมตร ผ่านกรรมวิธี
ปูองกันสนิมด้วยการชุบ Galvanized หรือใช้แผ่นเหล็ก Aluzinc และกล่องต่อสายชนิดกันน้า ต้อง
ผลิตจากเหล็กหล่อหรืออลูมิเนียมหล่อที่มีความหนาไม่น้อยกว่า 2.4 มิลลิเมตร
 กล่องต่อสายที่มีปริมาตรใหญ่กว่า 100 ลูกบาศก์นิ้ว ต้องพับขึ้นจากแผ่นเหล็กที่มีความหนาไม่น้อยกว่า
1.5 มิลลิเมตร ทั้งนี้ต้องคานึงถึงความแข็งแรงของกล่องต่อการใช้งาน ผ่านกรรมวิธีปูองกันสนิมด้วย
การชุบ Galvanized หรือใช้แผ่นเหล็ก Aluzinc และกล่องแบบกันน้าต้องมีกรรมวิธีที่ดี
 กล่องต่อสายชนิดกันระเบิด ซึ่งใช้ในสถานที่อาจเกิดอันตรายต่างๆ ได้ตามที่ระบุใน NEC Article 500
ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพจาก UL (Underwriters Laboratory) หรือมาตรฐาน
อื่นที่เทียบเท่า

- 65 -
 ขนาดของกล่องต่อสาย ขึ้นอยู่กับขนาด จ านวน ของสายไฟฟูาที่ผ่านเข้าและออกกล่องนั้นๆ และ
ขึ้นกับขนาดจานวนท่อร้อยสายหรืออุปกรณ์เดินสายอื่นๆ ทั้งนี้ต้องคานึงถึงรัศมีการโค้งงอของสายตาม
กาหนดใน NEC Article 373
 กล่องต่อสายทุกชนิดและทุกขนาดต้องมีฝาปิดที่เหมาะสม
 กล่องต่อสายและกล่องดึงงสายสาหรับวงจรย่อย วงจรควบคุม ซึ่งใช้กับสายขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่เกิน
6 ตร.มม ถ้าติดตั้งภายในอาคารจะต้องเป็นกล่องเหล็กอาบสังกะสี ตามมาตรฐานมีดังต่อไปนี้
 4" Octagonal Box , ลึก 1.5"
 4" Square Box , ลึก 1.5"
 4" Square Box , ลึก 2-1/8"
 4" * 2-1/8" Handy Box , ลึก 1.5"
 กล่องดังกล่าวข้างต้น หากใช้เป็นกล่องต่อสาย (Junction Box) หรือกล่องดึงสาย (Pull Box) จะต้อง
มีฝาปิดชนิด Blank cover ทุกกล่องหากใช้เป็น Outlet Box สาหรับสวิทซ์ เต้ารับ หรือโคมไฟฟูา
จะต้องมี raised ring ที่เหมาะสม เพื่อให้ช่องเปิดของกล่องมีขนาดที่สามารถปิดบังได้ด้วยฝาครอบ
สวิทซ์เต้ารับ หรือฐานของโคมไฟฟูา
 กล่องต่อสายและกล่องดึงสายสาหรับ วงจรย่อย วงจรควบคุม ซึ่งใช้กับสายขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่เกิน 6
ตร.มม ถ้าติดตั้งภายนอกอาคารหรือภายในอาคารที่ๆ อาจถูกละอองน ้า จะต้องเป็นชนิด Cast
Aluminum
 กล่องต่อสาย และกล่องดึงสาย สาหรับ วงจรย่อย วงจรควบคุม ซึ่งใช้กับสายขนาดพื้นที่หน้าตัด10
ตร.มม. หรือใหญ่กว่าจะต้องทาด้วยแผ่นเหล็กความหนาไม่น้อยกว่า 1.6 มม. และแผ่นเหล็กจะต้อง
ผ่านกรรมวิธีปูองกันสนิมและทาเคลือบด้วยสีเทา กล่องจะต้องสามารถเปิดเพื่อทางานได้จากด้านหน้า
ของกล่อง กล่องต่อสายและกล่องดึงสาย จะต้องเป็นชนิด watertight หากติดตั้งภายนอกอาคารหรือ
ภายในอาคาร ซึ่งอาจถูกละอองน้า ฝาปิดจะต้องมี Gasket
 Conduit bodies เช่น LB, LL, LR, T เป็นต้น อาจใช้ในระบบเดินท่อร้อยสายไฟฟูา แต่ห้ามต่อสายใน
Conduit bodies ดังกล่าว
 ความจุของกล่องต่อสายหรือกล่องดึงสายของกล่องมาตรฐาน ส าหรับบรรจุสายไฟฟูาขนาดต่างๆ
จะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน NEC หรือ วสท.
 ขนาดของกล่องต่อสายหรือกล่องดึงสาย สาหรับใช้กับสายไฟขนาดพื้นที่หน้าตัด 10 มม. หรือ ใหญ่
กว่าจะต้องคานวณจากข้อกาหนด ดังนี้
 เมื่อใช้สาหรับดึงสายในแนวตรง

- 66 -
ความยาวของกล่อง = 8 x เส้นผ่าศูนย์กลางของท่อร้อยสายไฟฟูาที่ใหญ่ที่สุด
 เมื่อดึงเป็นมุมหรือ รูปตัว U
ระยะห่างระหว่างท่อที่เดินเข้ากล่องกับผนังตรงข้าม = (6 x เส้นผ่าศูนย์กลางของท่อที่
ใหญ่ที่สุด) + (ผลรวมเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อทั้งหมดที่เดินเข้าทางเดียวกันของกล่อง)
 กล่องดึงสายซึ่งติดตั้งสาหรับการเดินท่อร้อยสายไฟฟูาขึ้นตามแนวดิ่ง จะต้องมีอุปกรณ์ยึดสายติดตั้งอยู่
ภายในทุกๆ กล่องดึงสายตามระยะห่างที่กาหนด
 การติดตั้งกล่องต่อสาย ต้องยึดแน่นกับโครงสร้างอาคารหรือโครงสร้างถาวรอื่นๆ และกล่องต่อสาย
สาหรับ แต่ละระบบให้มีรหัสสีทาภายในและที่ฝากล่องให้เห็นได้ชัดเจน ตาแหน่งของกล่องต่อสายต้อง
ติดตั้งอยู่ในที่ซึ่งเข้าถึงและทางานได้สะดวก

การติดตั้ง
หากมิได้กาหนดไว้เป็นการเฉพาะ การติดตั้งสายไฟฟูาแรงต่าและอุปกรณ์เดินสายไฟฟูาให้เป็นไป
ตามมาตรฐานของการไฟฟูาฯ หรือมาตรฐาน NEC และประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง “ความปลอดภัย
ทางไฟฟูา”
ถึงแม้ว่าข้อกาหนดจะระบุให้อุป กรณ์เดินสายไฟฟูาเป็นตัวนาสาหรับการต่อลงดินหรือไม่ก็ตาม
แต่ต้องทาการติดตั้งอุปกรณ์เดินสายไฟฟูาเหล่านี้ทุกๆ ช่วงให้มีความต่อเนื่องทางไฟฟูาโดยตลอด เพื่อ
เสริมระบบการต่อลงดินให้มีความแน่นอนและสมบูรณ์

การทดสอบ
ให้ทดสอบเพื่อให้เชื่อมั่นได้ว่ามีความต่อเนื่องทางไฟฟูาในทุกๆ ช่วง ตามความเห็นชอบของผู้
ควบคุมงาน

Circuit Breaker Box (Enclosed Circuit Breaker)


 ให้ใช้ Molded Case Circuit Breaker ที่มี Ampere Trip Rating จานวน Pole ตามระบุในแบบ
 Enclosure เป็นไปตามมาตรฐาน NEMA โดยที่
 NEMA 1 พับจาก Sheet Steel with Gray-Baked Enamel Finish ส าหรับการใช้งานติดตั้ง
ภายในอาคารทั่วๆ ไป
 NEMA 3 พับจาก Zinc Coated Steel with Gray-Baked Enamel Finish สาหรับใช้งานติดตั้ง
ภายนอกอาคาร

- 67 -
 การติดตั้ง ให้เป็น ไปตามก าหนดในแบบโดยเป็นแบบ Flush Mounting ส าหรับในอาคารและ
Surface Mounted สาหรับภายนอกอาคาร โดยสูงจากพื้น 1.50 เมตร ถึงระดับบนสุด

สายไฟฟูาแรงต่า

ความต้องการทั่วไป
ข้อก าหนดนี้ครอบคลุมคุณสมบัติ สมรรถนะของสายไฟฟูาแรงต ่า รวมทั้งข้อกาหนดการติดตั้ง
อุปกรณ์ต่างๆ เหล่านั้น เพื่อให้ถูกต้องและเป็นไปตามระเบียบและมาตรฐานของการไฟฟูาฯ

ข้อกาหนดทางเทคนิค
 โดยทั่วไปให้สายไฟฟูาแรงต่ามีตัวนาเป็นทองแดงหุ้มด้วยฉนวน Polyvinyl Chloride (PVC) สามารถ
ทนแรงดันไฟฟูาได้ไม่น้อยกว่า 700 โวลท์ และทนอุณหภูมิได้ไม่น้อยกว่า 70 องศาเซลเซียส ตาม
มอก.11-2531
 สายไฟฟูาที่มีขนาดใหญ่กว่า 6 ตารางมิลลิเมตร ต้องเป็นชนิดลวดทองแดงตีเกลียว (Stranded Wire)
 สายไฟฟูาที่ใช้ร้อยในท่อโลหะ หรือ Wireway โดยทั่วไปก าหนดให้เป็นสายไฟฟูาตัวน าแกนเดียว
(Single-Core) ตาม มอก.11-2531
 สายไฟฟูาที่กาหนดให้ใช้ฝังดินโดยตรง หรือเดินใน Underground Duct ทั้งแบบตัวนาแกนเดียวและ
ตัวนาหลายแกน (Multi-Core) ต้องเป็นสายไฟฟูาที่หุ้มด้วยฉนวน พีวีซีอย่างน้อย 2 ชั้น ตาม มอก.
11-2531, NYY-N หรือ NYY-GRD แล้วแต่กรณี
 สายไฟฟูาที่ใช้กับเครื่องจักรถาวรที่มีการเคลื่อนที่เป็นประจ า เช่น รอกไฟฟูา เครื่องจักรที่มีการ
สั่นสะเทือน หรือกรณีที่ผู้คุมงานเห็นชอบ ให้ใช้สายไฟฟูาชนิด Flexible Cable หุ้มฉนวน พีวีซี สอง
ชั้นตาม มอก. 11-2531
 สาหรับสายไฟฟูาภายในดวงโคมไฟฟูาที่มีความร้อนเกิดขึ้นสูง เช่น โคมที่ใช้หลอดไส้ (Incandescent
Lamp), High Intensity Discharge Lamp เป็ นต้ น ให้ใช้ส ายทนความร้อ นซึ ่งหุ ้มด้ว ยฉนวน
Asbestos หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติเทียบเท่า
 สายทองแดงเปลือย (Bare Copper Conductor) เป็นชนิด Soft Drawn
 รหัสสี (Color Code) สาหรับสายไฟฟูามีดังนี้
 ระบบไฟฟูา 380/220 โวลท์ 3 เฟส 4 สาย ให้ใช้รหัสสี ดังนี้
สายเส้นกลาง สีฟูา
สายเส้น เฟส A สีน้าตาล

- 68 -
สายเส้น เฟส B สีดา
สายเส้น เฟส C สีเทา
สายเส้นดิน สีเขียว หรือเขียวแถบเหลือง หรือทองแดงเปลือย
 ระบบไฟฟูา 220 โวลท์ 1 เฟส 2 สายให้ใช้สี ดังนี้
สายเส้นกลาง สีฟูา
สายเส้นไฟ สีดา
สายเส้นดิน สีเขียว หรือเขียวแถบเหลือง หรือทองแดงเปลือย
 สาหรับสายซึ่งมีพื้นที่หน้าตัดใหญ่กว่า 10 ตร.มม. หากมีฉนวนหุ้มสีดาให้ใช้เทปสีตาม
รหัสติดที่ปลายสายก่อนเข้าจุดต่อสาย

การติดตั้ง
การติดตั้งสายไฟฟูาซึ่งเดินร้อยในท่อโลหะต้องกระทาดังต่อไปนี้
 ให้ร้อยสายไฟฟูาเข้าท่อได้เมื่อมีการติดตั้งท่อเรียบร้อยแล้ว
 การดึงสายไฟฟูาเข้าท่อต้องใช้อุปกรณ์ช่วย ซึ่งออกแบบให้ ใช้เฉพาะงานดึงสายไฟฟูา โดยปฏิบัติตาม
คาแนะนาของผู้ผลิต
 การดึงสายไฟฟูาเข้าท่อ อาจจาเป็นต้องใช้สารช่วยหล่อลื่น โดยสารนั้นจะต้องเป็นสารพิเศษที่ไม่ทา
ปฏิกิริยากับฉนวนของสายไฟฟูา
 การดัดโค้งหรืองอสายไฟฟูาไม่ว่ากรณีใดๆ ต้องมีรัศมีความโค้งไม่น้อยกว่าข้อก าหนดใน NEC และ
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยทางไฟฟูา
 สายไฟฟูาที่เดินในท่อร้อยสายไฟฟูาขึ้นตามแนวดิ่ง จะต้องมีอุปกรณ์สาหรับยึดสาย โดยเฉพาะที่ปลาย
ของสาย และตลอดแนวของสายที่ระยะห่างไม่มากกว่าตามที่ระบุดังต่อไปนี้
 ขนาดสาย 50 ตร.มม. หรือเล็กกว่าทุกๆ ระยะ 30 เมตร
 ขนาดสาย 70 - 120 ตร.มม.ทุกๆ ระยะ 20 เมตร
 ขนาดสาย 150 - 300 ตร.มม.ทุกๆ ระยะ 10 เมตร
 อุปกรณ์ยึดสายจะต้องติดตั้งภายในกล่องดึงสายอุปกรณ์ยึดสายจะต้องเหมาะสมกับการใช้งาน ไม่เป็น
อันตรายต่อฉนวนหุ้มสายไฟฟูาและได้รับการอนุมัติจากวิศวกรให้ใช้ได้ สายไฟฟูาที่วางฝังในดิน
โดยตรง จะต้องมีความลึกจากผิวดินไม่น้อยกว่า 60 ซม. ในบริเวณที่เดินลอดใต้ถนนสายไฟฟูาจะต้อง
เดินสายภายในท่อ Rigid Steel Condnit

การต่อเชื่อมและการต่อแยกสายไฟฟูาต้องกระทาดังต่อไปนี้

- 69 -
 การต่อเชื่อมและการต่อแยกสายไฟฟูา ให้กระทาได้ภายในกล่องต่ อแยกสายไฟฟูาเท่านั้น ห้ามต่อใน
ช่องท่อโดยเด็ดขาด
 การต่อเชื่อมหรือต่อแยกสายไฟฟูาที่มีขนาดของตัวนาไม่เกิน 10 ตารางมิลลิเมตร ให้ใช้ Insulated
Wire Connector, Pressure Type ทนแรงดันไฟฟูาได้ไม่น้อยกว่า 600 โวลท์
 การต่อเชื่อมหรือต่อแยกสายไฟฟูาที่มีขนาดตัวน าใหญ่กว่ า 10 ตารางมิลลิเมตร และไม่เกิน 240
ตารางมิลลิเมตร ให้ใช้ปลอกทองแดงชนิดใช้แรงกลอัด (Splice or Sleeve) และพันด้วยฉนวนไฟฟูา
ชนิดละลายและเทป พีวีซี อีกชั้นหนึ่ง
 การต่อเชื่อมหรือต่อแยกสายไฟฟูาที่มีขนาดตัวนาใหญ่กว่าที่กาหนดข้างต้น ให้ต่อโดยใช้ Split Bolt
Connector ซึ่งผลิตจาก Bronze Alloy หรือวัสดุอื่นที่ยอมรับให้ใช้ในงานต่อเชื่อมสายไฟฟูาแต่ละ
ชนิด
 ปลายสายไฟฟูาที่สิ้นสุดภายในกล่องต่อสายต้องมี Terminal Block เพื่อการต่อสายไฟฟูาแยกไปยัง
จุดอื่นได้สะดวก และการเปลี่ยนชนิดของสายไฟฟูา ให้กระทาได้โดยต่อผ่าน Terminal Block นี้
 การต่อสายเข้าอุปกรณ์ไฟฟูาต่างๆ จะต้องใช้ Terminal Lugs ที่เหมาะสม

การทดสอบ
ให้ทดสอบค่าความต้านทานของฉนวนสายไฟฟูาดังนี้
 สาหรับวงจรแสงสว่าง และเต้ารับให้ปลดสายออกจากอุปกรณ์ตัดวงจรและสวิทซ์ต่างๆ อยู่ในตาแหน่ง
เปิดต้องวัดค่าความต้านทานของฉนวนได้ไม่น้อยกว่า 0.5 เมกกะโอห์ม ในทุกๆ กรณี
 สาหรับ Feeder และ Sub-Feeder ให้ปลดสายออกจากอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งสองทาง แล้ววัดค่าความ
ต้านทานของฉนวนต้องไม่น้อยกว่า 0.5 เมกกะโอห์ม ในทุกๆ กรณี
 การวัดค่าของฉนวนที่กล่าว ต้องใช้เครื่องมือที่จ่ายไฟฟูากระแสตรง 500 โวลท์ และวัดเป็นเวลา 30
วินาทีต่อเนื่องกัน

ระบบต่อลงดิน

ความต้องการทั่วไป
ระบบต่อลงดิน (Grounding System) ตามข้อกาหนดนี้ให้รวมถึงการต่อลงดินของระบบไฟฟูา
(System Ground) อุปกรณ์ไฟฟูา (Equipment Ground) และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เป็นโลหะอันอาจมี
กระแสไฟฟูา เนื่องจากการเหนียวนาทางไฟฟูา เช่น ท่อร้อยสายไฟฟูา รางวางสายไฟฟูา ฯลฯ โดยการต่อ
ลงดินนี้ ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้ถือตามกฎและมาตรฐานดังต่อไปนี้

- 70 -
 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟูาสาหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 บทที่ 4 เรื่องการต่อลงดิน
 ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟูา “หมวด 6 สายดินและการต่อลงดิน”
 มาตรฐานเพื่อความปลอดภัยทางไฟฟูาสานักงานพลังงานแห่งชาติ
 TSES. 24-1984 การต่อลงดิน
 National Electrical Code (NEC) Article 250

หลักสายดิน (Ground Rod)


 หลักสายดินให้ใช้ Copper Bond Ground Rod ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 5/8 นิ้ว และยาว
ไม่ น ้ อ ยกว่ า 10 ฟุ ต แกนเหล็ ก Low Carbon Steel, Tensile Strength ไม่ น ้ อ ยกว่ า 600
N/mm.mm ชุบด้วยทองแดง 99.9% หนาไม่น้อยกว่า 2.5 mm. เพื่อให้ได้ความต้านทานของการลง
ดิน (Grounding Resistance) ไม่เกิน 5 โอห์ม โดยการวัดด้วย Ground-Meter
 การปักหลักสายดินต้องให้แต่ละหลักห่างจากหลักข้างเคียงสองหลักประมาณ 2.40 เมตร เท่า ๆ กัน
โดยหลักสายดิน นี้ให้เชื่อมต่อถึงกันด้วยตัว น าทองแดงขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 70 ตาราง
มิลลิเมตร หรือตามที่ระบุในแบบ และการเชื่อมทั้งหมดให้ใช้วิธี Exothermic Welding
 หลักสายดินต้นแรกที่ต่อกับ GROUND LOOP ของอาคาร ทุกๆ จุด ให้ติดตั้งภายใน INSPECTION
PIT เพื่อสามารถตรวจวัดระบบ GROUND ได้
 หลักสายดินในระบบต่อไปนี้ให้แยกจากกันคือ ระบบไฟฟูา ระบบปูองกันฟูาผ่า และระบบสื่อสาร

สายดิน (Ground Conductor)


สายดินให้ใช้ตัวนาทองแดง (Bare Copper) Soft Drawn Copper Wire Concentric standard
Conductor Class B ซึ่งขนาดของสายดินในวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ต้องเป็นดังนี้
 สายดิ น ส าหรั บ ระบบไฟฟู า (System Ground) เพื ่ อ ต่ อ สายศู น ย์ (Neutral) ด้ า นทุ ต ิ ย ภู มิ
(Secondary) ของหม้อแปลงไฟฟูาลงดิน และ เพื่อต่อสาย Ground ของตู้ MDB. ขนาดของสายดินนี้
ให้ขนึ้ อยู่กับขนาดของสายเมนไฟฟูาตาม ตารางขนาดต่าสุดของสายต่อหลักดินของระบบไฟฟูากระแส
ลับ
 สายดินส าหรับบริภัณฑ์ไฟฟูา (Equipment Ground) Standard anneal copper, Insulation
PVC., (Green conductor) เพื่อต่อส่วนที่เป็นโลหะหรือโครงของอุปกรณ์ไฟฟูาลงดิน และสายต่อฝาก
ต่าง ๆ ขนาดของสายดินนี้ให้ขึ้นอยู่กับขนาดของอุปกรณ์ปูองกันของระบบไฟฟูานั้นตาม ตารางขนาด
สุดของสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟูา

- 71 -
ระบบต่อลงดินแยกอิสระ (Isolated Ground)
 ระบบต่อลงดินสาหรับอุปกรณ์พิเศษ เช่น อุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ ให้มีสายดิน แยกจากสายดินทั่วไป
ตามที่กล่าวในข้อสายดิน
 สายดินที่ใช้ในกรณีนี้ ให้ใช้สายตัวนาทองแดงหุ้มฉนวน พีวีซี ขนาดตามที่ระบบในแบบ สายดินนี้ให้ต่อ
เข้ากับหลักสายดินที่จัดทาขึ้นใหม่โดยเฉพาะ โดยไม่ใช้ร่วมกับหลักสายดินของระบบไฟฟูาทั่วไป
 ภายในห้อง Communication room. 1,2 และห้อง Server room. (ชั้น 1) จะต้องท าระบบ
Isolated Ground ที่พื้น โดยการติดตั้ง Surface Ground Grid ใต้พื้น Raise Floor โดยมีระยะ Grid
ทุก ๆ ช่วง 1 m. โดยใช้ Copper Tape ขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่ต่ากว่า 50 Sq.mm. ทาเป็นตาราง
ประสานต่อจุดตัดทุกจุด ด้วย Cable cross Clamp เต็มพื้นที่ห้อง และทาการเชื่อม Ground Grid นี้
กับสายดินของระบบสื่อสาร

การติดตั้งและการทดสอบ
 ห้ามใช้ท่อร้อยสายเป็นสายดิน เว้นแต่จะมีการใช้ท่อร้อยสายและอุปกรณ์ต่อท่อต่าง ๆ มีขั้วต่อสายดิน
ให้แน่ใจได้ว่าท่อร้อยสายนั้นมีความต่อเนื่องทางไฟฟูาได้อย่า งถาวร และได้รับการยินยอมจากผู้
ควบคุมงาน
 การเดินสายดิน ให้ร้อยในท่อร้อยสายเดียวกับสายวงจรไฟฟูานั้น ๆ แต่ในบางกรณี เช่น สายดินที่อยู่
ในช่องชาฟท์ส ายดิน ที่เป็นสายประธาน (Main) ส าหรับการต่อแยกสายดิน สายดินที่ว างในราง
สายไฟฟูา ฯลฯ ให้วางลอยได้
 สายดินที่ไม่ได้ร้อยในท่อ ต้องยึดติดกับรางวางสายไฟฟูาที่เป็นโลหะทุก ๆ ระยะไม่เกิน 2.40 เมตร
 การตรวจสอบ ให้กระทาตามความเห็นชอบของผู้ควบคุมงานเพื่อพิสูจน์ให้ได้ว่าระบบต่อลงดินความ
สมบูรณ์และถูกต้องตามมาตรฐานอ้างอิง

ตารางขนาดต่าสุดของสายต่อหลักดินของระบบไฟฟูากระแสลับ
ขนาดตัวนาประธาน(ตัวนาทองแดง) ขนาดต่าสุดของสายต่อหลักดิน (ตัวนาทองแดง)
(ตร.มม.) (ตร.มม.)
ไม่เกิน 35 10
เกิน 35 แต่ไม่เกิน 50 16
เกิน 50 แต่ไม่เกิน 95 25
เกิน 95 แต่ไม่เกิน 185 35

- 72 -
เกิน 185 แต่ไม่เกิน 300 50
เกิน 300 แต่ไม่เกิน 500 70
เกิน 500 95

ตารางขนาดสุดของสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟูา
พิกัดขนาดปรับตั้งของเครื่องปูองกันกระแสเกิน ขนาดสุดของสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟูา
ไม่เกิน (แอมแปร์) (ตัวนาทองแดง) (ตร.มม.)
16 1.5
20 2.5
40 4
70 6
100 10
200 16
400 25
500 35
800 50
1000 70
1250 95
2000 120
2500 185
4000 240
6000 400

ระบบปูองกันฟูาผ่า

ความต้องการทั่วไป
ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ระบบปูองกันฟูาผ่าสาหรับอาคารในโครงการนี้ ให้ใช้ระบบดั้งเดิม
(Conventional System) โดยอุปกรณ์และการติดตั้งระบบต้องเป็นไปตามรายละเอียดและตามที่ระบุใน
แบบ ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานอ้างอิงดังต่อไปนี้
 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟูาสาหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556

- 73 -
 มาตรฐานการปูองกันฟูาผ่าภาคที่ 1-4 พ.ศ.2553
 มาตรฐานเพื่อความปลอดภัยทางไฟฟูาสานักงานพลังงานแห่งชาติ
 “TSES 12-1980 มาตรฐานระบบปูองกันฟูาผ่าสาหรับอาคารและสิ่งปลูกสร้างประกอบอาคาร”
 National Fire Protection Association (NFPA) No. 78
 British Standard (BS)
 International Electroteachnical Connnnission (IEC) 61024-1-2

ความต้องการด้านเทคนิค
 หลักสายดิน (Ground Rod) ให้ใช้ Copper Clad Steel Ground Rod ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่
น้อยกว่า 5/8 นิ้ว ยาว 10 ฟุต แกนเหล็ก Galvanized ทนแรงดึงได้ไม่น้อยกว่า 70000 PSI และทน
การโค้งงอได้ไม่น้อยกว่า 0.10 inch / liner foot จ านวนตั้งแต่ 3 ต้นขึ้นไปจนกว่าจะได้ค่าความ
ต้านทานของการต่อลงดินไม่เกิน 5 โอห์มในแต่ละจุด
 ตัวน าลงดิน (Down Conductor) ถ้ามิได้ก าหนดไว้เป็นแบบอื่น ให้ใช้ส ายตัวน าทองแดงขนาด
พื ้ น ที ่ ห น้ า ตั ด ไม่ น ้ อ ยกว่ า 70 ตารางมิ ล ลิ เ มตร Bare Copper Soft drawn Copper wire,
Concentric Strand Conductor เป็นตัวนาลงดินในแต่ละจุดที่กาหนด
 ต้องทาการเชื่อมต่อ ตัวนาลงดิน รอบตัวอาคารเป็นรูปวงแหวน ที่ทุกช่วงระยะความสูงตึก 20 เมตร
หรือน้อยกว่า เพื่อลดผลจากฟูาผ่าด้านข้าง และ Sliding effect
 ตัวนาบนหลังคา (Roof Conductor) ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็นอย่างอื่นให้ตัวนาบนหลังคา ซึ่งเป็นตัวนา
สาหรับเชื่อมต่อหลักล่อฟูาให้ต่อเนื่องกันทางไฟฟูาถึงกันทั้งหมด เป็นตัวนาทองแดงขนาดพื้นที่หน้าตัด
ไม่น้อยกว่า 70 ตารางมิลลิเมตร ในกรณีที่ตัวนาบนหลังคาเป็นชนิด Tape ให้เป็น Annealed Bare
Copper Tape ขนาดหน้าตัดไม่น้อยกว่า 70 ตารางมิลลิเมตร
 2หลักล่อฟูา (Air Terminal) โดยทั่วไปให้ใช้หลักล่อฟูาเป็นแท่ งทองแดง (Solid Copper) ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ¾ นิ้ว ยาว 2 ฟุต ติดตั้งที่สูงของอาคารหรือตามระบุในแบบ
 ตัวนาช่วยกระจายประจุไฟฟูา เป็นตัวนาไฟฟูาที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างตัวนาลงดินแต่ละแนวให้มีความ
ต่อเนื่องทางไฟฟูา โดยปกติให้ใช้ตัวนาทองแดงขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 70 ตารางมิลลิเมตร
ตามแนวและระดับที่กาหนดในแบบ
 การเชื่อม (Welding) การเชื่อมต่อโลหะ ให้มีความต่อเนื่องทางไฟฟูา มีวิธีการต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับชนิด
ของโลหะและสภาพของงาน โดยการเชื่อมต่อระหว่างตัวน าทองแดงกับตัวน าทองแดง หรือตัวน า

- 74 -
ทองแดงกับเหล็กให้เชื่อมด้วยวิธี Exothermic Welding เว้นแต่ในกรณีจาเป็น ให้ใช้วิธีเชื่อมด้วย
ทองเหลืองโดยใช้แก๊ส
 อุปกรณ์อื่น ๆ ที่เป็นโลหะ เช่น ท่อน้า บันไดเหล็ก เป็นต้น ติดตั้งอยู่ใกล้ระบบปูองกันฟูาผ่าจะต้อง
เชื่อมเข้าระบบด้วย

การติดตั้ง
ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่อ้างถึงข้างต้น โดยต้องบันทึกการวัดค่าความต้านทานของการต่อลงดิน
ทุกจุดเสนอต่อผู้ควบคุมงาน

สายสัญญาณ

สายทองแดงตีเกลียว (สาย UTP) สาหรับงานติดตั้ง

ชนิด Indoor สาหรับงานติดตั้งภายในอาคาร มีคุณสมบัติดังนี้


 เป็นสายทองแดงแบบตีเกลียว UTP ENHANCED CATEGORY 5(CAT 5E) หรือดีกว่า ชนิด 4 คู่สาย
มีตัว น าเป็น ทองแดงขนาด 24 AWG เป็นสายน าสัญญาณที่มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน TIA/EIA
568B.2, ISO/IEC 11801 CLASS D,ASTM D4566-98 ,UL/NEC CMR RATED,RoHS
 คุ ณ สมบั ต ิ ข อง JACKET ท าจาก PVC มี ค ุ ณ สมบั ต ิ FR (FLAME RETARDANT POLYVINYL
CHLORIDE)
 รองรั บ การใช้ ง าน GIGABIT ETHERNET, 155 Mbps ATM, TP-PMD, ISDN, BASEBAND,
BROADBAND, VoIP เป็นอย่างน้อย
 มีคุณสมบัติทางไฟฟูาดังต่อไปนี้
 มีค่า NEXT เท่ากับหรือดีกว่า 49dB (TYPICAL) ที่ความถี่ 100 MHz
 มีค่า ATTENUATION เท่ากับหรือดีกว่า 22 dB (MAXIMUM) ที่ความถี่ 100 MHz
 มีค่า PSNEXT เท่ากับหรือดีกว่า 45dB (TYPICAL) ที่ความถี่ 100 MHz
 มีค่า RETURN LOSS เท่ากับหรือดีกว่า 28dB (TYPICAL) ที่ความถี่ 100 MHz
 มีค่า ACR เท่ากับหรือดีกว่า 27 dB (TYPICAL) ที่ความถี่ 100 MHz
 มีค่า DELAY SKEW เท่ากับหรือดีกว่า 25 ns (MAXIMUM)
 มีค่า CONDUCTOR RESISTANCE เท่ากับหรือดีกว่า 9.4 Ohm /100m (Maximum)
 Operating Temperature 0 ถึง 50 องศาเซลเซียส

- 75 -
ชนิด Outdoor แบบมี Shield (F/FTP) สาหรับงานติดตั้งภายนอกอาคาร มีคุณสมบัติดังนี้

 เป็นสายทองแดงแบบตีเกลียว CAT 5E หรือดีกว่าชนิด 4 คู่สาย มีตัวนาเป็นทองแดงขนาด 23 AWG


ที่มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน TIA/EIA 568B.2, ISO/IEC 11801 CLASS D, EN 50173, EN 50288
RoHS เป็นอย่างน้อย
 คุณสมบัติของ JACKET ทาจาก Polyethylene มีคุณสมบัติเป็นสาย Outdoor cables
 มี โ ครงสร้ า งของสายเป็ น แบบ F/FTP Cable โดยในแต่ ล ะคู ่ ส ายมี ช ั ้ น ของ Shield ผลิ ต จาก
Aluminum Foil และ มีชั้น Overall Shield ผลิตจาก Aluminum Foil คลุมทั้ง 4 คู่สายอีกชั้น
 รองรั บ การใช้ ง าน GIGABIT ETHERNET, 155 Mbps ATM, TP-PMD, ISDN, BASEBAND,
BROADBAND, VoIP และ VOIP Outdoor CCTV เป็นอย่างน้อย
 มีคุณสมบัติทางไฟฟูาดังต่อไปนี้
 มีค่า NEXT เท่ากับหรือดีกว่า 35 dB ที่ความถี่ 100 MHz
 มีค่า ATTENUATION เท่ากับหรือดีกว่า 22 dB (MAXIMUM) ที่ความถี่ 100 MHz
 มีค่า PSNEXT เท่ากับหรือดีกว่า 30dB ที่ความถี่ 100 MHz
 มีค่า RETURN LOSS เท่ากับหรือดีกว่า 20dB ที่ความถี่ 100 MHz
 มีค่า ACR เท่ากับหรือดีกว่า 18 dB ที่ความถี่ 100 MHz
 มีค่า DELAY SKEW เท่ากับหรือดีกว่า 50ns
 มีค่า CONDUCTOR RESISTANCE เท่ากับหรือดีกว่า 9.4 Ohm /100m (Maximum)
 มีค่าความต้านทานของฉนวน Insulation Resistance 5000M Ohm/km ได้รับการทดสอบ
แรงดันไฟฟูาที่ 1KV DC
 Operating Temperature 0 ถึง 60 องศาเซลเซียส

- 76 -
สาย Fiber Optic ชนิด ADSS ขนาด6 cores
 ข้อกาหนดเฉพาะคุณสมบัติของสาย Fiber Optic (ไม่รวมท่อและข้อกาหนดที่ไม่เกี่ยวข้อง) เป็นไปตาม
ข้อกาหนดมาตรฐานของ กฟผ. ตามที่แนบ
 ผู้เสนอราคาต้องยื่นเอกสารเทคนิคหรือ Catalog ของสาย Fiber Optic ที่เสนอให้ กฟผ. พิจารณา
พร้อมข้อเสนอทางเทคนิค

Media Converter UTP-FiberOptic หัว SC (Single Mode Indoor/Outdoor) พร้อม Attenuation


สาหรับใช้งานในระยะ 2 km
 หัวต่อ Fiber Optic เป็นแบบ SC
 รองรับมาตรฐาน IEEE802.3u
 ใช้ไฟ 220 VAC
 ผ่านมาตรฐาน FCC , UL และ CE
 ใช้แปลงสัญญาณระหว่างสาย UTP และ Fiber Optic 12 cores (single mode)
 Interface RJ-45 ไม่ต่ากว่า 2 port (10/100 Base TX), Fiber Port ชนิด Single mode หัว SC
(100 Base-FX)
 ผ่านมาตรฐานขั้นต่าหรือเทียบเท่าดังนี้ EN55022, IEC/EN 61000-4-2, IEC/EN 61000-4-3, IEC/EN
61000-4-4, IEC/EN 61000-4-5, IEC/EN 61000-4-6
 ติดตั้งอุปกรณ์ Attenuation สาหรับใช้งานสาย Fiber Optic single mode ภายในระยะทาง 2 km
 กรณีติดตั้งภายในอาคาร ต้องมีอุปกรณ์ Media Converter Rack-mount Chassis ซึ่งผลิตโดยผู้ผลิต
เดีย วกับ Media Converter เพื่อติดตั้ง Media Converter ทุกตัวที่เสนอ บรรจุใน Rack 19”
มาตรฐานให้เรียบร้อย
 กรณีติดตั้งภายนอกอาคาร ต้องผ่านมาตรฐานอย่างน้อย IP30, Operating Temperature : 0-75
องศาเซลเซียส และยึดติดกับกล่องเหล็กบริเวณเสาให้เรียบร้อย

PoE Injector
กรณีจ่ายไฟให้กับกล้องที่ติดตั้งภายในอาคาร ในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร ผ่านสาย UTP
 รองรับมาตรฐาน IEEE802.3af หรือ IEEE802.3at หรือดีกว่า

- 77 -
 เป็น PoE Injector แบบ Midspan
 ต้องจ่ายกาลังไฟ (Watt) เพียงพอและเหมาะสมกับกล้องแต่ละจุดติดตั้ง
 ผ่านมาตรฐาน FCC และ CE
 Operating Temperature : 0-40 องศาเซลเซียส

การอุดช่องเดินท่อ ช่องเจาะ ด้วยวัสดุปูองกันไฟและควันลาม (Fire Barrier System)

ความต้องการทั่วไป
เพื่อปูองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นแก่บุคคลที่อยู่ภายในอาคาร อันเนื่ องมาจากการเกิดเพลิงลุกลาม
จากบริเวณหนึ่งไปยังบริเวณหนึ่ง โดยอาศัยช่องและทางเดินสายไฟฟูา จึงกาหนดให้ใช้วัสดุปูองกันไฟและ
ควันลามตามกาหนดใน NEC Article 300-21 และ ASTM ช่องเปิดที่พื้นและผนังภายในอาคารที่มีสายไฟ,
Bus Duct หรือท่อผ่านจะต้องถูกปิดด้วยวัสดุกันไฟ (Fire Barrier) ที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งการลามของ
ไฟได้

คุณสมบัติของวัสดุ
 อุปกรณ์หรือวัสดุซึ่งใช้ปูองกันไฟและควันลามต้องเป็นอุปกรณ์หรือวัสดุที่ UL รับรอง
 อุปกรณ์หรือวัสดุดังกล่าวต้องปูองกันไฟได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
 อุปกรณ์หรือวัสดุดังกล่าวต้องไม่เป็นพิษขณะติดตั้งหรือขณะเกิดเพลิงไหม้
 สามารถถอดออกได้ง่ายในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข
 ทนต่อการสั่นสะเทือนได้ดี
 ติดตั้งง่าย
 อุปกรณ์หรือวัสดุปูองกันไฟและควันลามต้องมีความแข็งแรงไม่ว่าก่อนหรือหลังเพลิงไหม้
 อุปกรณ์หรือวัสดุที่จะนามาใช้ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ควบคุมงาน

ชนิดของวัสดุกันไฟ
 cable coating เป็นวัสดุกันไฟที่ใช้ทาบนสายไฟ เพื่อปูองกันไฟลาม โดยไม่ทาให้ความสามารถในการ
นากระแสไฟฟูาของสายไฟลดลง
 Mortar seal เป็นผง Mortar ใช้ผ สมน ้าและอัดลงในช่องเปิดที่มีสายไฟลากผ่าน มีน ้าหนักเบา
สามารถใช้สว่างหรือไขควงเจาะ เพื่อเพิ่มเติมสายไฟได้โดยง่าย คุณสมบัติทนไฟ 3 ชั่วโมง
 Sealbag เป็นสารประกอบบรรจุอยู่ในถุง สามารถวางเรียงทับซ้อนกันได้ คุณสมบัติทนไฟ 4 ชั่วโมง

- 78 -
การติดตั้ง
 ให้ติดตั้งอุปกรณ์หรือวัสดุปูองกันไฟและควันลามตามตาแหน่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้.-
 ช่องเปิดทุกช่องไม่ว่าจะอยู่ที่ใดของผนัง พื้น หรือคาน และชาฟท์ไฟฟูาต่าง ๆ ซึ่งได้เตรียมไว้สาหรับ
การใช้งานติดตั้งระบบไฟฟูาและสื่อสาร
 ช่องเปิดหรือช่องลอด (Blockout or Sleeve) ที่เตรียมการไว้ส าหรับติดตั้งระบบไฟฟูาและ
ระบบสื่อสารในอนาคต
 ช่องเปิดหรือช่องลอด (Blockout or Sleeve) สาหรับสายไฟฟูาหรือท่อร้อยสายไฟฟูาที่มีช่องว่าง
อยู่แม้เพียงช่องเล็กน้อยก็ตาม
 ภายในท่อร้อยสายไฟฟูาที่วางทะลุพื้นคอนกรีต ผนังคอนกรีต ซึ่งเป็นผนังทนไฟ เพื่อปูองกันไฟและ
ควันลามตามท่อร้อยสายไฟฟูา
 กรรมวิธีการติดตั้ง ผู้ขายต้องเสนอขออนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อน

สายไฟฟูาชนิดทนไฟ (Fire Resistance Cable)

ความต้องการทั่วไป
ข้อก าหนดนี้ได้ระบุครอบคลุมถึงการจัดหา และการติดตั้งใช้งานส าหรับสายไฟฟูาชนิดทนไฟ
(Low Smoke, Zero Halogen, Fire Resistance Cable) ตามที่ระบุในแบบรายละเอียดนี้
สายทนไฟต้องเป็นไปตามมาตรฐาน IEC ถ้าเป็นมาตรฐานอื่นต้องได้รับการอนุมัติ

ข้อกาหนดทางเทคนิค
 สาหรับสายที่มีขนาดต่ากว่า 6 ตารางมิลลิเมตร ตัวนาเป็นสายทองแดงเส้นเดี่ยว ส่วนสายที่มีขนาดเล็ก
ตั้งแต่ 6 ตารางมิลลิเมตรขึ้นไป ต้องเป็นสายทองแดงชนิดตีเกลียว (Stranded Wire)
 ฉนวนจะประกอบด้วยเทปทนไฟ (Fire Resistance Tape) เช่น Mica Tape หรือวัสดุทนไฟอื่นพัน
หุ้มรอบตัวน าทองแดง และชั้นนอกจะหุ้มด้วยวัสดุฉนวนประเภท Cross-Linked Polyethylene
(XLPE) ชนิดพิเศษมีความหนาตาม IEC 502
 ในกรณีที่เป็นสายตัวน าหลายแกน (Multicore Cable) ช่องว่างระหว่างตัวน าแต่ละแกนจะต้องมี
Filler เพื่อความแข็งแรงของสาย
 เปลือกหุ้มภายนอก (Outer Sheath) เป็นวัสดุประเภท Polyolefine หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติเป็น
Low Smoke, Zero Halogen มีความหนาตาม IEC 502

- 79 -
 สายไฟฟูาชนิดทนไฟนี้ต้องมี Rated Voltage 600/1,000V มี Maximum Conductor Operating
Temperature ที่ 90C สาหรับ Continuous Duty และ 250C ภายใต้สภาวะ Short-Circuit
 ไม่ทาให้เกิด Corrosive Gases ขณะเกิดเพลิงไหม้

คุณสมบัติและมาตรฐานการทดสอบ
 คุณสมบัติด้าน Fire Resistance ต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐานต่างๆ ดังนี้
 IEC 331
 IEEE 383
 VDE 0472 Part 814
 คุณสมบัติด้าน Fire Retardant ต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐานต่างๆ ดังนี้
 IEC 332-3
 IEEE 383
 BS 4066 Part 3
 คุณสมบัติด้าน Flame Retardant ต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐานต่างๆ ดังนี้
 IEC 332-1
 VDE 0472 Part 804
 BS 4066 Part 1
 คุณสมบัติด้าน Low Smoke and Fumes (LSF) และ Low Smoke and Zero Halogen (LSOH)
ต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐานต่างๆ ดังนี้
Smoke; Test Method - 27 Cubic meter Cable Chamber
- NBS Chamber
Test Standard - ASTM D2863
- UITP/APTA Test E4
- London Underground Limited
- BS 6724
- IEC 1034
Halogen Acid Content Measured (Less Than 5% Halogen Acid)
- IEC 754
- BS 6425 Part 1

- 80 -
 ผู้ขายต้องเสนอใบรับรองผลการทดสอบคุณสมบัติสายไฟฟูาชนิดทนไฟจากสถาบันที่เชื่อถือได้ให้
วิศวกร พิจารณาประกอบการขออนุมัติด้วย

การติดตั้ง
 สายไฟฟูาชนิดทนไฟ ต้องเป็นชนิดที่สามารถติดตั้งใช้งานได้โดยการเดินท่อร้อยสายหรือเดินใน Cable
Tray หรือ Wireway
 ผู้ขายต้องจัดส่งรายละเอียดทางด้านเทคนิค Current Ampere Rating ตลอดจน Test Report หรือ
รายละเอียดอื่นๆ ตามที่ผู้ควบคุมงานเรียกขอเพื่อขออนุมัติก่อนดาเนินการติดตั้งใช้งาน

การทาสีปูองกันการผุกร่อนและรหัสสี

ความต้องการทั่วไป
ในผิวงานโลหะทุกชนิดก่อนนาเข้าไปติดตั้งในหน่วยงานต้องผ่านกรรมวิธีการปูองกันการผุกร่อน
และ/หรือการทาสีตามที่ระบุไว้ในข้อก าหนดนี้ทุกประการ วิธีการทาสีต้องปฏิบัติตามข้อแนะน าของ
บริษัทผู้ผลิตสีโดยเคร่งครัด เครื่องจักร อุปกรณ์ หรือวัสดุใด ๆ ที่ได้ผ่านการปูองกันการผุกร่อน และทาสี
จากโรงงานผู้ผลิตมาแล้ว หากตรวจพบว่ามีรอยถลอก ขูด ขีด รอยคราบสนิมจับ และอื่น ๆ ผู้ขายต้องทา
การซ่อมแซม ขัดถู และทาสีให้เรียบร้อย โดยได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงาน
ในระหว่างการทาสีใด ๆ ก็ตามผู้ขายต้องหาวิธีปูองกันมิให้สีหยดลงบนพื้น ผนัง และอุปกรณ์
ใกล้เคียงอื่น ๆ หากเกิดการหยดเปื้อน ต้องทาความสะอาดทันที ผลเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้นต้องอยู่ในความ
รับผิดชอบของผู้ขายทั้งสิ้น

การเตรียมและการทาความสะอาดพื้นผิวก่อนทาสี
 พื้นผิวโลหะที่เป็นเหล็ก หรือโลหะที่มีส่วนผสมของเหล็ก
 ให้ใช้เครื่องขัดสนิมตามรอยต่อเชื่อม และตาหนิต่าง ๆ จากนั้นใช้แปลงลวดหรือกระดาษทรายขัดผิว
งานให้ เ รี ย บ และปราศจากสนิ ม หรื อ อาจใช้ ว ิ ธ ี พ ่ น ทรายเพื ่ อ ก าจั ด คราบสนิ ม และเศษวั ต ถุ
แปลกปลอมออก จากนั้นจึงทาความสะอาดผิวงานไม่ให้มีคราบไขมันหรือน้ามันเคลือบผิวหลงเหลือ
อยู่ โดยใช้น้ามันประเภทระเหยไว (Volatile Solvent) เช่น ทินเนอร์ หรือน้ามันก๊าดเช็ดถูหลาย ๆ
ครั้งแล้วใช้น้าสะอาดล้างอีกครั้งหนึ่งจนผิวงานสะอาดพร้อมกับเช็ดหรือเปุาลมให้แห้งสนิทจึงทาสี
รองพื้นตามคาแนะนาของผู้ผลิตสีโดยเคร่งครัด
 ในกรณีที่ผิวงานนั้นเคยถูกทาสีมาก่อนต้องขูดสีเดิมออกก่อน จึงเริ่มทาตามกรรมวิธีดังกล่าวข้างต้น

- 81 -
 พื้นผิวโลหะที่ไม่มีส่วนผสมของเหล็กให้ทาความสะอาดโดยใช้กระดาษทราย แล้วเช็ดด้วยน้ามันสน
ห้ามใช้เครื่องขัดหรือแปรงลวดโดยเด็ดขาด แล้วจึงทาสีรองพื้น
 พื้นผิวสังกะสีและเหล็กที่เคลือบสังกะสีให้ใช้น้ายาเช็ดถูเพื่อขจัดคราบไดมันและฝุุนออกก่อนทาสีรอง
พื้น
 พื้นผิวทองแดง ตะกั่ว พลาสติก ทองเหลืองให้ขัดด้วยกระดาษทรายก่อนแล้วใช้น้ายาเช็ดถูกาจัดฝุุน
ก่อนทาสีรองพื้น

การทาหรือพ่นสี
 ในการทาสีแต่ละขั้น ต้องให้สีที่ทาไปแล้วแห้งสนิทก่อน จึงให้ทาสีขั้นต่อ ๆ ไปได้
 สีที่ใช้ทา ประกอบด้วยสี 2 ส่วนคือ
 สีรองพื้นใช้สาหรับปูองกันสนิม และ/หรือ เพื่อให้ยึดเกาะระหว่างสีทับหน้ากับผิวงาน
 สีทับหน้าใช้สาหรับเป็นสีเคลือบขั้นสุดท้าย เพื่อใช้เป็นการแสดงรหั สของระบบต่าง ๆ ชนิดสีที่ใช้
ขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อม
 ประเภทหรือชนิดของสีที่จะใช้ ให้เป็นไปตามระบุในตารางข้อ 4

ตารางการใช้ประเภทสีตามชนิดของวัสดุในสภาวะแวดล้อม
ชนิดของผิววัสดุ บริเวณทั่วไป บริเวณที่มีความชื้นสูง,
บริเวณที่มีการผุกร่อนสูง
- Black Steel Hanger & ชั้นที่ 1 Red Lead Primer ชั้นที่ 1 Epoxy Red Lead Primer
Support ชั้นที่ 2 Red Lead Primer ชั้นที่ 2 Epoxy Red Lead Primer
- Black Steel Sheet ชั้นที่ 3 สีทับหน้า Alkyd ชั้นที่ 3 สีทับหน้า Epoxy
- Switchboard, Panelboard ชั้นที่ 4 สีทับหน้า Alkyd ชั้นที่ 4 สีทับหน้า Epoxy
ซึ่งทาจาก Black Steel Sheet
- Galvanized Steel Hanger ชั้นที่ 1 Wash Primer ชั้นที่ 1 Wash Primer
& Support ชั ้ น ที ่ 2 Zinc Chromate ชั้นที่ 2 Epoxy Red Lead Primer
- Galvanized Steel Sheet Primer ชั้นที่ 3 สีทับหน้า Epoxy
ในกรณีที่ไม่ได้ระบุรหัสสี ให้ใช้ ชั้นที่ 3 สีทับหน้า Alkyd ชั้นที่ 4 สีทับหน้า Epoxy
สีทับหน้าเป็นสีอลูมิเนียม ชั้นที่ 4 สีทับหน้า Alkyd
ชั้นที่ 1 Coal Tar Epoxy ชั้นที่ 1 Coal Tar Epoxy
ชั้นที่ 2 Coal Tar Epoxy ชั้นที่ 2 Coal Tar Eposy

- 82 -
- Stainless Steel Sheet ชั้นที่ 1 Wash Primer ชั้นที่ 1 Wash Primer
- Aluminium Sheet ชั้นที่ 2 สีทับหน้า Alkyd ชั้นที่ 2 สีทับหน้า Alkyd
- Light Alloy ชั้นที่ 3 สีทับหน้า Alkyd ชั้นที่ 3 สีทับหน้า Epoxy
- Conduit Clamp
ในกรณีที่มีการซ่อมสีเนื่องจาการเชื่อม การตัด การเจาะ การขัดหรือการทาเกลียวให้ใช้สีรองพื้น
จาพวก Zinc Rich Primer ก่อนลงสีทับหน้า

รหัสสีและสีสัญลักษณ์
 ให้แสดงรหัสสีที่ Clamp รัดท่อร้อยสาย และท่อร้อยสาย
 รหัสสีที่ท่อร้อยสายต้องทาเป็นแถบสีที่มีความกว้างไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร ในตาแหน่งใกล้ ๆ กับ
กล่องต่อแยกสาย
 กล่องต่อสาย (Pull Box) ให้ทาสีตามรหัสสีที่ภายนอกตัวกล่องพร้อมตัวอักษรสัญญลักษณ์
 ที่ฝากล่องต่อแยกสายและกล่องดึงสายต้องมีอักษรสัญลักษณ์
 งานติ ด ตั ้ ง รางสายไฟฟู า , สายสั ญ ญาณ, สายควบคุ ม ระบบให้ ท าสี ต ามรหั ส สี พร้ อ มตั ว อั ก ษร
สัญญลักษณ์ทุกๆ ระยะไม่เกิน 5 เมตร ถ้าระยะน้อยกว่าที่กาหนดให้แสดงไว้ 1 จุด โดยให้ผู้ควบคุม
งานกาหนดตาแหน่งที่เหมาะสม
 กาหนดสีของรหัส และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ตามตารางแสดงรหัสสีและสีสัญลักษณ์

ตารางแสดงรหัสสีและสีสัญลักษณ์
ลาดับ รายละเอียด ตัวอักษร รหัสสี สีสัญลักษณ์
1 ท่อ-ราง สายไฟฟูากาลังปกติ N แดง ดา
2 ท่อ-ราง สายไฟฟูาฉุกเฉิน E เหลือง แดง
3 ท่อ-ราง สายสัญญาณระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ FA ส้ม แดง
4 ท่อ-ราง สายสัญญาณระบบเสียง S ขาว ดา
5 ท่อ-ราง สายสัญญาณวิทยุ-โทรทัศน์รวม MA ขาว ดา
6 ท่อ-ราง สายสัญญาณระบบโทรทัศน์วงจรปิด CC น้าเงิน ดา
7 ท่อ-ราง สายสัญญาณระบบควบคุมการเข้าออก ACC น้าเงิน ดา
8 ท่ อ -ราง สายสั ญ ญาณระบบการจั ด การอาคาร BAS ฟูา ดา
(BAS.)
9 ท่อ-ราง สายสัญญาณระบบโทรศัพท์ TEL เขียว ดา

- 83 -
10 ท่อ-ราง สายสัญญาณระบบคอมพิวเตอร์ COMP ดา ขาว
11 อุปกรณ์ยึดแขวนท่อร้อยสายไฟฟูาและสายสัญญาณ - เทาเข้ม -
12 Distribution Board & Motor Control Board - งาช้าง ดา
ระบบไฟฟูาปกติ
13 Distribution Board & Motor Control Board - งาช้าง แดง
ระบบไฟฟูาฉุกเฉิน
14 Busbar และ สายไฟฟูา เฟส A (R) - น้าตาล -
15 Busbar และ สายไฟฟูา เฟส B (S) - ดา -
16 Busbar และ สายไฟฟูา เฟส C (T) - เทา -
17 Busbar และ สายไฟฟูา สายศูนย์ (N) - ฟูา -
18 Busbar และ สายไฟฟูา สายดิน (G) - เขียว, -
เขียว
แถบ
เหลือง

ผลิตภัณฑ์อ้างอิง
มาตรฐานของวัสดุและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในงานระบบไฟฟูา จะต้องมีคุณสมบัติเทียบเท่าหรือสูง
กว่ามาตรฐานของผู้ผลิต หรือผลิตภัณฑ์ดังต่อไปนี้
 Panel Board SCHNEIDER, EATON, ABB, SEIMENS หรือเทียบเท่า
 Low Voltage Circuit breaker SCHNEIDER, EATON, ABB, SEIMENS หรือเทียบเท่า
 Safety Switch SCHNEIDER, ITE, WESTINGHOUSE หรือเทียบเท่า
 Surge Protective Device (SPD)
Dehn, SCHNEIDER, Phoenix, Socomec หรือเทียบเท่า
 Contactor and Control Relay
ABB., TELEMECANIQUE, FUJI, AEG, SEIMENS หรือเทียบเท่า
 Protective Relay
CULTURE-HAMMER , FUJI, ABB., CROMPTON, MERLIN GERIN หรือเทียบเท่า
 Digital Power Meter
EDMI, LOVATO, SOCOMEC, MERLIN GERIN, EDMI, CULTURE-HAMMER, ABB.,

- 84 -
CROMPTON, GOSSEN, YOKAWA หรือเทียบเท่า
 Switch and Outlet PANASONIC, BTICHINO, CLIPSAL หรือเทียบเท่า
 สายไฟฟูา PHELPS DODGE, YAZAKI, BANGKOK CABLE หรือเทียบเท่า
 Fire Resistant Cable Pirelli, Acatel, Furukawa, Radox, DRAKA หรือเทียบเท่า
 FIRE BARRIER 3M, HILTI หรือเทียบเท่า
 ท่อร้อยสายไฟฟูา ABSO, TAS, RSI, MATSUSHITA, PANASONIC หรือเทียบเท่า
 Wire way and Cable Tray TIC, STI, TST,BSM, Asefa หรือเทียบเท่า
 อุปกรณ์ระบบสายดินและปูองกันฟูาผ่า FURSE, PHONIX CONTACT,DEHN หรือเทียบเท่า
 UTP CAT6, CAT6A Cable
AMP, DRAKA, HUBBELL, AT&T, COMSCOPE หรือเทียบเท่า
 Fiber optic Cable AMP, DRAKA, HUBBELL, AT&T, COMSCOPE หรือเทียบเท่า
 CAT6 Outlet AMP, DRAKA, HUBBELL, AT&T, COMSCOPE หรือเทียบเท่า
 Rack 19” 19”GERMANY EXPORT RACK, Amp, Solidtech หรือเทียบเท่า
 Transfer Switch ASCO, Cummins, Kohler หรือเทียบเท่า

Static Transfer Switch (STS)


 STS ทุกชุดจะต้องถูกติดตั้งโดยมีจานวนขั้ว (Poles) ขนาดของพิกัดกระแส (Ampere Rating) และ
แรงดันใช้งาน (Operating Voltage) ตามที่ระบุในแบบ
 ผลิตภัณฑ์ได้รับมาตรฐานที่ยอมรับได้ เช่น UL, NEMA, IEEE, IEC เป็นต้น
 อุปกรณ์ STS จะมีหน้าที่ในการถ่ายโอนแหล่งพลังงานไฟฟูาให้โดยอัตโนมั โดยเมื่อเกิดไฟฟูาดับที่
แหล่งพลังงานไฟฟูาหลัก STS จะทาการโอนย้ายการจ่ายไฟฟูาไปเป็นแหล่งพลังงานไฟฟูาสารองให้
ทันทีทันใดอย่างต่อเนื่อง โดยปราศจากการเชื่อมต่อทับซ้อนกันของแหล่งพลังงาน โดยไม่มีผลกระทบ
ต่อการใช้ไฟฟูากับโหลดไฟฟูา และจะทาการโอนย้ายแหล่งพลังงานไฟฟูากลับมาที่แหล่งพลังงานไฟฟูา
หลัก เมื่อแหล่งพลังงานไฟฟูาหลักอยู่ในสภาพพร้อมจ่ายพลังงานไฟฟูาให้กับโหลด
 STS ในสภาวะปกติ ก าลัง ไฟฟูา สามารถไหลผ่ านจากแหล่ งพลั งงานไฟฟูา หลัก ไปยั งโหลดและ
แบตเตอรี่ได้ในเวลาเดียวกัน และกาลังไฟฟูาสามารถไหลจากแบตเตอรี่ไปยังโหลด และกาลังไฟฟูาไม่
สามารถไหลจากแบตเตอรี่ย้อนยังไป Main bus ได้

- 85 -
 STS จะต้องสามารถโอนย้ายการจ่ายไฟฟูาไปเป็นแหล่งพลังงานไฟฟูาสารองได้ต่อเนื่อง และไม่มีการ
ขาดช่วง โดยช่วงเวลาในการขนานต้องไม่เกิน 10 มิลลิวินาที และสามารถโอนย้ายกลับแหล่งพลังงาน
ไฟฟูาหลักเพื่อเข้าสู่การทางานปกติได้อัตโนมัติ โดยช่วงเวลาในการขนานต้องไม่เกิน 10 มิลลิวินาที
 คุณสมบัติด้านเทคนิคของ Static Transfer Switch(STS)
 Rated Voltage : 415 Vac +/- 10% 3 phase/4 pole
 Current Rating : ไม่น้อยกว่า 800 Amp.
 Transfer time : น้อยกว่า 10 mS.
 Communication : RS485, RS232, MODBUS, IEC61850, TCP/IP(GATEWAY for
IEC 61850)
 IP Rating : IP21
 มีระบบ Over load protection
 มีระบบ Short Circuit Protection
 มีระบบปูองกันกาลังไฟฟูาไหลย้อนกลับจากแบตเตอรี่ไปแหล่งพลังงานไฟฟูาหลัก

รายละเอียดและข้อมูลการสารวจพื้นที่ติดตั้งเบื้องต้น

- 86 -
- 87 -
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน
จัดเตรียมเอกสารในการยื่นขออนุญาต และรายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานทั้งหมด
โดยต้องจัดเตรียมเอกสารสาหรับยื่นขออนุญาตต่างๆ ให้เสร็จภายใน 30 วัน นับจากวันเริ่มสัญญาเพื่อให้
กฟผ. ดาเนินการขออนุญาต (ถ้ามี) ต่อไป
 เอกสารขออนุญาตดัดแปลงอาคาร (อ.1)
 เอกสารขออนุญาตตั้งโรงงาน (รง. 4)
 เอกสารขออนุญาตผลิตขอผลิตพลังงานควบคุม (พค.2)
 ใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟูา
 รายงาน CoPs สาหรับการผลิตไฟฟูา พลังงานแสงอาทิตย์
 เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน
จัดทาระบบความปลอดภัยในการทางานและการประกันภัยทรัพย์สินและบุคคลที่สามระหว่างการ
ติดตัง้

มาตรฐานฝีมือช่าง
ผู้ขายต้องมีวิศวกรที่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม สาขาไฟฟูา งานไฟฟูาก าลัง
ระดับสามัญ ขึ้นไป เพื่อทาหน้าที่ในขอบข่ายงานในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม โดยจะต้องยื่นหนังสือรับรอง
การเป็นวิศวกร พร้อมสาเนาใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพ (กว.) ดังกล่าวที่ยังไม่หมดอายุ มาภายใน 7 วัน
นับถัดจากวันลงนามในสัญญา
ผู้ขายต้องมีวิศวกรที่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม สาขาโยธา ระดับสามัญ ขึ้นไป
เพื่อทาหน้าที่ในขอบข่ายงานในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม โดยจะต้องยื่นหนังสือรับรองการเป็นวิศวกร
พร้อมสาเนาใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพ (กว.) ดังกล่าวที่ยังไม่หมดอายุ มาภายใน 7 วัน นับถัดจากวันลง
นามในสัญญา
ผู้ขายตกลงเป็นเงื่อนไขสาคัญว่า ผู้ขายจะต้องมีและใช้ผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือช่าง จาก
คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน หรือสถาบันของทางราชการอื่น หรือสถาบัน
ของเอกชนที ่ท างราชการรับ รองหรือผู้ มี ว ุฒ ิบ ัต รระดั บ ปวช. ปวส. หรือ ปวท. หรือ เทีย บเท่า จาก
สถาบันการศึกษาที่ ก.พ. รับรองให้เข้ารับราชการได้ ในอัตราไม่ต่ากว่าร้อยละ 10 ของแต่ละสาขาช่ าง แต่
จะต้องมีช่างจานวนอย่างน้อย 1 คน ในแต่ละสาขาช่างดังต่อไปนี้
1. ไฟฟูา หรือ อิเล็กทรอนิกส์
2. โยธา หรือ ก่อสร้าง

- 88 -
ผู้ขายต้องมี จป.วิชาชีพ ที่มีใบอนุญาต เพื่อท าหน้าที่ควบคุมงานจ้างในครั้งนี้ โดยจะต้องยื่น
หนังสือรับรองการเป็น จป.วิชาชีพ พร้อมสาเนาใบอนุ ญาต ดังกล่าวที่ยังไม่หมดอายุ มาภายใน 7 วัน นับ
ถัดจากวันลงนามในสัญญา

แนวทางปฏิบัติตามกฎกระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือ
สนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2563
ตามแนบท้ายหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริห ารพัสดุภาครัฐ
ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 89 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564
อ้างถึง
2. แนวทางการดาเนินการในหมวด 7/1 การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุส่งเสริมการผลิตภายในประเทศ
2.1 การจัดซื้อพัสดุส่งเสริมการผลิตภายในประเทศ
2.1.1 หน่วยงานของรัฐต้องจัดซื้อพัสดุภายในประเทศ โดยหน่วยงานของรัฐ
จะต้องกาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะให้ใช้พัสดุที่ผลิตภายในประเทศ
(1) ให้หน่วยงานของรัฐตรวจรายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรอง
และออกเครื่องหมายสินค้าที่ผลิตในประเทศไทย (Made in Thailand) ได้ที่ www.mit.fti.or.th ของสภา
อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หากมีมากกว่า 3 ราย ให้กาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะเป็นพัสดุที่
ผลิตภายในประเทศ ที่ได้รับการรับรองจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(2) หากดาเนินการตาม (1) แล้ว ปรากฏว่าไม่มีหรือมีรายชื่อน้อยกว่า 3
ราย หน่วยงานของรัฐจะกาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะเป็นพัสดุที่ผลิตภายในประเทศ ที่ได้รับการ
รับรองจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยหรือไม่ก็ได้
2.1.2 ในกรณีที่มีพัสดุที่ผลิตภายในประเทศแต่ไม่เพียงพอต่อความต้องการใน
ประเทศหรือมีผู้ประกอบการเข้ายื่นข้อเสนอจานวนน้อยราย หรือมีความจาเป็นจะต้องมีการใช้พัสดุที่ผลิต
จากต่างประเทศหรือนาเข้าพัสดุจากต่างประเทศ ให้หน่วยงานของรัฐเสนอผู้มีอานาจเหนือขึ้นไปหนึ่งชั้น
พิจารณา ก่อนที่จะกาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ แต่หากเป็นกรณีดังต่อไปนี้ ให้เสนอหัวหน้า
หน่วยงานของรัฐพิจารณา
(1) เป็นการจัดหาอะไหล่ที่มีความจาเป็นจะต้องระบุคุณลักษณะเฉพาะ
และจาเป็นต้องนาเข้าจากต่างประเทศ

- 89 -
(2) กรณีมี ความจ าเป็นจะต้อ งมี การใช้ พัส ดุที ่ผ ลิตหรือ น าเข้ าจาก
ต่ า งประเทศซึ ่ง เป็ น การจั ด หาครั ้ ง หนึ ่ง ที่ ม ีว งเงิ นไม่เ กิน สองล้า นบาท หรื อราคาพัส ดุท ี ่น าเข้า จาก
ต่างประเทศมีราคาต่อหน่วยไม่เกินสองล้านบาท

ข้อกาหนดทางวิชาการ
ตาม QR CODE นี้

- 90 -

You might also like