You are on page 1of 7

การวิเคราะห และออกแบบระบบปองกันสายสง 115 เควี โดยใชรีเลยระยะทางรวมกับ

ระบบสื่อสารสําหรับเครือขายระบบสายสง 115 เควี แบบวงรอบปดของการไฟฟาสวนภูมภิ าค


Analysis and Design 115 kV Transmission Line System Protection by using Distance Relay
with Communication System for PEA’s 115 kV Closed Loop Transmission Network
ดิลก ธนปริพัฒน และ รศ.ดร. เกียรติยุทธ กวีญาณ
Dilok Tanaparipat and Assoc.Prof. Kiatiyuth Kveeyarn, Ph.D.
บทคัดยอ
การจายไฟระบบ 115 เควี ในภาคเหนือเขต 1 ของการไฟฟาสวนภูมิภาคเดิมเริ่มตนจากสถานีไฟฟา
เชียงใหม 3 จากนั้นมีการกอสรางสถานีไฟฟาและระบบสายสง 115 เควี เพิ่มเติมคือสถานีไฟฟาเชียงใหม 4 –
สถานีไฟฟาแมริม – สถานีไฟฟาสันกําแพง ซึ่งระบบ 115 เควี ยังอยูในรูปแบบการจายไฟแบบวงรอบเปดซึ่ง
ระบบไฟฟามีความเชื่อถือไดต่ํา ในงานวิจัยนี้ไดศึกษาเพื่อปรับปรุงใหมีการจายไฟเปนแบบวงรอบปดเพื่อเพิ่ม
ความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา การศึกษาพบวา 1) การวิเคราะหการไหลของกําลังไฟฟารูปแบบการจายไฟแบบ
วงรอบปดมีขอดีคือแรงดันไฟฟาที่บัสมีคาสูงขึ้นมากกวาแบบวงรอบเปดและใหคากําลังไฟฟาสูญเสียลดลง โดย
คากําลังไฟฟาที่ไหลผานสายสงไมเกินพิกัดของสายไฟฟา 2) การวิเคราะหกระแสไฟฟาลัดวงจรพบวา รูปแบบ

ร ์
การจายไฟแบบวงรอบปดใหคากระแสลัดวงจรมีคาสูงขึ้นมากกวาแบบวงรอบเปดแตคากระแสลัดวงจรดังกลาว


ิ ท
ิ ัล า สต
ไมเกินพิกัดกระแสลัดวงจรของอุปกรณปองกัน และ 3) การจําลองการทํางานของรีเลยระยะทางพบวารูปแบบ

รด
้ ู ร
การจ ายไฟแบบวงรอบปดสามารถใชคา การปรับตั้ งอุป กรณป องกั นเดิ มของแบบวงรอบเป ดไดทั้ งกรณีไม มี

ว า ม
ระบบสื่อสารและมีระบบสื่อสาร
ABSTRACTกษ

ล ง
ั ค า ล ย

The existing 115 kV transmission network system of PEA in Northern region 1 has been

า รค ว ท
ิ ย
dispatched by Chaigmai 3 substation. Additional 3 substations with transmission network comprising

ก า
Chaigmai 4, Mae Rim and San Kam Paeng were then constructed. The 115 kV system is an open

คโ ร มห
loop transmission network which is low power system reliability. This paper studies an improvement of
115 kV closed loop transmission network aiming to increase power system reliability. The results are
obtained as following; 1) Advantage of power flow analysis associated closed loop transmission
network, is that bus voltage is higher than open loop as well as power losses is also reduced and
power flow through transmission line does not exceed rated of transmission line, 2) Fault current
analysis is shown that closed loop produces higher fault current than open loop but not exceed rated
of fault current protection equipment, and 3) Simulation is found that closed loop is able to use the
existing setting of protection system, distance relay, with or without communication system of closed
loop is still utilized.

Key Words: distance relay, transmission network, closed loop


D.Tanaparipat: dilok_pea@yahoo.com
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
Department of Electrical Engineering, Faculty of Engineering, Kasetsart University
คํานํา
เนื่องจากปจจุบันรูปแบบการจายไฟระบบ 115 เควี ของการไฟฟาสวนภูมิภาคสวนใหญมีรูปแบบ
การจายไฟแบบวงรอบเปด(Open Loop) เปนจํานวนมากซึ่งรูปแบบการจายไฟแบบวงรอบเปดมีขอเสียคือเมื่อ
เกิดความผิดพรอง(fault) บริเวณตนทางของสายสงจะทําใหสถานีไฟฟาที่อยูกลางสายสงและปลายสายสงเกิด
ไฟฟาดับทั้งสถานีไฟฟา ปญหาไฟฟาดับนั้นเปนปญหาที่มีความสําคัญมากเนื่องจากเกิดผลกระทบเปนบริเวณ
กวางทั้งภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม และครัวเรือน ทําใหผลผลิตและธุรกิจเกิดความเสียหายเปนผลใหกระทบตอ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการไฟฟาสวนภูมิภาคตองการแกไขปญหาดังกลาวโดยการเพิ่มความเชื่อถือ
ไดของระบบไฟฟากําลังในระดับแรงดัน 115 เควี เพื่อไมใหเกิดไฟฟาดับเมื่อเกิดความผิดพรอง(fault) ในระบบ
สายสง 115 เควี การไฟฟาสวนภูมิภาคจึงมีแผนงานปรับปรุงรูปแบบการจายไฟระบบสายสง 115 เควี จาก
แบบวงรอบเปดเปนแบบวงรอบปด(Closed Loop) แตการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจายไฟดังกลาวทําใหเกิดผล
กระทบกับระบบไฟฟากําลังไดแก การไหลของกําลังไฟฟา คากระแสไฟฟาลัดวงจร ระบบปองกันไฟฟากําลัง
ทําใหตองมีการศึกษาเพื่อประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นวามีขอดีเพียงพอหรือไม และมีความเหมาะสมเพียงใดกอน
การตัดสินใจปรับปรุงรูปแบบการจายไฟสายสงระบบ 115 เควี จากวงรอบเปดเปนแบบวงรอบปด

ร ์
สต
อุปกรณและวิธีการ


ิ ัล า
การเลือกกรณีศึกษารูปแบบระบบสายสง 115 เควี ชวงสถานีไฟฟาเชียงใหม 3(CMC) – สถานีไฟฟา


้ ู จ
ิ ตรศ
เชียงใหม 4(CMD) – สถานีไฟฟาแมริม(MRM)- สถานีไฟฟาสันกําแพง(SKP)-สถานีไฟฟาเชียงใหม 3(CMC) ใหมี

า ม ษ
การจายไฟแบบวงรอบปดเพื่อศึกษา การไหลของกําลังไฟฟา การวิเคราะหกระแสไฟฟาลัดวงจร การจําลองการ

ลัง คว
ทํางานของระบบปองกันสายสง
1. การวิเคราะหการไหลของกําลังไฟฟา
า ล ัยเ
กา รค ิาวทย
การวิเคราะหการไหลของกําลังไฟฟาเพื่อศึกษาคาแรงดันไฟฟาที่บัส คากําลังไฟฟาที่ไหลในสายไฟฟา

ง มห
และคากําลังไฟฟาสูญเสียในสายสง โดยนํามาประเมินวามีขอดีเพียงพอหรือไมเพื่อประกอบการตัดสินใจการ

โค
ปรับปรุงรูปแบบการจายไฟเปนแบบวงรอบปด โดยใชโปรแกรม DIgSILENT version 13.0
2. การวิเคราะหกระแสไฟฟาลัดวงจร
การวิเคราะหกระแสไฟฟาลัดวงจรเพื่อศึกษาวาเมื่อปรับปรุงรูปแบบการจายไฟจากวงรอบเปดเปน
แบบวงรอบปดแลวคากระแสไฟฟาลัดวงจรที่เพิ่มสูงขึ้นนั้นมีคาเกินพิกัดกระแสไฟฟาลัดวงจรของอุปกรณที่อยูใน
ระบบหรือไม โดยใชโปรแกรม DIgSILENT version 13.0
3. การออกแบบระบบปองกันสายสง 115 เควี โดยใชรีเลยระยะทางรวมกับระบบสื่อสารสําหรับเครือขายระบบ
สายสง 115 เควี แบบวงรอบปด
การออกแบบและการจําลองการทํางานของรีเลยระยะทางแบบไมมีระบบสือ่ สารและมีระบบสื่อสารกรณี
รูปแบบการจายไฟแบบวงรอบปดเพื่อศึกษาวาเมื่อใชคาการปรับตั้งของอุปกรณปองกันเดิมของกรณีรูปแบบการ
จายไฟแบบวงรอบเปดแลวนํามาใชกับกรณีรปู แบบการจายไฟเปนแบบวงรอบปดแลวรีเลยระยะทางยังคงทํางาน
ไดถูกตองหรือไมโดยใชโปรแกรม Computer Aided Protection Engineering version 2005 (CAPE)
ผลและวิจารณ

- เซอรกจิ เบรคเกอรสถานะปดวงจร
- เซอรกจิ เบรคเกอรสถานะเปดวงจร
LNC
~
CMC CM3(EGAT)

3YB-03 2YB-03 1YB-03

2YB-02 1YB-02

3YB-01 2YB-01 1YB-01

CMD
CME
5YB-01 3YB-01

2x400A 3.40km 2x400A 9.00km


2x400A 18.50km

2x400A 15.70km
A

2YB-01 4YB-01

SKP
2x400A 30.90km 4YB-01

ต ร ์ 3YB-01

MRM


ิ ัล า ส
ตรด
้ ู จ

รูปที่ 1 รูปแบบการจายไฟระบบ 115 เควีแบบวงรอบเปด รศ
ว เ กาษม
ล ง
ั ค า ล
~ ย
ัLNC

า รค CMC

ว ท
ิ ย CM3(EGAT)

ง ก า
มห
3YB-03 2YB-03 1YB-03

โ ค ร 3YB-01
2YB-02

2YB-01
1YB-02

1YB-01

CME
CMD

5YB-01 3YB-01

2x400A 3.40km 2x400A 9.00km


2x400A 18.50km

2x400A 15.70km

2YB-01 4YB-01
2x400A 30.90km 4YB-01 3YB-01

SKP MRM

รูปที่ 2 รูปแบบการจายไฟระบบ 115 เควีแบบวงรอบปด

รูปแบบการจายไฟระบบ 115 เควี แบบวงรอบเปดจะมีการเปดวงจรอุปกรณปองกันที่สถานีไฟฟาแมรมิ


(MRM) อุปกรณปองกันรหัส 4YB-01 ที่จุด A ดังรูปที่ 1 และแบบวงรอบปดจะมีการปดวงจรอุปกรณปอ งกันที่
สถานีไฟฟาแมริม(MRM) อุปกรณปองกันรหัส 4YB-01 ที่จดุ B ดังรูปที่ 2
1. การวิเคราะหการไหลของกําลังไฟฟา
ศึกษาโดยใชโปรแกรม DIgSILENT version 13.0 โดยกําหนดแรงดันตนทางที่สถานีไฟฟาเชียงใหม 3 มี
คาเทากับ 118.04 เควี เทากันทั้งกรณีวงรอบเปดและวงรอบปด พบวาทั้ง 2 กรณีมีคาแรงดันไฟฟาสูงสุดที่สถานี
ไฟฟาเชียงใหม 5 โดยแบบวงรอบปดมีคา 117.71 kV ซึ่งสูงกวาแบบวงรอบเปดแสดงดังตารางที่ 1 คากําลังไฟฟา
ที่ไดจากการวิเคราะหการไหลของกําลังไฟฟา พบวาคากําลังไฟฟาที่ไหลผานสายสง 115 kV กรณีรูปแบบการ
จายไฟแบบวงรอบเปดมีคากําลังไฟฟาไหลผานสูงสุดชวงสถานีไฟฟาเชียงใหม 3 – สถานีไฟฟาเชียงใหม 5 มีคา
เทากับ 80.33 MW โดยที่มีคาลดลงเปน 69.87 MW เมื่อมีรูปแบบเปนวงรอบปดซึ่งทั้ง 2 กรณีมีคากําลังไฟฟาไหล
ผานไมเกินพิกัดของสายไฟฟาขนาด 2x400A SD ตามมาตรฐานของการไฟฟาสวนภูมิภาคแสดงดังตารางที่ 2
สําหรับคากําลังไฟฟาสูญเสียของสายสงพบวากรณีแบบวงรอบปดมีคาเทากับ 0.49 MW พบวาคากําลังไฟฟา
สูญเสียของรูปแบบการจายไฟแบบวงรอบปดมีคาต่ํากวารูปแบบการจายไฟแบบวงรอบเปดซึ่งเทากับ 0.52 MW
แสดงดังตารางที่ 3

ตารางที่ 1 คาแรงดันไฟฟา
สถานีไฟฟา แรงดันไฟฟา(kV)
ร ์
สต
วงรอบเปด วงรอบปด


ิ ัล า
(Open Loop) (Closed Loop)

รด
้ ู
สถานีไฟฟาเชียงใหม 3 (CMC) จ
ิ 118.04
ตรศ118.04

า ม
สถานีไฟฟาเชียงใหม 5(CME) 117.66
ก ษ 117.71

ลัง คว
สถานีไฟฟาเชียงใหม 4(CMD)

า ล
116.76
ัยเ 116.95

ค ิาวทย
สถานีไฟฟาแมริม(MRM) 115.99 116.41

กา ร
สถานีไฟฟาสันกําแพง(SKP) 117.12 116.85

รง มห
โค
ตารางที่ 2 คากําลังไฟฟาที่ไหลในสายสงระบบ 115 เควี
ระบบสายสง 115 kV ชวง คากําลังไฟฟาที่ไหลผานระบบสายสง
(MW)
วงรอบเปด วงรอบปด
(Open Loop) (Closed Loop)
สถานีฯเชียงใหม 3(CMC) – สถานีฯเชียงใหม 5 (CME) 80.33 69.87
สถานีฯเชียงใหม 5(CME) – สถานีฯเชียงใหม 4 (CMD) 75.40 64.96
สถานีฯเชียงใหม 4(CMD) – สถานีฯแมริม (MRM) 45.21 34.82
สถานีฯแมริม(MRM) – สถานีฯสันกําแพง (SKP) 0.00 10.35
สถานีฯสันกําแพง(SKP) – สถานีฯเชียงใหม 3 (CMC) 46.44 56.86
ตารางที่ 3 คากําลังไฟฟาสูญเสียของสายสง
รูปแบบการจายไฟ วงรอบเปด วงรอบปด
(Open Loop) (Closed Loop)
คากําลังไฟฟาสูญเสีย (MW) 0.52 0.49

2. การวิเคราะหกระแสไฟฟาลัดวงจร
ศึกษาโดยใชโปรแกรม DIgSILENT version 13.0 ผลการวิเคราะหกระแสไฟฟาลัดวงจรโดยกรณีรูปแบบ
การจ า ยไฟแบบวงรอบป ด ค า กระแสลั ด วงจรมี ค า สู ง กว า รู ป แบบการจ า ยไฟแบบวงรอบเป ด แสดงผลดั ง
ตารางที่ 4 แตคากระแสไฟฟาลัดวงจรที่เพิ่มขึ้นดังกลาว มีคาไมเกินพิกัดคากระแสไฟฟาลัดวงจรของอุปกรณ
ไฟฟาที่อยูในระบบไฟฟา

ตารางที่ 4 คากระแสไฟฟาลัดวงจร
สถานีไฟฟา กระแสไฟฟาลัดวงจร(kA)
ร ์
ัล สต
วงรอบเปด วงรอบปด


ิ ท
ิ (Open Loop)
ศ า (Closed Loop)

า ม รด
้ ู SLG 2P

3P
ตร SLG 2P 3P
สถานีไฟฟาเชียงใหม 3 (CMC)

คว ัยเ ก
7.94 7.38 8.53 7.94 7.38 8.53

ลัง ล
สถานีไฟฟาเชียงใหม 5(CME) 6.47 6.67 7.70 6.52 6.70 7.73

ค ิาวทย
สถานีไฟฟาเชียงใหม 4(CMD) 4.32 5.30 6.13 4.66 5.56 6.41

กา ร
สถานีไฟฟาแมริม(MRM) 2.73 3.91 4.51 3.59 4.71 5.44

รง มห
สถานีไฟฟาสันกําแพง(SKP) 3.53 4.66 5.38 4.07 5.11 5.90

โค
3. การออกแบบระบบปองกันสายสง 115 เควี โดยใชรีเลยระยะทางรวมกับระบบสื่อสารสําหรับรูปแบบการ
จายไฟระบบ 115 เควี แบบวงรอบปด(Closed Loop)
3.1 การจําลองการทํางานของรีเลยระยะทางแบบไมมีระบบสื่อสารโดยใชโปรแกรม CAPE
กรณีรูปแบบการจายไฟแบบวงรอบปดแบบไมมีระบบสื่อสารพบวาเมื่อจําลองเกิดความผิดพรอง
แบบสามเฟสที่ระยะทาง 15% ,50% และ 85% ของสายสงแตละชวง แสดงผลดังตารางที่ 5 พบวารีเลยระยะทาง
สามารถทํางานไดถูกตองตามคาการปรับตั้งดั้งเดิมกลาวคือ ก) เมื่อเกิดความผิดพรองที่ระยะทาง 15 % รีเลยตน
ทางทริปดวยโซน 1 เวลาแบบทันทีทันใด รีเลยปลายทางทริปดวยโซน 2 ดวยเวลาของโซน 2 , ข) เมื่อเกิด
ความผิดพรองที่ระยะทาง 50 % รีเลยทั้งทางดานตนทางและปลายทางทริปดวยโซน 1 ดวยเวลาทันทีทันใด,
ค) เมื่อเกิดความผิดพรองที่ระยะทาง 85% รีเลยตนทางทริปดวยโซน 2 ดวยเวลาของโซน 2 รีเลยปลายทางทริป
ดวยโซน 1 ดวยเวลาแบบทันทีทันใด
ตารางที่ 5 การจําลองทํางานของรีเลยระยะทางกรณีไมมีระบบสื่อสาร
สายสงชวง ฟอลตระยะทาง 15% ฟอลตระยะทาง 50 % ฟอลตระยะทาง 85%
ตนทาง ปลายทาง ตนทาง ปลายทาง ตนทาง ปลายทาง
Zone Time Zone Time Zone Time Zone Time Zone Time Zone Time
(Sec) (Sec) (Sec) (Sec) (Sec) (Sec)
เชียงใหม 3 – Z1 0.110 Z2 0.380 Z1 0.110 Z1 0.080 Z2 0.410 Z1 0.080
เชียงใหม 4
เชียงใหม 4 – Z1 0.080 Z2 0.380 Z1 0.080 Z1 0.080 Z2 0.380 Z1 0.080
แมริม
แมริม – Z1 0.080 Z2 0.380 Z1 0.080 Z1 0.080 Z2 0.380 Z1 0.080
สันกําแพง
สันกําแพง – Z1 0.080 Z2 0.410 Z1 0.080 Z1 0.110 Z2 0.380 Z1 0.110
เชียงใหม 3

ร ์
3.2 การจําลองการทํางานของรีเลยระยะทางแบบมีระบบสือ่ สารโดยใชโปรแกรม CAPE


ิ ท
ิ ัล
ศ สต
กรณีรูปแบบการจายไฟแบบวงรอบปดแบบมีระบบสื่อสารพบวาเมื่อจําลองเกิดความผิดพรองแบบ

ตร
สามเฟส ที่ระยะทาง 15% ,50% และ 85% ของสายสงแตละชวง แสดงผลดังตารางที่ 6 พบวารีเลยระยะทาง

ม รด
้ ู ษ
สามารถทํางานไดถูกตองตามคาการปรับตั้งดั้งเดิม กลาวคือ ก) เมื่อเกิดความผิดพรองที่ระยะทาง 15 % รีเลย

ว า ัยเ ก
ตนทางและปลายทางทริปพรอมกันดวยเวลาแบบทันทีทันใด, ข) เมื่อเกิดความผิดพรองที่ระยะทาง 50 % รีเลย

ลัง ล
ตนทางและปลายทางทริปพรอมกันดวยเวลาแบบทันทีทันใด, ค) เมื่อเกิดความผิดพรองที่ระยะทาง 85% รีเลย

รค ิาวทย
ตนทางและปลายทางทริปพรอมกันดวยเวลาแบบทันทีทันใด

ง กา
โค ร
สายสงชวง
ตนทาง
มห
ตารางที่ 6 การจําลองทํางานของรีเลยระยะทางกรณีมีระบบสื่อสาร
ฟอลตระยะทาง 15%
ปลายทาง
ฟอลตระยะทาง 50 %
ตนทาง ปลายทาง
ฟอลตระยะทาง 85%
ตนทาง ปลายทาง
Zone Time Zone Time Zone Time Zone Time Zone Time Zone Time
(Sec) (Sec) (Sec) (Sec) (Sec) (Sec)
เชียงใหม 3 – Z1 0.110 RCVR 0.110 Z1 0.080 RCVR 0.080 RCVR 0.080 Z1 0.080
เชียงใหม 4
เชียงใหม 4 – Z1 0.080 RCVR 0.080 Z1 0.080 RCVR 0.080 RCVR 0.080 Z1 0.080
แมริม
แมริม – Z1 0.080 RCVR 0.080 Z1 0.080 RCVR 0.080 RCVR 0.080 Z1 0.080
สันกําแพง
สันกําแพง – Z1 0.080 RCVR 0.080 Z1 0.080 RCVR 0.080 RCVR 0.110 Z1 0.110
เชียงใหม 3
สรุป
จากผลการวิจัยพบวามีความเหมาะสมในการปรับปรุงรูปแบบจากวงรอบเปดเปนวงรอบปดของการ
จายไฟสายสงระบบ 115 kV ชวงสถานีไฟฟาเชียงใหม 3 – สถานีไฟฟาเชียงใหม 4 – สถานีไฟฟาแมริม – สถานี
ไฟฟาสันกําแพง- สถานีไฟฟาเชียงใหม 3 เนื่องจากมีขอดีคือสามารถเพิ่มความเชื่อถือไดของระบบไฟฟาในชวง
ระบบสายสง 115 kV ดังกลาวได กลาวคือเมื่อเกิดความผิดพรองในชวงสายสงตําแหนงใดๆที่อยูในวงรอบปดจะ
ทําใหระบบปองกันตรวจจับการเกิดความผิดพรองไดและสั่งปลดอุปกรณปองกันตนทางและปลายทางออก โดย
ไมทําใหสถานีไฟฟาที่อยูในวงรอบปดเกิดปญหาไฟฟาดับ
ผลจากการวิเคราะหการไหลของกําลังไฟฟาพบวามีขอดีที่ไดจากการจายไฟสายสงระบบ 115 kV
แบบวงรอบปด คื อ ทํ า ให แ รงดัน ไฟฟ า ที่บั ส ที่อ ยู ใ นวงรอบป ดมี ค าเพิ่ มสู ง ขึ้น เปน ผลใหค า กํา ลั งไฟฟา สู ญเสี ย
ของสายสง ระบบ 115 kV มีคาลดลง โดยที่คากําลังไฟฟาที่ไหลผานระบบสายสงมีคาไมเกินพิกัดของสายไฟฟา
ผลจากการวิเคราะหกระแสไฟฟาลัดวงจรพบวาคากระแสไฟฟาลัดวงจรกรณีรูปแบบการจายไฟแบบ
วงรอบปดมีคาเพิ่มสูงขึ้นและมีคาไมเกินพิกัดกระแสไฟฟาลัดวงจรของอุปกรณทําใหไมตองเปลี่ยนอุปกรณใน
ระบบ
ผลจากการจําลองการทํางานของระบบปองกันสายสงระบบ 115 kV โดยใชรีเลยระยะทางรวมกับ
ร ์
สต
ระบบสื่อสารกรณีรูปแบบการจายไฟแบบวงรอบปดพบวา กรณีไมมีระบบสื่อสารรีเลยระยะทางยังคงสามารถ


ิ ัล า
ทํางานไดถูกตองตามหลักการปองกันระบบไฟฟากําลังโดยใชคาการปรับตั้งอุปกรณปองกันเดิม ซึ่งเปนรูปแบบ

รด
้ ู จ
ิ ตรศ
การทํางานของเวลาแบบขั้นบันได แตในกรณีมีระบบสื่อสารจะทําใหระบบปองกันสายสงมีความสมบรูณมากขึ้น

า ม ษ
กลาวคือสามารถปองกันสายสงไดคลอบคลุม 100 % ของระยะความยาวสายสงดวยความเร็วในการเปดวงจร

คว ัยเ
แบบทันทีทันใดพรอมกันทั้งตนทางและปลายทางของสายสงเปนผลใหระบบไฟฟามีเสถียรภาพเพิ่มมากขึ้น

ลัง า ล
กา รค ิาวทย เอกสารอางอิง

รง
William D. Stevenson , 1982 ,Element of Power System Analysis , Jr. 4 th Edition , McGraw-Hill, Inc.,

มห
โค
New York
J.Lewis Blackburn, Marcel Dekker, 1987 , Protective Relaying Principles And Applications , Inc., New
York
IEEE Std.242-1986, 1986 , Recommended Practice for Protection and Coordination of Industrial and
Commercial Power System(Buff Book) , New York
สันติ อัศวศรีพงศธร, 2548, วิศวกรรมการปองกันระบบไฟฟากําลัง : Module 1, คณะวิศวกรรมศาสตร,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.
สันติ อัศวศรีพงศธร,2548, วิศวกรรมการปองกันระบบไฟฟากําลัง : Module 2, คณะวิศวกรรมศาสตร,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,กรุงเทพฯ.

You might also like