You are on page 1of 9

การพัฒนาวงจรสวิตชิ่งสาหรับแหล่ งจ่ ายไฟฟ้า ความถี่สูง แรงดันสูง กระแสสลับ

The Development of Switching Circuit for High Frequency-High Voltage Source


มณเทียร ผ่ องแผ้ ว¹ ศุภกิตติ์ โชติโก¹ และ บุญเหนือ พึง่ ศิริ¹
Montian Pongpaew¹, Supakit Chotigo¹ and Boonnua Pungsiri¹

บทคัดย่ อ
บทความฉบับนี ้นาเสนอการพัฒนาแหล่งจ่ายไฟฟ้า ความถี่สงู แรงดันสูง กระแสสลับ หรื อ หม้ อแปลง
เทสลา (Tesla Transformer) โดยใช้ อปุ กรณ์ (Solid State) เข้ ามาประยุกต์ใช้ ในการสร้ างและใช้ เพาเวอร์
อิเล็กทรอนิกส์ ควบคุมและสร้ างความถี่สงู เพื่อทดแทนหม้ อแปลงแรงดันสูงความถี่สงู แบบดังเดิ ้ มและลดขนาด
ของหม้ อแปลงให้ มีขนาดเล็กลงน ้าหนักเบาและเคลื่อนย้ ายได้ สะดวกใช้ กับพื ้นที่จากัดได้ ส่งผลให้ สามารถนาไป
พัฒนาให้ สามารถทดสอบหน้ างานได้ จากผลการทดสอบพบว่ามีความถี่สงู สุดที่ 151.5 kHz และ แรงดันเอาต์พตุ
140.0 kVP สาหรั บการออกแบบและสร้ างหม้ อแปลงเทสลา (Tesla Transformer) จะใช้ วงจร ฟูลบริ ดจ์
อินเวอร์ เตอร์ เป็ นวงจรกาลังทางด้ านเอาต์พตุ ของสวิตชิ่งและในส่วนของวงจรควบคุมใช้ ไอซีสาเร็ จรูปเป็ นอุปกรณ์
สร้ างความถี่และใช้ ในการควบคุมการสวิตช์ของอุปกรณ์กาลังซึ่งงานวิจยั ฉบับนี ้ใช้ ไอจีบีที (IGBT) เป็ นอุปกรณ์
กาลัง ซึง่ ผลจากการสร้ างพบว่าหม้ อแปลงเทสลาที่ได้ จดั ทาขึ ้นมาใหม่โดยใช้ อิเล็กทรอนิกส์กาลังมีราคาถูก ขนาด
เล็ ก ลง น า้ หนัก เบา สามารถเคลื่ อ นย้ า ยได้ ส ะดวกและยัง สามารถปรั บ ความถี่ ที่ ท าให้ เ กิ ด การเรโซแนนท์
(Resonance) ตามขนาดลูกถ้ วยไฟฟ้าที่ใช้ ทดสอบ

ABSTRACT
This paper proposed the development of high frequency-high voltage source called as Tesla
transformer by applying solid state equipment in the construction. Power electronics circuit was used
to control and construct high frequency as a replacement of the old Tesla transformer. This meant
that the size and weight of the transformer were smaller and lighter. Also, it was easier to move the
transformer or use it in limited area. This indicated that the constructed Tesla transformer could be
used on-site. The test results shown the highest frequency at 151.5 kHz and the output voltage at
140.0 kVP. .The design and construction in this present work used full-bridge inverter as power circuit
at the output side of the switching circuit. For the control circuit, the commercial IC was used to
construct the frequency and control the switching of power equipment, IGBT. From result, it found
that the constructed Tesla transformer using power electronics was cheaper, smaller and movable.
Furthermore, the resonant frequency could be adjusted up to the size of the test insulator.

Keyword: Tesla Transformer, High Frequency Transformer, Air Core Transformer, Resonance
e-mail address: montian_05@hotmail.com
¹ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี กรุงเทพฯ 10140
¹Department of Electrical Engineering, Faculty of Engineering, King Mongkut's University of
Technology Thonburi, Bangkok 10140
คานา
ลูกถ้ วยไฟฟ้าเป็ นสิ่งสาคัญมากในระบบไฟฟ้า เนื่องจากจะเป็ นตัวป้องกันการเกิดการลัดวงจรและการ
เกิดปั ญหาไฟดับ ดังนัน้ หากต้ องการให้ ระบบไฟฟ้ามีความน่าเชื่อถือสูง จึงจาเป็ นต้ องใช้ ฉนวนที่ดี และควรมีการ
ทดสอบก่อนนาไปใช้ งาน วิธีการหนึ่งที่ใช้ เป็ นมาตรฐานการทดสอบลูกถ้ วยฉนวนไฟฟ้าพอร์ ซเลนจะใช้ หม้ อแปลง
เทสลาเป็ นตัวจ่ายแรงดันสูงความถี่สงู สาหรับทดสอบลูกถ้ วยทุกลูกที่ผลิตขึ ้นในโรงงาน เพื่อตรวจสอบคุณภาพ
ขัน้ ต้ น ก่ อ นว่า ลูก ถ้ วยไม่ มี ความบกพร่ อ งภายในเนื อ้ พอร์ ช เลน โดยก าหนดให้ เกิ ดวาบไฟบนผิวลูก ถ้ ว ยตาม
มาตรฐานกาหนด (ANSI C29.1-1982) และโดยทัว่ ไปการทดสอบจะใช้ ความถี่อยู่ในช่วง 100 kHz ถึง 250 kHz
(B.Pungsiri and S.Chotigo , 2008) การใช้ ความถี่สงู ทดสอบจะช่วยให้ สามารถสังเกตเห็นการเกิดวาบไฟตาม
ผิวได้ ง่ายและชัดเจน และความร้ อนจากความถี่สงู จะช่วยให้ เกิดการเจาะทะลุได้ ง่าย(สารวย , 2532) หากลูกถ้ วย
พอร์ ชเลนมีความบกพร่ องภายในโรงงานผลิตลูกถ้ วยฉนวนพอร์ ชเลนจึงต้ องมีหม้ อแปลงเทสลาไว้ สาหรับทดสอบ
ลูก ถ้ ว ยที่ ผ ลิต ขึน้ การไฟฟ้ าต่า งๆ ก็ อ าจใช้ ห ม้ อ แปลงเทสลาส าหรั บ ทดสอบลูก ถ้ ว ยก่ อ นน าไปใช้ ง าน หรื อ
ตรวจสอบคุณภาพหลังจากลูกถ้ วยได้ ใช้ มาแล้ วระยะหนึ่ง แต่เนื่องจากหม้ อแปลงเทสลาแบบดังเดิ ้ มที่ใช้ ทางกล
นัน้ มีปัญหาในเรื่ องขนาดใหญ่ น ้าหนักมากและมีราคาแพง ส่งผลให้ เคลื่อนย้ ายได้ ลาบากจึงทาให้ ทดสอบลูก
ถ้ วยไฟฟ้าได้ เฉพาะบริ เวณนัน้ ไม่สามารถนาไปทดสอบหน้ างานได้
ด้ วยเหตุนี ้ จึงนาไปสู่การแก้ ปัญหาของหม้ อแปลงเทสลาแบบดังเดิ ้ ม ผ่านการศึกษาวิจยั ที่ได้ พฒ
ั นาและ
สร้ างหม้ อแปลงเทสลาขึน้ มาใหม่ โดยใช้ อุปกรณ์ ทางด้ านอิเล็กทรอนิ กส์ กาลัง (Power Electronics) มา
ประยุกต์ใช้ เพื่อสร้ างและแก้ ปัญหาหม้ อแปลงเทสลาแบบดังเดิ
้ ม โดยใช้ ไอซีสาเร็ จรู ปเป็ นอุปกรณ์ ในการสร้ าง
ความถี่และสามารถควบคุมความถี่ เพื่อให้ ได้ ความถี่ที่ทาให้ เกิดการเรโซแนนท์ (Resonance) กับลูกถ้ วยไฟฟ้าที่
ใช้ ทดสอบ ทังยั
้ งมีขนาดเล็กและน ้าหนักเบา สามารถเคลื่อนย้ ายได้ สะดวกและยังสามารถพัฒนานาไปใช้ ทดสอบ
หน้ างานได้

ทฤษฎีและแนวคิด
วงจรและส่ วนประกอบของหม้ อแปลงเทสลาแบบดัง้ เดิม

หม้ อแปลงแรงดันสูงความถี่สงู จัดได้ ว่าเป็ นหม้ อแปลงที่เป็ นชนิดพิเศษโดยที่แกนของตัวหม้ อแปลงจะใช้


เป็ นแกนอากาศ ขดปฐมภูมิ (Primary) และขดทุตยิ ภูมิ (Secondary) จะติดตังอยู
้ ใ่ นแกนร่วมกัน แรงดันของหม้ อ
แปลงจะไม่ ขึน้ อยู่กับ อัตราส่ว นของรอบในขดปฐมภูมิ แ ละขดทุติย ภูมิ แ ต่จ ะเพิ่ ม ขึน้ โดยอาศัย ใช้ เรโซแนนท์
(Resonance) ระหว่างขดปฐมภูมิกับขดทุติยภูมิ (กนกพล , 2544) โดยที่ขดลวดทุติยภูมิจะกระทาเป็ นตัวรับ
พลังงานจากขดปฐมภูมิ ที่ความถี่เรโซแนนท์ (Resonance Frequency) จะเป็ นผลทาให้ เกิดแรงดันเพิ่มขึ ้นอย่าง
มากมาย
Z1

QG U1 U2 SG
C2
AC
AC C1
L1 L2

Figure 1 The circuit of the old - fashioned Tesla transformer

AC คือ แหล่งจ่ายพลังงานกระแสสลับ
C1 คือ ตัวเก็บประจุทางด้ านแรงต่า
C2 คือ ตัวเก็บประจุทางด้ านแรงสูง (ลูกถ้ วย)
L1 คือ ขดลวดทางด้ านแรงต่า (Primary coil)
L2 คือ ขดลวดทางด้ านแรงสูง (Secondary coil)
Z1 คือ อิมพีแดนซ์จากัดกระแสอัดประจุ
QG คือ ตัวสปาร์ กแกป

จากรู ปวงจร หม้ อแปลงเทสลาแบบดังเดิ


้ มจะเห็นได้ ว่า แหล่งจ่ายกาลังกระแสสลับ AC ป้อนแรงดัน
ประมาณ 10-15 kV ให้ กบั ตัวเก็บประจุ C1 ผ่านความต้ านทาน Z1 ทาหน้ าที่จากัดกระแสอัดประจุ (Charging
Current) ให้ แก่ C1 เมื่ออัดประจุให้ C1 จนได้ แรงดันตามที่ต้องการ ซึ่งจากัดด้ วยระยะห่างของสปาร์ ก แกปดับ
อาร์ ก QG (Quenching Gap) เป็ นตัวกาหนดแรงดันที่จะป้อนให้ กบั ขดลวดแรงต่า L1 ของหม้ อแปลงเทสลา
(Tesla Transformer) นอกจากนันแล้
้ ว QG ยังทาหน้ าที่ตดั อาร์ กหรื อสปาร์ กด้ วย เมื่อเกิดสปาร์ กที่ QG พลังงาน
ที่เก็บไว้ ใน C1 ในรูปสนามไฟฟ้า ก็จะถ่ายเทให้ กบั ขดลวด L1 และ L1 จะเก็บพลังงานไว้ ในรูปสนามแม่เหล็ก L1 ก็
จะถ่ายทอดพลังงานกลับไปให้ C1 ใหม่ ถ่ายทอดกลับไปกลับมาระหว่าง C1 และ L1 จึงทาให้ เกิดออสซิลเลชั่น
ความถี่สงู ทางด้ านแรงต่าจะมีรูปคลื่นเป็ นขบวนหน่วง (Damped Train Wave) (สารวย, 2549) ซึง่ แสดงให้ เห็น
ดังสมการ ที่ 1

1
f  (1)
2 LC

เมื่อเกิดการออสซิลเลชัน่ ด้ านแรงดันต่าก็จะทาให้ เกิดการเหนี่ยวนากับวงจรด้ านแรงสูง L2 , C2 ถ้ าปรับ


ให้ C1L1= L2C2 จะได้ คา่ ความถี่ทงสองด้
ั้ านมีคา่ เท่ากัน ซึง่ จะได้ สมการที่ 2 คือ

1 1
f1 = f2 = = (2)
2 L1C1 2 L2 C 2

ซึง่ ในสภาวะดังกล่าวนี ้เองจะถือว่าอยูใ่ นสภาวะเรโซแนนซ์


วงจรและส่ วนประกอบของแหล่ งจ่ ายไฟฟ้าความถี่สูงแรงดันสูงแบบสวิตชิ่ง

C1 C2
0-220 Vac Bridge Full Bridge
50Hz Rectifier L1 L2
Inverter
1
f 
2 LC
Control
Circuit

Figure 2 Block diagram of high voltage- high frequency switching source

จาก Figure 2 แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ 0-220 Vac จ่ายแรงดันไฟฟ้าให้ วงจรเร็ กติไฟเออร์ ซงึ่ วงจรเร็ ก
ติไฟเออร์ ประกอบด้ วยอุปกรณ์สาคัญ 2 ส่วนคือตัวเก็บประจุฟิลเตอร์ C และไดโอดเร็ กติไฟเออร์ D1 – D4 ดังแสดง
ใน Figure 3 หน้ าที่หลักของวงจร คือ เปลี่ยนแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเป็ นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงเพื่อจ่ายแรงดัน
อินพุทให้ กบั วงจรอินเวอร์ เตอร์ แสดงใน Figure 3 ส่วนตัวเก็บประจุฟิลเตอร์ จะเป็ นตัวกรองแรงดันไฟตรงที่ได้ จาก
การเรี ยงกระแสของไดโอด D1 – D4 ให้ มีคา่ เรี ยบมากขึ ้น ส่วนการควบคุมการสวิตช์ในงานวิจยั นี ้ใช้ การควบคุมการ
สวิตช์ แบบพีดบั เบิลยูเอ็ม (PWM) คือสร้ างสัญญาณแรงดันเป็ นรู ปคลื่นไซน์ นามาเปรี ยบเทียบกับรู ปคลื่น
สามเหลี่ยม (วีระเชษฐ์ และ วุฒิพล , 2551)

การสวิตช์แบบพีดบั เบิลยูเอ็มแบ่งออกเป็ น 2 แบบคือแบบไบโพลาห์ และแบบยูนิโพลาห์ ในงานวิจยั นี ้จะ


กล่าวถึงการสวิตช์แบบไบโพลาห์คือการควบคุมให้ สวิตช์แบบฟูลบริ ดจ์ทางานพร้ อมกัน เป็ นคู่ดงั แสดงใน Figure
3 ซึง่ สวิตช์ Q1 ทางานร่ วมกับ Q4 และ สวิตช์ Q2 ทางานร่ วมกับ Q3 เมื่อสัญญาณควบคุมรู ปไซน์มีคา่ เท่ากับ
แรงดันไฟตรงของแหล่งจ่ายแต่ถ้าสัญญาณควบคุมรูปคลื่นไซน์มีคา่ น้ อยกว่าสัญญาณรูปคลื่นสามเหลี่ยม สวิตช์
Q2 และ Q3 จะนากระแส ขนาดค่ายอดของแรงดันขาออกที่ได้ มีค่าเท่ากับไฟตรงของแหล่งจ่ายภาพการสวิตช์
แรงดันแบบไบโพลาห์และรูปสัญญาณแรงดันที่ได้ แสดงใน Figure 4

D1 D2
Q1 Q3
. + .
AC
.D
-
. AC

D3 4

Q2 Q4

. .

Figure 3 bridge rectifier and Full-bridge inverter circuit


Vgs(Q1,Q4) ON OFF

Vgs(Q2,Q3)

+Vin
Vo 0

-Vin

Figure 4 A single – phase inverter gating signals and output voltage

2
3

Figure 5 The constructed high voltage- high frequency switching source

(1) Bridge rectifier (2) Control circuit (3) Full bridge inverter (4) Tesla transformer

อุปกรณ์ การทดสอบ

(a) (b)
Figure 6 (a) Oscilloscope (b) HV probe
ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง

Figure 7 The output voltage Figure 8 The output voltage


L1 = 10 turns f1 = 100 kHz L1 = 9 turns, f1 = 119 kHz
Figure 9 The output voltage Figure 10 The output voltage
L1 = 8 turns, f1 = 125 kHz L1 = 7 turns, f1 = 131.5 kHz

Figure 11 The output voltage Figure 12 The output voltage


L1 = 6 turns, f1 = 151.5kHz Measured by sphere gap with d = 6 cm

จาก Figure 7 - Figure 11 สามารถคานวณหาค่าการเหนี่ยวนาของขดลวดปฐมภูมิได้ จากการวัดรู ป


คลื่นไฟฟ้าของขดลวดปฐมภูมิอยูใ่ นช่วง 6-10 รอบ การคานวณแสดงได้ ดงั นี ้
ตัวอย่าง จาก Figure 11 เมื่อ N = 6 รอบ , C1 = 50 nF , f1 = 100 kHz
1
f1 =
2 L1C1
L1 = = = = 22.07 µH

Table 1 The oscillating freguency of tesla transformer at various turns of primary winding

Number of Low Voltage Winding Frequency (kHz) Primary Inductance,


(Turns) L1(µH)
6 151.5 22.07
7 131.5 29.29
8 125 32.42
9 119 35.77
10 100 50.66

จาก Figure 12 แสดงการวัดแรงดันสูงสุดด้ านขาออกโดยใช้ แกปทรงกลมขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางของทรงกลม


12.5 cm ที่ระยะแกปของทรงกลม 6 cm โดยอ้ างตามมาตรฐานสากล (IEC 60052) สามารถหาค่าแรงดันที่ทาให้
เกิดสปาร์ กของแกปทรงกลมนันได้
้ ตามสมการที่ 3

Ub = Ubn×Kb×Kh (3)
เมื่อ
Ubn คือ ค่าแรงดันเบรกดาวน์ที่สภาวะมาตรฐาน
Kd คือ ตัวประกอบแปลงผันความหนาแน่นของอากาศ
Kh คือ ตัวประกอบแปลงผันความชื ้น
โดยที่ Kd คานวณได้ จากสมการที่ 4

Kd = (4)

โดยที่ b คือ ความดันของอากาศอ่านจากบาโรมิเตอร์ เป็ น kPa หรื อ bar


t คือ อุณหภูมิของห้ องในขณะที่วดั ºc

โดยที่ Kh คานวณได้ จากสมการที่ 5


Kh = 1+[0.002 (h/Kd - 8.5)] (5)

โดยที่ h คือ ความชื ้นสัมบูรณ์เป็ น g/m สามารถอ่านได้ จากกราฟความชื ้นสัมบูรณ์ของอากาศในเทอมของ


อุณหภูมิเทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะแห้ งและเปี ยกของ Psychrometer

จากสมการที่ 4 สามารถหา Kd ได้ จาก

Kd = = 0.959

จากสมการที่ 5 สามารถหา Kh ได้ จาก

Kh = 1+[0.002 (28.529/0.959 - 8.5)] = 1.042


ดังนันแรงดั
้ นเบรกดาวน์ที่สปาร์ กแกปมีคา่
Ub = 146×0.959×1.042
= 145.96 kVp

160
140
Frequency (kHz)
120
100
80
60
40
20
0
6 7 8 9 10
Number of Low voltage winding (Turns)

Figure 13 Relationship between the frequency and the turn number of low voltage coil L1

จาก Figure 13 จะแสดงให้ เห็นความสัมพันธ์ระหว่างจานวนรอบของขดลวดแรงต่า L1 และความถี่ เมื่อ


ทาการลดจานวนรอบของขดลวดแรงต่า L1 ลงจะทาให้ คา่ ความเหนี่ยวนาลดลงทาให้ คา่ ความถี่เพิ่มขึ ้น

Figure 14 Surface flashover of test insulators


สรุ ป
1. แหล่งจ่ายไฟฟ้าความถี่สงู แรงดันสูงที่ใช้ หลักการสวิตชิ่งสามารถทดสอบการวาบไฟของลูกถ้ วยได้ และมี
ความถี่สงู สุดที่ 151.5 kHz และ แรงดันเอาต์พตุ 140.0 kVP
2. แหล่งจ่ายไฟฟ้าความถี่สงู แรงดันสูงที่ใช้ หลักการสวิตชิ่งสามารถปรับความถี่เพื่อให้ ได้ ความถี่ที่ทาให้ เกิด
การเรโซแนนท์ (Resonance) กับลูกถ้ วยไฟฟ้าที่ใช้ ทดสอบได้
3. เมื่อลดจานวนรอบของขดลวดทางด้ านแรงต่า L1 จะทาให้ ความถี่ มีค่าเพิ่มขึ ้นเนื่องจาก ค่าความ
เหนี่ยวนาลดลงตาม
4. ขนาดของแหล่งจ่ายไฟฟ้าความถี่สงู แรงดันสูงที่ใช้ หลักการสวิตชิ่งมีขนาดเล็กลง ราคาถูก และสามารถ
เคลื่อนย้ ายได้ สะดวก
เอกสารอ้ างอิง
Test Methods for Electrical Power Insulations, ANSI C29.1-1982.

B.Pungsiri and S.Chotigo. 2008. International Conference on Condition Monitoring and Diagnosis
Beijing China.

สารวย สังข์สะอาด. หม้ อแปลงเทสลาสาหรั บทดสอบลูกถ้ วยพอร์ ซเลน. 2532. การประชุมวิชาการทาง


วิศวกรรมไฟฟ้า ครัง้ ที่ 12.

ั น์ ศุภวุฒิ คัมภิรานนท์ พร้ อมศักดิ์ อภิรติกลุ จงรักษ์ บุญเส็ง. 2544. การออกแบบและสร้ าง


กนกพล นาคะวิวฒ
หม้ อแปลงเทสล่ าสาหรั บทดสอบลูกถ้ วยฉนวนไฟฟ้า 200 กิโลโวลต์ 250 กิโลเฮิรตซ์ . การประชุม
วิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครัง้ ที่ 24.

สารวย สังข์สะอาด. 2549. วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีระเชษฐ์ ขันเงิน และ วุฒิพล ธาราธีรเศรษฐ์ . 2551. อิเล็กทรอนิกส์ กาลัง. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง. หน้ า 427 – 440.

IEC 60052. 2002. Voltage Measurement by Means of standard air gap. Thai Industrial Standard
Institute. Ministry of Industry.

You might also like