You are on page 1of 56

การคานวณโหลดจุดบริการลูกค้า

ขนาดหม้อแปลง เลือกขนาดสาย
แรงดันตก จุดต่อลงดิน และ
ตาแหน่งบ่อพักสาย

นางสาวชญานิศ ตันกุล
ผู้ช่วยหัวหน้าแผนกออกแบบระบบส่งใต้ดินและใต้นา
ฝ่ายวิศวกรรม การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
▪ การคานวณโหลดจุดบริการ
▪ การคานวณขนาดหม้อแปลง
▪ การเลือกขนาดสายเคเบิลใต้ดินแรงตา
▪ การคานวณแรงดันตก
▪ การกาหนดจุดต่อลงดิน
▪ การติดตั้งบ่อพักสาย
▪ ตัวอย่างกรณีศึกษา
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
Riser Pole Low Voltage (RL)
1. Riser Pole Low Voltage (RL)
2. Service Line (SL)
3. Customer service line (CSL)
4. Meter Box (MTB)

Meter Box (MTB) Customer Service Line (CSL) Service Line (SL)
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.

1. Riser Pole Low Voltage (RL) เป็นอุปกรณ์เชือมต่อ


สายเคเบิ ล ใต้ ดิ น เข้ า กั บ สายจ าหน่ า ยของระบบเหนื อ ดิ น เดิ ม
ใช้เสาสูง 9.00 เมตร ติดตั้งบริเวณ จุดเริมต้น/จุดสิ้นสุดโครงการ
และจุดจ่ายไฟแรงตาเข้าไปภายในซอย
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
2. Service Line (SL) เป็นอุปกรณ์สาหรับเชือมต่อระบบเคเบิลใต้ดินเข้ากับบ้านแต่ละหลัง
หรืออาคารพาณิชย์ โดยจะเชือมเข้ากับจุดรับไฟ หรือเมนชายคาเดิม

SL

ระบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
2. Service Line (SL)
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
2. Service Line (SL)
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
3. Customer Service Line (CSL) เป็นอุปกรณ์จ่ายไฟแรงตาให้กับผู้ใช้ไฟเฉพาะรายระบบ 22 เควี
เดิมทีมีการติดตั้งหม้อแปลงขนาดไม่เกิน 250 kVA ติดตั้งอยู่ในทีสาธารณะและไม่สามารถย้ายเข้าไปอยู่ ในที
ของผู้ใช้ไฟเองได้ โดยจะทาการเปลียนมารับไฟจากหม้อแปลงของ กฟภ. แทน

ชุดหม้อแปลงผู้ใช้ไฟเดิม ก่อนติดตั้งชุด หลังติดตั้งชุด Customer


Customer Service Line Service Line
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
3. Customer Service Line (CSL)
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
3. Customer Service Line (CSL)

ชุดหม้อแปลงผู้ใช้ไฟเดิม ก่อนติดตั้งชุด หลังติดตั้งชุด Customer Service Line


Customer Service Line
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
4. Meter Box (MTB) เป็นอุปกรณ์สาหรับใส่มิเตอร์ จะนามาใช้ในกรณีทีมีมิเตอร์ไฟสาธารณะ
หรือมิเตอร์แขวนบนเสาและไม่สามารถย้ายมิเตอร์ไปติดตั้งหน้าบ้านผู้ใช้ไฟได้ เนืองจากตาแหน่งการวาง
ตู้มิเตอร์จะต้องไม่ห่างจากตาแหน่งบ้านเจ้าของมิเตอร์มากนัก จึงแนะนาให้วางอยู่ระหว่างบ้านหรือ
อาคารทีเป็นเจ้าของมิเตอร์
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
4. Meter Box (MTB)

ตู้ METER 3 เฟส 4 สาย 220V - 380V 1-2 เครือง ติดตั้งใช้งานทีพัทยา


บ่อพักสายของตู้มิเตอร์ยืนไปด้านข้าง/ด้านหน้า
จุดบริการผู้ใช้ไฟ (Customer Service Point) ระบบแรงตา
แบบเคเบิลใต้ดินของ กฟภ.
4. Meter Box (MTB)

ตู้ METER 1 เฟส 220V 3-4 เครือง ติดตั้งใช้งานทีพัทยา


บ่อพักสายของตู้มิเตอร์ยืนไปด้านข้าง/ด้านหน้า
การคานวณโหลดจุดบริการ
การคานวณโหลดจุดบริการแรงตา

เพือหาขนาดของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ขนาดหม้อแปลง


สายเคเบิล และอุปกรณ์ป้องกัน โดยใช้ข้อมูลจากมิเตอร์
หม้อแปลง และวงจรจ่ายไฟ ในการประเมินโหลดจุดบริการ
ผู้ใช้ไฟแรงตา (Customer Service Point)
การพิจารณาข้อมูลโหลดติดตังเดิม (Existing Load)

❖ ข้อมูลมิเตอร์ – ขนาด, จานวน


❖ วงจรจ่ายไฟ
❖ ข้อมูลหม้อแปลง – ขนาด, โหลดสูงสุด (Peak Load)
ขนาดมิเตอร์ของ กฟภ. ทีมีใช้งานอยู่ในปัจจุบัน

ประเภท 1 Phase 3 Phase


(A) (A)
จานหมุน 5(15) -
15(45) 15(45)
30(100) 30(100)
อิเล็กทรอนิกส์ 5(100) 5(100)
- 200
การหาขนาดโหลดประเมิน
1. คานวณหาค่า Co-Incident Factor (CIF) จากโหลดติดตั้งเดิม เพือใช้
เป็นตัวแทนในการหาขนาดโหลดทีประเมินได้ (Load Estimation)
S1Ø = VL-N IL-N = (230)(1365) = 313.95 kVA
S3Ø = 3VL-L IL-L = 3(400)(425) = 294.45 kVA
STotal = S1Ø + S3Ø = 608.40 kVA

Speakload 250 x 0.70


CIF = = = 0.288
Stotal 608.40
การหาขนาดโหลดประเมิน
2. คานวณหาขนาดโหลดทีประเมิน โดย CIF x ขนาดโหลดติดตั้งของ
เครืองวัดหน่วยไฟฟ้าในแต่ละจุดบริการผู้ใช้ไฟ
การหาขนาดโหลดประเมิน
กรณี Customer Service Line (CSL)

80% ของพิกัดหม้อแปลง
การคานวณขนาดหม้อแปลง
ขนาดหม้อแปลงของ กฟภ. ทีมีใช้งานอยู่ในปัจจุบัน

หม้อแปลงแขวน ขนาด 30, 50, 100, 160, 250 kVA

หม้อแปลงนังร้าน ขนาด 250, 315, 500, 1000 kVA


หม้อแปลงไฟฟ้า

Transformer (TR) Compact Unit Substation (CS)


ขนาด 30, 50, 100, 160, 250, ขนาด 500, 1000 kVA
315, 500, 1000 kVA
รูปแบบการติดตังหม้อแปลงไฟฟ้า

1. การติดตัง Riser Pole และหม้อแปลงนังร้าน


ระบบแรงสูง

Main Line

Customer Line
ระบบแรงตา ระบบแรงตา

ระบบแรงสูง Main Line


Customer Line

ระบบแรงตา
รูปแบบการติดตังหม้อแปลงไฟฟ้า
2. การติดตัง Compact Unit Substation
Customer Line Customer Line
Main Line Main Line

ระบบแรงตา ระบบแรงสูง
หม้อแปลงภายใน
Unit Substation

Customer Line Customer Line


Main Line Main Line
ระบบแรงตา
ระบบแรงสูง
รูปแบบการติดตังหม้อแปลงไฟฟ้า
2. การติดตัง Compact Unit Substation

ระบบแรงตา

ระบบแรงสูง
การคานวณขนาดหม้อแปลง

รูปแบบการจ่ายไฟในระบบแรงตา แบบเคเบิลใต้ดิน ของ กฟภ. เป็นระบบ


เรเดียลแบบมีตู้ Tie Line (Radial system with Distribution Box)

ในสภาวะฉุกเฉินสามารถจ่ายไฟชดเชย Feeder อืนได้


การคานวณขนาดหม้อแปลง
เมือทาการรวมโหลดประเมินทีคานวณได้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการหาขนาดพิกัดหม้อแปลง
โดยหม้อแปลง แต่ละเครืองควรจ่ายโหลดไม่เกิน 60% เพือรองรับการถ่ายเทโหลดกรณีฉุกเฉิน
Total Load = SL1 + SL2 + SL3 + SL4
= 66.56 + 35.64 + 57.05 + 49.91 = 200.77 kVA
- คานวณหาขนาดหม้อแปลง = 200.77/0.6 = 334.62 kVA
- เลือกหม้อแปลง ขนาด 500 kVA
ในสภาวะฉุกเฉิน กรณีมีการ Tie Load
Total Load + Load Tie 1 = 200.77 + 85 = 285.77 kVA
Total Load + Load Tie 2 = 200.77 + 95 = 295.77 kVA
Load Tie 2
95 kVA

66.56 kVA 35.64 kVA 57.05 kVA 49.91 kVA


Load Tie 1
85 kVA
การเลือกขนาดสาย
30

สายเคเบิลใต้ดินแรงสูง
ใช้สายเคเบิลชนิดทองแดงหุ้มฉนวน XLPE แรงดัน 12/20(24) kV 1 แกน หรือ 18/30(36) kV 1 แกน
31

พิกัดกระแสใช้งานของสายเคเบิลใต้ดินแรงสูง
สายไฟ, CU, ขนาด 50 ตร.มม. หุ้มฉนวน XLPE 22 kV และ 33 kV จานวน 1 วงจร ก่อสร้างโดยวิธี HDD
32

พิกัดกระแสใช้งานของสายเคเบิลใต้ดินแรงสูง
สายไฟ, CU, ขนาด 240 ตร.มม. หุ้มฉนวน XLPE 22 kV และ 33 kV จานวน 2 วงจร ก่อสร้างโดยวิธี HDD
พิกัดกระแสใช้งานของสายเคเบิลใต้ดินแรงสูง
ตัวอย่าง การคานวณพิกัดการนากระแสของสาย 50 ต.มม. 1 วงจร และสาย 240 ต.มม. 2 วงจร
ก่อสร้างวิธีเจาะในแนวราบ (HDD) ด้วยโปรแกรม CYMCAP (Cable Ampacity Software)

เงือนไข : Ambient Temperature 35ºC


Load Factor 0.9
Soil thermal 0.8 C.m/W

สาย 50 ตร.มม.
140A @90.0ºC

สาย 240 ตร.มม. สาย 240 ตร.มม.


350A @90.0ºC 350A @90.0ºC
พิกัดกระแสใช้งานของสายเคเบิลใต้ดินแรงสูง
ตัวอย่าง การคานวณพิกัดการนากระแสของสาย 50 ต.มม. 1 วงจร และสาย 240 ต.มม. 2 วงจร
ก่อสร้างวิธีเจาะในแนวราบ (HDD) ด้วยโปรแกรม CYMCAP (Cable Ampacity Software)

เงือนไข : Ambient Temperature 35ºC


Load Factor 0.9
Soil thermal 1.2 C.m/W

สาย 50 ตร.มม.
113A @86.2ºC

สาย 240 ตร.มม. สาย 240 ตร.มม.


308A @90.0ºC 308A @90.0ºC
35

สายเคเบิลใต้ดินแรงตา
ใช้สายเคเบิลทองแดงหุ้มฉนวน XLPE แรงดัน 0.6/1 kV (CV) IEC 60502-1
(สเปคเลขที RCBL-043/2554)
36

พิกัดกระแสใช้งานของสายเคเบิลใต้ดินแรงตา
37

พิกัดกระแสใช้งานของสายเคเบิลใต้ดินแรงตา
กรณีจ่ายไฟ 1 Feeder

500 kVA 500 kVA


(310 kVA) (278 kVA)
(380 kVA) (428 kVA)

80 kVA 80 kVA 80 kVA 40 kVA 30 kVA 30 kVA 40 kVA 128 kVA 80 kVA

Capacity 322 A / Feeder

▪ จ่ายโหลดไม่เกิน 111.5 kVA [161 A] ในสภาวะปกติ


▪ จ่ายโหลดไม่เกิน 223 kVA [322 A] ในสภาวะฉุกเฉิน
38

พิกัดกระแสใช้งานของสายเคเบิลใต้ดินแรงตา
กรณีจ่ายไฟ 2 Feeder

500 kVA 500 kVA


(264 kVA) (260 kVA)
(464 kVA) (454 kVA)

40 kVA 30 kVA 32 kVA 40 kVA 25 kVA 80 kVA 20 kVA 30 kVA 30 kVA

Capacity 286 A / 2 Feeder

▪ จ่ายโหลดไม่เกิน 99 kVA [143 A] ในสภาวะปกติ


▪ จ่ายโหลดไม่เกิน 198 kVA [286 A] ในสภาวะฉุกเฉิน
39

พิกัดกระแสใช้งานของสายเคเบิลใต้ดินแรงตา
กรณีจ่ายไฟ 3 Feeder

1000 kVA 1000 kVA


(415 kVA) (400 kVA)
(700 kVA) (655 kVA)

80 kVA 80 kVA 25 kVA 35 kVA 25 kVA 80 kVA 15 kVA 35 kVA 80 kVA

Capacity 260 A / 3 Feeder

▪ จ่ายโหลดไม่เกิน 90 kVA [130 A] ในสภาวะปกติ


▪ จ่ายโหลดไม่เกิน 180 kVA [260 A] ในสภาวะฉุกเฉิน
40

แรงดันตกของสายเคเบิลใต้ดินแรงตา

แรงดันตก คือ แรงดันไฟฟ้าทีสูญเสียไปในสายไฟฟ้าระหว่างทางทีกระแสไหล

VD = 3 x I (Rcosθ + Xsinθ) x L

VD
%VD = x 100
400

VD = Voltage Drop
%VD = % Voltage Drop
R = Resistance
X = Impedance
PF = 0.85
L = Length of Cable
แรงดันตกของสายเคเบิลใต้ดินแรงตา

R = 0.000126339 ohms/phase/m
X = 0.000076823 ohms/phase/m
PF = cos θ = 0.85
θ = Arccos (0.85) = 31.788º
L = 250 m.
I = 322 A (1 Feeder 185CV)

VD = 3 x I (Rcosθ + X sinθ) x L
= 3 x 322 [ 0.000126339 cos(31.788) + 0.000076823 sin(31.788) ] x 250
VD = 20.62 V
VD
%VD = x 100
400

20.62
%VD = x 100 = 5.15 %
400
42

แรงดันตกของสายเคเบิลใต้ดินแรงตา
ตามมาตรฐาน กฟภ. กาหนดให้ % แรงดันตกในสายจากหม้อแปลงถึงมิเตอร์ ไม่เกิน 8%

322A / 1Feeder
286A / 2 Feeder

260A / 3 Feeder

380 m. 420 m. 460 m.


จุดต่อลงดินระบบ 22, 33 เควี

การต่อลงดินทัง 2 ปลาย
(Both End Bonding)
สาหรับระยะทางไม่เกิน 500 เมตร

การต่อลงดินแบบหลายจุด
(Multi-Points Bonding)
สาหรับระยะทางเกิน 500 เมตร
บ่อพักสายแรงตา
❖ Handhole (HH) บ่อพักสายแรงตา

แบบ HH-1
• ใช้ในพื้นทีรับโหลดไม่เกิน 18 ตัน
• ขนาดท่อสูงสุด 110 mm
• ขนาดสายแรงตา 400/230 V สูงสุด 185 mm2

แบบ HH-2
• ใช้ในพื้นทีรับโหลดไม่เกิน 4 ตัน
• ขนาดท่อสูงสุด 110 mm
• ขนาดสายแรงตา 400/230 V สูงสุด 185 mm2
บ่อพักสายแรงตา
❖ Handhole (HH) บ่อพักสายแรงตา
บ่อพักสายแรงตา
❖ Handhole (HH) บ่อพักสายแรงตา
ปัจจุบัน บ่อ Handhole 1 บ่อ สามารถเชือมต่อจุด Service Line ได้ 2 จุด

ชุดต่อสายแรงตาแบบ Y-Tap ติดตั้งในบ่อ Handhole (HH)


บ่อพักสายแรงสูง
❖Manhole (MH) บ่อพักสายแรงสูง
ตาแหน่งการติดตั้งบ่อพักสาย เราจะพิจารณาจาก 3 กรณี ดังนี้
1. การเลี้ยวเข้าไปจ่ายโหลดให้ผู้ใช้ไฟ
2. การพิจารณาแรงดึงแล้วจาเป็นต้องต่อสาย
3. การพิจารณาค่า Grounding
บ่อพักสายแรงสูง
❖ Manhole (MH) บ่อพักสายแรงสูง
โดยบ่อพักสายควรอยู่ห่างกัน ไม่เกิน 250 เมตร แต่สาหรับงานเคเบิลใต้ดินเมืองใหญ่นั้น
ควรจะมีระยะบ่อไม่เกิน 150 เมตร เพืออนาคต ถ้ามีผู้ใช้ไฟรายใหม่เกิดขึ้นจะได้ไม่ต้องไปต่อสายที
ระยะทางไกลซึงจะทาให้ค่าก่อสร้างทีจะเกิดขึ้นในอนาคตสูง และมีความยุ่งยากในการดาเนินการ
ตัวอย่างกรณีศึกษา
ตัวอย่างกรณีศึกษา
ตัวอย่างกรณีศึกษา
Single Line Diagram แรงตา
ตัวอย่างกรณีศึกษา
Single Line Diagram แรงตา
TR1 TR2
รวม LOAD แต่ ละ Feeder รวม LOAD แต่ ละ Feeder

DB LOAD LOAD DB LOAD

Handhole

LOAD ประกอบด้วย
- MTB - CSL
- SL - RL
- Supply for RMU
ขนาดโหลด (LOAD) สามารถหาได้จากการคานวณในการคานวณโหลดจุดบริ การ
ตัวอย่างกรณีศึกษา
Single Line Diagram แรงสูง
ตัวอย่างกรณีศึกษา
Single Line Diagram แรงสูง

Riser จ่ายให้ผใู ้ ช้ไฟ


Riser เชื่อมต่อระบบ OH Compact Unit Substation
RMU

Manhole
จุดต่อสาย (ไม่ต่อลงดิน) จุดต่อสายและ
ขนาดสายไฟ
ต่อลงดิน
ตัวอย่างกรณีศึกษา
Single Line Diagram แรงสูง
RMU+TR on Pole
Riser เชื่อมต่อระบบ OH (PEA)

RMU

ไปเชื่อมกับงาน UG LOT อื่นๆ


Q&A

You might also like