You are on page 1of 68

แนะนํ าการเตรียมตัวสัมภาษณ์

เพือ่ การเลือ่ นระดับ ฯ สาขาไฟฟ้ า


(สามัญ – วุฒ)ิ

โดย…ลือชัย ทองนิ ล
อนุ กรรมการฯ สาขาไฟฟ้ า สภาวิศวกร

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 1


การเตรียมตัว

คําถามเป็ นอํานาจของคณะอนุ กรรมการสอบฯ


ศึกษารายละเอียดในงานที่นําเสนอเป็ นผลงานดีเด่นทัง้ หมด
โดยปกติจะเป็ นคําถามในงานที่เสนอเป็ นผลงานดีเด่นว่าผูท้ ่ยี ่นื ขอฯ
ปฏิบตั งิ านนั้นจริงหรือไม่ และ มีความรูค้ วามสามารถในงานที่ปฏิบตั ิ
หรือไม่
อาจมีคาํ ถามพื้นฐานอืน่ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่เสนอเช่น ระบบประกอบ
อาคาร จรรยายบรรณ เป็ นต้น

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล


2
การสัมภาษณ์
ควรนํ าเอกสารผลงาน
ดีเด่นและแบบไฟฟ้ าที่
นํ าเสนอมาในการ
สัมภาษณ์ดว้ ย

ท่านสามารถนํ าเอกสาร
ต่างๆ เครื่องคิดเลข
คอมพิวเตอร์ และอืน่ ๆ
ที่เกี่ยวข้องเข้าห้องสอบ
สัมภาษณ์ได้ This Photo by Unknown Author is licensed under CC BY‐SA‐NC

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 3


ระบบการจ่ายไฟฟ้ าของประเทศไทย
สถานี ไฟฟ้ าต้นทาง
230 kV, 69 kV, 115 kV
500 kV

โรงไฟฟ้ า
(ระบบผลิต)
115 kV
69 kV.

โรงงานอุตสาหกรรม
MEA 12 kV, 24 kV
PEA 22 kV, 33 kV
230/400 V.
3 4W. สถานี ไฟฟ้ าย่อย
ผูใ้ ช้ไฟฟ้ า

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 4


Substation, ตัวอย่างเรื่องที่ควรทราบ
 รูจ้ กั อุปกรณ์ทง้ั หมด การทํางาน การติดตัง้ และการทดสอบ
 Safety Clearance และ ความปลอดภัยในการทํางาน
 Grounding
 การหาค่า soil resistivity
 Mesh voltage (touch voltage)
 Step voltage
 Protective relays
 Lightning protection
 การตรวจสอบและทดสอบก่อนการจ่ายไฟ
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 5
กรณี เป็ นงานปักเสาพาดสาย (ระบบสายอากาศ)
 ต้องรูจ้ กั อุปกรณ์ การเลือกใช้ และการติดตัง้
 วิธีการพาดสาย การดึงสาย การต่อสาย
 Sag & Tension
 Bending moment และการกําหนดระยะห่างระหว่างเสาไฟฟ้ า
 ความปลอดภัยในการทํางานกับไฟฟ้ า ขณะที่มีไฟ
 การเขียน switching order (กรณี บาํ รุงรักษา)
 การวางแผน และการบํารุงรักษา

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 6


ระบบสายใต้ดิน
 รูจ้ กั โครงสร้างสายไฟฟ้ าและหน้าที่ของแต่ละส่วน
 รูจ้ กั วิธีการเดินสายใต้ดินแบบต่างๆ ข้อดี ข้อเสีย และการ
เลือกใช้งาน
 Manhole ชนิ ดต่างๆ ข้อกําหนดการเลือกใช้งาน
 Grounding & bonding
 วิธีการทดสอบท่อ และการลากสาย
 การต่อสาย และการทําหัวเคเบิล
 การตรวจสอบและทดสอบก่อนการจ่ายไฟ
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 7
ระบบไฟฟ้ าภายในอาคาร
ออกแบบและคํานวณฯ
Transf. ควบคุมการสร้าง
24 kV./240-416V อํานวยการใช้
พิจารณาตรวจสอบ
IC25 kA, 416V MDB

PP-1 LP-1 LP-2 Air spare


373 kVA 11.86 kVA 4.8 kVA 150 kVA
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 8
ความรูเ้ รื่องสายไฟฟ้ า

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 9


Spaced aerial cable, โครงสร้างและการใช้งาน

Al. Conductor, XLPE Insulation


Compacted Round

Conductor Shield, XLPE Jacket


Semiconductor Material

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 10


Spaced Aerial Cable
เป็ นสายหุม้ ฉนวนไม่เต็มพิกดั
ต้องติดตัง้ บนฉนวนไฟฟ้ า

ตัวอย่างการติดตัง้ ใช้งาน
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 11
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 12
ข้อควรระวังในการติดตัง้ ใช้งาน

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 13


สายไฟฟ้ าระบบแรงสูง (แรงดัน 12–33 kV)

สายหุม้ ฉนวนแรงสูงเต็มพิกดั แบ่งเป็ น


ตีเกลียว, (AFC, TAC)
สายใต้ดิน, Underground Cable

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 14


สายหุม้ ฉนวนแรงสูงเต็มพิกดั ชนิ ดตีเกลียว

AFC

TAC

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 15


การติดตัง้ ใช้งานสายหุม้ ฉนวนเต็มพิกดั (สายใต้ดิน)

เดินลอยในอากาศ (สาย AFC, TAC)


เดินบนรางเคเบิล
เดินร้อยท่อในอากาศ
เดินร้อยท่อฝังดิน (ท่อเดียว, Duct bank)
ฝังดินโดยตรง

แผ่นคอนกรีต

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 16


โครงสร้างสาย XLPE แรงดัน 12/20(24) kV

Conductor
Conductor Screen
Insulation
Insulation Screen

Outer Sheath
Separator Tape
Metallic Shield (screen)

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 17


Terminator

What is electric stress ?


Insulation Shield
50% Insulation
10% 90%

Equipotential Line Conductor (100% Line Voltage)

Cable End Without Stress Cone Device

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 18


Terminator ชนิ ดต่าง ๆ

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล


19
การใช้งานสายไฟฟ้ าระบบแรงตํา่
มอก.11-2553
มอก 11 มอก 11 เล่ม 101 -2559

การเลือกใช้สายไฟฟ้ า IEC 60502


XLPE
จะต้องทราบความ มอก.-2143
ต้องการก่อน

อืน่ ๆ
สายที่มีคณ
ุ สมบัตพิ เิ ศษ
สายทนไฟ สายควันน้อย
สาย PV เป็ นต้น
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 20
ฉนวน PVC กับ XLPE ต่างกันอย่างไร

อุณหภูมิใช้งาน Ampacity
Loss
PVC 70OC
Voltage drop
XLPE 90OC
ผลของความร้อนที่มีต่ออุปกรณ์ไฟฟ้ า
Flame retardant การทนความร้อนจากกระแสลัดวงจร
ควัน
ความแข็งแรงทางกายภาพ

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 21


การใช้งานสายแรงตํา่ (ที่มีใช้งานทัว่ ไป)
สาย มอก.11-2553, 60227 IEC 01
- ขนาด 1.5-400 ตร.มม.
- จํานวนแกน แกนเดียว
- สายดิน ไม่มี
- อุณหภูมิตวั นํ า 70 OC
- เปลือก ไม่มี
- แรงดัน U0/U 450/750 V
การใช้งาน
ใช้งานทัว่ ไป
เดินในช่องเดินสายและต้องป้ องกันนํ้ าเข้าช่องเดินสาย
ห้ามร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 22
สาย มอก.11-2553,
60227 IEC 10

- ขนาด 1.5-35 ตร.มม. การใช้งาน


- จํานวนแกน หลายแกน  ใช้งานทัว่ ไป
- สายดิน มี/ไม่มี  เดินในช่องเดินสายและต้องป้ องกัน
- อุณหภูมิตวั นํ า 70OC นํ้ าเข้าช่องเดินสาย
- เปลือก มี  วางบนรางเคเบิล
- แรงดัน U0/U 300/500 V  ห้ามร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง

ข้อควรระวัง การกําหนดสีของสายไฟฟ้ าต้องถูกต้องตามมาตรฐาน


23

แนะนํ าการเตรียมตัวสัมภาษณ์ฯ.....ลือชัย ทองนิ ล


สาย มอก.11 เล่ม 101-2559, VAF

- ขนาด 1.0-16 ตร.มม. การใช้งาน


- จํานวนแกน 2 และ 2 แกนมีสายดิน เดินเกาะผนัง
- สายดิน มี/ไม่มี เดินในช่องเดินสาย ห้ามร้อยท่อ
- อุณหภูมิตวั นํ า 70OC ห้ามฝังดิน
- เปลือก มี
- แรงดัน U0/U 300/500 V - V หมายถึง เปลือกเป็ น PVC
- A หมายถึง Annealed Copper
- F หมายถึง ชนิ ดสายแบน

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 24


สาย มอก.11 เล่ม 101-2559, NYY

แกนเดียว 1.0-500 ตร.มม. การใช้งาน


- ขนาด หลายแกน 1.0-300 ตร.มม.  ใช้งานทัว่ ไป
หลายแกนมีสายดิน 1.0-300 ตร.มม.  วางบนรางเคเบิล
- จํานวนแกน แกนเดียว และ หลายแกน  ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง
- สายดิน มี/ไม่มี ข้อควรระวัง
- อุณหภูมิตวั นํ า 70OC ในการต่อสาย
- เปลือก มี
- แรงดัน U0/U 450/750 V

25
แนะนํ าการเตรียมตัวสัมภาษณ์ฯ.....ลือชัย ทองนิ ล
สาย มอก.11 เล่ม 101-2559, VCT

ตัวนํ ามีลกั ษณะเป็ นสายฝอย

- ขนาด 1.0-35 ตร.มม.


- จํานวนแกน แกนเดียว และ หลายแกน การใช้งาน
- สายดิน มี/ไม่มี  ใช้งานทัว่ ไป
- อุณหภูมิตวั นํ า 70OC  ใช้ต่อเข้าเครื่องใช้ไฟฟ้ า
- เปลือก มี  วางบนรางเคเบิล
- แรงดัน U0/U 450/750 V  ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง

แนะนํ าการเตรียมตัวสัมภาษณ์ฯ.....ลือชัย ทองนิ ล 26


สายไฟฟ้ าตามมาตรฐานอืน่ , XLPE

Cross Linked Polyethylene


- ขนาด แกนเดียว 2.5-1,000 ตร.มม.
หลายแกน 2.5-400 ตร.มม. IEC 60502
- จํานวนแกน แกนเดียว และ หลายแกน มอก. 2143
- สายดิน มี/ไม่มี
- อุณหภูมิตวั นํ า 90OC
- เปลือก มี
- แรงดัน U0/U 0.6/1 kV
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 27
การใช้งานตามที่กาํ หนดในมาตรฐานฯ

ใช้งานทัว่ ไป

วางบนรางเคเบิล เดินร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง
การติดตัง้ ภายในอาคารต้องเดินในช่องเดินสายที่ปิดมิดชิด
ยกเว้น สายมีคณ ุ สมบัตติ า้ นเปลวเพลิง ตามมาตรฐาน IEC
60332-3 category C
ต้องคํานึ งถึงพิกดั กระแสและอุณหภูมขิ องอุปกรณ์ท่ตี ่อด้วย

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 28


สายไฟฟ้ าสําหรับสําหรับระบบผลิต
ไฟฟ้ าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

PV CABLE
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 29
สายไฟฟ้ าในระบบ PV (Solar Cable)

EN 50618 แรงดัน 0.6/1 kV AC, 0.9/15 kV DC

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 30


การใช้งานและการเดินสาย
การเดินสายต้องมีการป้ องกันสายจากความเสียหายทางกายภาพ
ไม่ปิดบังทางไหลของนํ้ า
ปกติจะเดินในช่องเดินสาย หรือวางบนรางเคเบิล
การต่อสาย ต้องใช้อปุ กรณ์การต่อสายที่เหมาะสม (MC4
Connector)

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 31


การกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า

 สายไฟฟ้ าต้องสามารถนํ ากระแสโหลดได้โดยมีความร้อนไม่เกินที่


กําหนด
 กรณี เกิดกระแสเกิน เครื่องป้ องกันต้องปลดวงจรก่อนที่สาย
(ฉนวน) จะชํารุด
 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าเป็ นไปตามตารางในหนังสือ
มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าฯ ของ วสท.

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 32


ขัน้ ตอนการกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า

หากระแสโหลด (หม้อแปลง) และกําหนดขนาดเครื่องป้ องกันกระแสเกิน

เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ า และวิธกี ารเดินสายไฟฟ้ า (รูปแบบการติดตัง้ )

เลือกตารางขนาดกระแสของสายไฟ และกําหนดตัวปรับค่า (Ca & Cg)

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าที่ตอ้ งการ (It) จากตารางที่เลือก


It ≥ In/(Ca  Cg)

สายไฟฟ้ าต้องมีขนาดกระแสไม่ตาํ ่ กว่า It


แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 33
รูปแบบการติดตัง้ แบ่งเป็ น 7 กลุม่
ลักษณะการ
วิธกี ารเดินสาย รูปแบบการติดตัง้
ติดตัง้
สายแกนเดี่ยวหรือหลายแกนหุม้ ฉนวน
มี/ไม่มีเปลือกนอก เดินในท่อโลหะหรือ
อโลหะ ภายในฝ้ าเพดานที่เป็ นฉนวน หรือ กลุม่ ที่ 1
ความร้อน หรือผนังกันไฟ
สายแกนเดี่ยวหรือหลายแกนหุม้ ฉนวน
มี/ไม่มีเปลือกนอก เดินในท่อโลหะหรือ
อโลหะเดินเกาะผนังหรือเพดาน หรือฝัง หรือ กลุม่ ที่ 2
ในผนังคอนกรีตหรือที่คล้ายกัน
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 34
สายแกนเดี่ยวหรือหลายแกนหุม้ ฉนวนมี
เปลือกนอก เดินเกาะผนัง หรือเพดาน ที่
ไม่มีสง่ิ ปิ ดหุม้ ที่คล้ายกัน
กลุม่ ที่ 3

สายเคเบิลแกนเดี่ยวหุม้ ฉนวน มี/ไม่มี


D
เปลือกนอก วางเรียงกันแบบมีระยะห่าง
เดินบนฉนวนลูกถ้วยในอากาศ
กลุม่ ที่ 4
D
สายแกนเดี่ยวหรือหลายแกนหุม้ ฉนวนมี
เปลือกนอก เดินในท่อโลหะหรืออโลหะ
ฝังดิน
กลุม่ ที่ 5
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 35
สายแกนเดี่ยว หรือหลายแกน หุม้ ฉนวน
มีเปลือกนอก ฝังดินโดยตรง กลุม่ ที่ 6
สายเคเบิลแกนเดี่ยวหรือหลายแกนหุม้
ฉนวน มีเปลือกนอก วางบนรางเคเบิล
แบบด้านล่างทึบ, รางเคเบิลแบบระบาย
อากาศ หรือรางเคเบิลแบบบันได กลุม่ ที่ 7

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 36


ระบบไฟฟ้ าภายในอาคาร

Transf. รูจ้ กั Spec. หม้อแปลง, พิกดั ต่างๆ


24 kV./240-416V การติดตัง้ การต่อลงดินที่หม้อแปลง

IC  25 kA, 416V MDB พื้นที่ว่างเพือ่


การปฏิบตั งิ าน

PP-1 LP-1 LP-2 Air spare


373 kVA 11.86 kVA 4.8 kVA 150 kVA
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 37
การป้ องกันกระแสเกินสําหรับหม้อแปลงไฟฟ้ า

ตารางที่ 6-5 ขนาดปรับตัง้ สูงสุดของเครื่องป้ องกันกระแสเกินสําหรับหม้อแปลงระบบแรงสูง


ขนาด ด้านไฟเข้า ด้านไฟออก
อิมพีแดนซ์
ของหม้อแปลง แรงดันมากกว่า 1,000 โวลต์ แรงดันมากกว่า 1,000 โวลต์ แรงดันไม่เกิน 1,000
โวลต์
เซอร์กติ เบรกเกอร์ ฟิ วส์ เซอร์กติ เบรกเกอร์ ฟิ วส์ เซอร์กติ เบรกเกอร์หรือ
ฟิ วส์
ไม่เกิน 6% 600% 300% 300% 250% 125%
มากกว่า 6% 400% 300% 250% 225% 125%
แต่ไม่เกิน 10%

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 38


การกําหนดพิกดั กระแสลัดวงจร, ICU

Q T L
F
𝑠"
k3 cUn
𝑅 𝑋 𝑅 𝑋 𝑅 𝑋 F " =
𝒌
ระบบไฟฟ้ า หม้อแปลงไฟฟ้ า สายไฟฟ้ า 3 Zk

Zk

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 39


Infinite bus, กระแสลัดวงจร
𝒌𝑽𝑨 𝟏, 𝟎𝟎𝟎
𝑰𝑺𝑪
%𝒁
√𝟑 𝑽
𝟏𝟎𝟎

ตัวอย่าง กําหนดให้หม้อแปลงขนาด 1,000 kVA มี Impedance voltage 6%


ไม่คดิ ค่า Impedance ของระบบไฟฟ้ า (infinite bus) และสายไฟฟ้ าด้านแรงตํา่
ของหม้อแปลง
จะได้
𝒌𝑽𝑨 𝟏,𝟎𝟎𝟎 𝟏,𝟎𝟎𝟎 𝟏,𝟎𝟎𝟎
𝑺𝑪 %𝒁 = 𝟔 ampere
√𝟑 𝑽 √𝟑 𝟒𝟎𝟎
𝟏𝟎𝟎 𝟏𝟎𝟎
= 24 kA
Icu ต้องไม่ตา่ํ กว่า 24 kA
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 40
เมนสวิตช์

1 ระบบไฟฟ้ าต่อลงดิน 2 บริภณั ฑ์ไฟฟ้ าต่อลงดิน

ลือ ชัย ทองนิ ล ...ประธานสาขาวิ ศ วกรรมไฟฟ้ า วสท. 41


การต่อลงดิน, การกําหนดขนาดสายดิน

ด้านไฟออก
4. สายต่อฝากของบริภณั ฑ์
ไฟฟ้ า (ตาราง 4-2)
เมนสวิตช์
5. สายเส้นที่มีการต่อลงดิน บริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
N
3. สายต่อฝากประธาน G
1. สายต่อหลักดิน (ตาราง 4-1) 2. สายดินของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
หลักดิน (ตาราง 4-2)
ด้านไฟเข้า

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 42


ข้อควรระวัง…เมื่อใช้ ATS ชนิ ด 3-P,

ไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าฯ
เมนสวิตช์ เครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ า 1. ที่ Gen ห้าม
ต่อ N ลงดิน
N N
G
G

N
G
3-pole
transfer switch
N
โหลด เมื่อเกิด Ground Fault
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 43
ข้อควรระวัง… เมื่อใช้ ATS ชนิ ด 3-P
GFP อาจปลดวงจรได้แม้ไม่เกิด Ground Fault

ไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าฯ
เมนสวิตช์ เครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ า
2. ที่ Gen ห้าม
ต่อ N กับ G
N N
G G
กระแสโหลด
N
G
3-pole transfer switch
N
โหลด
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 44
การติดตัง้ เมื่อมีเครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ าด้วย, 4-P Transfer SW
ไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าฯ
เมนสวิตช์ เครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ า

N RS N
G
G
สายต่อหลักดิน

G
(ต่อระบบไฟฟ้ าลงดิน)
4-pole
switch transfer
N
โหลด
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 45
RMU (HV Switchgear) Grounding

RMU MDB
NCT
Incoming Outgoing N
In
Ig
G

ห้ามต่อ

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 46


ระบบการเดินสายภายในอาคาร
ข้อ ควรระวัง

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 47


การป้ องกันความร้อนจากกระแสเหนี่ ยวนํา
เมื่อติดตัง้ สายไฟฟ้ ากระแสสลับในเครื่องห่อหุม้ โลหะ ต้อง
จัดทําไม่ให้เกิดความร้อนเนื่ องจากการเหนี่ ยวนํ า...ดังนี้
◦รวมสายทุกเส้นของวงจรเดียวกันและสายดิน ในเครื่อง
ห่อหุม้ เดียวกัน
◦การเดินสายควบ ในแต่ละท่อต้องมีสายของวงจร
เดียวกันครบทุกเส้น รวมทัง้ สายดิน
เมนสวิตช์ ท่อร้อยสาย แผงย่อย
A
B
C
N G 48
มีสายครบทุกเฟสรวมนิ วทรัลและสายดิน
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล
ความร้อนจากกระแสเหนี่ ยวนํ าในท่อโลหะ
แนวทางการป้ องกัน
G
N
C
B
A

A B C NG A B C NG
A B C NG

ท่อโลหะ
แนะนําการเตรียมตัวสัมภาษณ์ฯ.....ลือชัย ทองนิล 49
การวางสายบนรางเคเบิล

A A B B C C N N

A B C N A B C N

A B C N N C B A

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 50


สายไฟฟ้ าอุณหภูมิใช้งานต่างกัน
เดินในช่องเดินสายเดียวกัน

ห้ามเดินสายไฟฟ้ าที่มีอณ ุ หภูมิใช้งานต่างกันในช่องเดินสาย


เดียวกัน ยกเว้น ทําให้สายทุกเส้นมีอณ ุ หภูมิใช้งานไม่เกินอุณหภูมิ
ใช้งานของสายเส้นที่ตาํ ่ สุด
ควรระวัง
CV
IEC 01

ุ หภูมิสูงสุดไม่เกิน 70OC
สาย CV ต้องมีอณ

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 51


• ต้องใช้สายขนาดไม่เล็กกว่า 50 ตร.มม. และ
การเดิน
• ใช้สายชนิ ดเดียวกัน และ ขนาดเดียวกัน และ
สายควบ • มีความยาวเท่ากัน และ วิธกี ารต่อสายเหมือนกัน

แผงย่อย ท่อร้อยสาย แผงย่อย


A
B
C
N
G
0.1 ohm
400A 400A Ia = 240 A
Ia
0.15 ohm Ib = 160 A
Ib
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 52
ข้อควรระวังอืน่ ๆ ในการเดินสายไฟฟ้ า
 จํานวนสายในช่องเดินสาย
 ชนิ ดของสายที่ใช้ได้
 ชนิ ดของช่องเดินสายสําหรับอาคารที่เป็ นสถานที่เฉพาะ
อาคารชุด อาคารสูง และอาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ
 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ า (ตัวปรับค่า)

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 53


งานอํานวยการใช้
หลักการบํารุ งรักษาระบบไฟฟ้ า

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 54


Prevention is better than cure
การบํารุงรักษาคืออะไร?
คือการกระทําที่ผสมผสานกันทัง้ ด้านเทคนิ คและการจัดการ เทคนิค

ในอันที่จะคงไว้ซ่ึงสภาพของอุปกรณ์ หรือเพือ่ ฟื้ นฟูสภาพ การ


จัด การ
ของอุปกรณ์ ให้อยู่ในสภาพที่จะทํางานได้ตามที่ตอ้ งการ
และมีความปลอดภัย
การบํารุงรักษา
keep it dry
keep it cool
หลักการที่สาํ คัญ
keep it clean
keep it tight
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 55
Breakdown Maintenance (ซ่อมเมื่อเสีย)

• ไม่มีสญั ญาณเตือนก่อนชํารุด
• ในระบบที่ตอ้ งการความเชื่อมัน่ สูงจะเป็ น
ปัญหาและยอมรับไม่ได้ เช่นในอากาศยาน
ข้อเสีย • ต้องเตรียมอะไหล่พร้อมไว้จาํ นวนมาก
ค่าใช้จา่ ยสูง
• อาจทําให้แผนการผลิตผิดพลาด
• ไม่สามารถวางแผนการบํารุงรักษาได้

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 56


Preventive Maintenance (PM)
ใช้การตรวจสภาพอุปกรณ์เพือ่ ให้สามารถทําการบํารุงรักษา
ได้กอ่ นที่จะชํารุดมากขึ้น ด้วยสายตาหรือเครื่องมือ

สามารถวางแผนการบํารุงรักษาในช่วงเวลาที่เหมาะสม
และสะดวกได้
ก่อนถึงเวลาการบํารุงรักษาตามแผน สามารถเฝ้ าระวัง
อย่างใกล้ชิดได้ (กรณี ท่พี บข้อบกพร่อง) เมื่อเครื่องจักร
หรืออุปกรณ์เป็ นส่วนที่สาํ คัญในการผลิต
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล
57
หลักการตรวจสอบและทดสอบ เพือ่ การบํารุงรักษา

หาข้อมูล และ
เตรียมการ วางแผนตรวจสอบ
ทําการตรวจสอบ

วิธีการ Visual Inspection ตรวจสอบตาม


ตรวจสอบ Measurement ตาราง

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 58


การเตรียมการ...ข้อมูลที่จาํ เป็ น

ข้อมูลที่ตอ้ งมีเก็บไว้
วิธีตรวจสอบและทดสอบอุปกรณ์ทง้ั หมด
สําเนารายงานการตรวจสอบครัง้ ก่อน
Single Line & Schematic Diagram
บันทึก Name Plate ที่สมบูรณ์ทง้ั หมด

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 59


การเตรียมการ...ข้อมูลที่จาํ เป็ น
ข้อมูลที่ตอ้ งมีเก็บไว้
วิธีตรวจสอบและทดสอบอุปกรณ์ทง้ั หมด
สําเนารายงานการตรวจสอบครัง้ ก่อน
Single Line & Schematic Diagram
บันทึก Name Plate ที่สมบูรณ์ทง้ั หมด

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 60


การเตรียมการ...ข้อมูลที่จาํ เป็ น
ข้อมูลที่ตอ้ งมีเก็บไว้ (ต่อ)
แค๊ตตาล็อกของผูข้ าย
แบบการทํารายงาน
คู่มือการบํารุงรักษา
ทะเบียนประวัตอิ ปุ กรณ์ (เครื่องจักร)

ประวัตเิ ครื่องจักร

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 61


การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบฯ
แบบไฟฟ้ าทัง้ หมด ประกอบด้วย:-
Single line, Schematic & Wiring Diagram
➀ Short-circuit & Coordination Study
Circuit Routing Diagram, Cable Maps,
สํารวจและจัดทํา Raceway Layouts (ระบุตาํ แหน่ ง ชนิ ด ขนาด
รายชื่ออุปกรณ์ รายละเอียดของสายไฟฟ้ า แรงดันไฟฟ้ า ฯลฯ)
และจัดเตรียม Layout, Plot Plants, Equipment Location
ข้อมูลต่อไปนี้ Plants or Plant Maps (ระบุตาํ แหน่ งอุปกรณ์ไฟฟ้ า
และเครื่องจักรทัง้ หมด)
คู่มือการบํารุงรักษา
การติดตัง้ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 62 70B
อ้างอิง NFPA
การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบฯ
เป็ นอุปกรณ์ท่มี ีความสําคัญหรือไม่
➁ (บุคคล ทรัพย์สนิ ผลิตภัณฑ์)

ถ้ามีอปุ กรณ์สาํ รอง อาจไม่ตอ้ งทํา PM แต่ถา้


แบ่งกลุม่ และ breakdown cost สูงก็อาจต้องทํา
เรียงลําดับ
ความสําคัญของ ถ้า PM cost สูงหรือไม่สามารถลดปัญหาการสึก
อุปกรณ์ หรอได้กไ็ ม่ควรทํา PM

ถ้าอุปกรณ์จะล้าสมัยก่อนเวลาชํารุด ก็
อาจไม่ตอ้ งทํา PM
อ้างอิง NFPA 70B
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 63
การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบ
➂ จุดที่ตอ้ งตรวจสอบ แนวทางการตรวจสอบ
จัดทําวิธกี ารตรวจสอบฯ รายการ การดําเนินการ ความถี่
จุดสําคัญ และอุปกรณ์ อุณหภูมิ จดอุณหภูมอิ ากาศ นํา้ มันหม้อแปลงและขดลวด ทุกวัน
สําคัญ(Critical) ที่ตอ้ ง ระดับนํา้ มันหม้อ อ่านค่าจากเครื่องวัดระดับนํา้ มัน (สังเกตรอยแตกร้าวหรือมีไอนํา้ ทุกสัปดาห์
ตรวจสอบฯ รวมทัง้ แปลง เกาะในกระจกหรือไม่)
อุปกรณ์ท่มี ีผลต่อระบบอืน่ นํา้ มันรัว่ ซึม ตรวจตามครีบระบายความร้อน ข้อต่อวาล์ว และชิ้นส่วนอืน่ ๆ ทุกเดือน
บุชชิ่ง ตรวจรอยรัว่ ซึมของนํา้ มัน รอยแตก บิน่ และสิง่ สกปรก ทุกเดือน


กล่องสารดูด ตรวจการเปลีย่ นสีของสารดูดความชื้น (Silica gel) หากมีการ ทุก 6 เดือน
ความชื้น เปลีย่ นสี(เป็ นสีชมพู) ต้องเปลีย่ นใหม่ ตรวจคราบนํา้ มัน
จัดทําใบรายการบํารุงรักษา สภาพภายนอก สังเกตสิง่ สกปรก สนิม หยดนํา้ การเปลีย่ นสีของจุดต่าง ๆ สังเกต ทุกเดือน
ตารางเวลาการบํารุงรักษา (ได้ เสียงและแสงทีเ่ กิดจาก Partial discharge สังเกตกลิน่ ทีผ่ ดิ ปกติ
จาก...คําแนะนํ าของผูผ้ ลิต ล่อฟ้ า ตรวจสภาพทัว่ ไป รอยบิน่ แตก จด Counter ของล่อฟ้ า (ถ้ามี) หลังฝนตก
และจากความชํานาญ ฟ้ าคะนอง
นํามันหม้อแปลง วัดค่าความเป็ นฉนวนของนํามันหม้อแปลง ทุกปี
ประสบการณ์ ระดมสมอง)
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 64
การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบ
 โครงสร้างและการทํางานของอุปกรณ์
 วิธเี ฉพาะสําหรับการทํางาน (ถ้ามี)
➄  อันตรายจากไฟฟ้ าที่อาจเกิดได้จากตัวอุปกรณ์หรือการทํางาน
 การระมัดระวังเป็ นพิเศษ การใช้ PPE, การใช้อปุ กรณ์และ
เตรียมความรูใ้ ห้พนักงาน เครื่องมือฉนวน การใช้ครื่องมือทดสอบ
(วิธตี รวจสอบ Safety,  เทคนิ คและความชํานาญที่จาํ เป็ นในการแยกแยะส่วนที่มี
บุคคลที่ตดิ ต่อกรณี ไฟฟ้ าเปิ ดโล่ง
 เทคนิ คและความชํานาญที่จาํ เป็ นในการที่จะทราบระดับ
ฉุกเฉิ น) แรงดันของส่วนที่มีไฟฟ้ าเปิ ดโล่ง
 กระบวนการที่จาํ เป็ นในการหาระดับอันตรายและการขยายตัว
ของอันตราย
 การวางแผนการทํางานที่จาํ เป็ นเพือ่ ความปลอดภัย
อ้างอิง NFPA 70B
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 65
การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบ
จากใบรายการบํารุงรักษา
➅ นํ ามากําหนดแผนการใช้ทรัพยากร

จัดเตรียม
อุปกรณ์และ แรงงานที่ตอ้ งการใช้
เครื่องมือที่ตอ้ งใช้
เครื่องมือ
อะไหล่และอุปกรณ์อน่ื ๆ เช่นเครื่องป้ องกัน
ภัยส่วนบุคคล
กําหนดเป็ นงบประมาณค่าใช้จา่ ยได้
อ้างอิง NFPA 70B
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล
66
การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบ
➆ รายการ การดําเนินการ
อุณหภูมิ จดอุณหภูมิอากาศ นํามันหม้อแปลงและขดลวด
ทําการตรวจสอบ โดยใช้
Check List ระดับนํามันหม้อแปลง อ่านค่าจากเครืองวัดระดับนํามัน (สังเกตรอย
(Tank & On load tap) แตกร้าวหรือมีไอนําเกาะในกระจกหรือไม่)
นํามันรัวซึม ตรวจตามครีบระบายความร้อน ข้อต่อวาล์ว และ
➇ ชินส่วนอืน ๆ
เสียงดังผิดปกติขณะ ตรวจสอบโดยการฟั งเสียง ถ้าเกิดจากการ
สรุปผล วิเคราะห์ และ ทํางาน สันสะเทือนผิดปกติจะทราบได้จากการใช้มือสัมผัส
รายงานรวมทัง้ แก้ไข บุชชิง ตรวจรอยรัวซึมของนํามัน รอยแตก บิน และสิง
ปรับปรุง สกปรก
กล่องสารดูดความชืน ตรวจสารดูดความชืน (Silica gel) หากมีการเปลียน
สี(เป็ นสีชมพู)ต้องเปลียนใหม่ ตรวจคราบนํามัน
➈ สภาพภายนอกทัวไป สังเกตสิงสกปรก สนิม หยดนํา การเปลียนสีของ
จุดต่าง ๆสังเกตเสียงและแสงทีเกิดจาก Partial
discharge
บํารุงรักษาตามความ
จําเป็ น ตาราง อาจแยกเป็ นแบบรายวัน รายเดือน และรายปี ก็ได้
แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 67
THE END
ด้วยความปรารถนาดี
ลือ ชัย ทองนิ ล
อนุ ก รรมการทดสอบความรู ฯ้ สภาวิ ศ วกร

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 68

You might also like