You are on page 1of 32

AC VOLTAGE CONTROL

เครื่ องควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (AC VOLTAGE


CONTROLLER) คือ วงจรแปลงผัน แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ เป็ นไฟฟ้า
กระแสสลับ ที่ทาหน้าที่ปรับเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับที่ตกคร่ อมโหลด
โดยที่ความถี่ยงั คงที่เท่ากับแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า ใช้ในงานการควบคุมแสงสว่าง
การ ควบคุมอุณหภูมิ การควบคุมการเปลี่ยนแท็ปหม้อแปลงไฟฟ้า การควบคุม
ความเร็ วรอบของมอเตอร์ เหนี่ยวนาสาหรับงานพัดลม เป็ นต้น สวิตช์
อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในวงจรคือ เอ็สซี อาร์ หรื อ ไตรอแอก มีการควบคุมดังต่อไปนี้
วงจรควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเฟสเดียวครึ่ งคลื่น
(SINGLE – PHASE HALF – WAVE AC VOLTAGE
CONTROLLER)
วงจรควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเต็มคลื่น
(SINGLE – PHASE FULL – WAVE AC VOLTAGE
CONTROLLER)
การควบคุมแบบเปิ ด-ปิ ด
วงจรการควบคุมแบบเปิ ด-ปิ ด(ON-OFF CONTROL) คือวงจรแปลงผัน
แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ เป็ นไฟฟ้ากระแสสลับมีวงจรเช่นเดียวกันกับวงจรควบคุม
แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ ดังแสดงในรู ปที่ 2 แตกต่างกันตรงที่เทคนิคการควบคุมแรงดัน
เอาต์พตุ จะใช้เทคนิคการเปิ ดและปิ ดวงจรเพือ่ จ่ายกาลังไฟฟ้า ให้กบั โหลดโดยที่เอสซี อาร์จะ
ได้รับสัญญาณกระตุน้ เพื่อต่อวงจรที่จุดตัดแรงดันศูนย์ของแรงดัน ไฟฟ้า กระแสสลับ(ZERO-
VOLTAGE CROSSINGS) ด้วยการใช้เทคนิคการ ควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ เอาต์พุต
แบบเปิ ดและปิ ดทา ให้สามารถลดฮาร์มอนิคที่เกิดขึ้นลงได้การควบคุมแบบเปิ ดและปิ ดใช้ใน
การควบคุมกาลังไฟฟ้าให้กบั โหลดที่มีค่าเวลาคงที่ทางกล (MECHANICAL TIME
CONSTANT) หรื อทางความร้อน (THERMAL TIME CONSTANT) มีค่าสู งเช่นใช้ในการ
ควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ หรื อใช้ในการควบคุมอุณหภูมิในเตาอบ สวิตช์อิเล็กทรอนิกส์ที่
ใช้ในวงจรคือ เอ็สชีอาร์ ไตรแอ็ค
PHASE-ANGLE CONTROL
ได้แก่วงจรเช่น HALF-WAVE และ FULL-WAVE CONTROL ซึ่งใช้
อุปกรณ์ไดโอด, SCR และ TRIAC ผูใ้ ช้สามารถหน่วงมุมการยิง ซึ่งทาให้บางส่ วนของรู ปคลื่น
เท่านั้นที่ออกมาที่เอ้าท์พทุ
PWM AC CHOPPER CONTROL
อีกสองวิธีที่การควบคุมมักจะมีฮาร์มอนิคออกมาไม่ดี, คุณภาพของกระแสที่เอ้าท์พทุ ไม่ดี
และPOWER FACTOR ที่อินพุทไม่ดี เพื่อปรับปรุ งค่าเหล่านี้ PWM สามารถใช้แทนวิธีการ
อื่น ๆ สิ่ งที่ PWM AC CHOPPER ทาก็คือให้สวิทช์เปิ ด-ปิ ดหลายครั้งในช่วงครึ่ งรอบของ
แรงดัน AC ของอินพุท
CONVERTER
CONVERTER (คอนเวอร์เตอร์) อุปกรณ์แปลงสัญญาณหรื อตัวแปลงสัญญาณ หรื อ
บางครั้งอาจจะได้ยนิ กันในชื่อเรี ยกต่างๆ มากมาย เช่น TRANSMITTER, SIGNAL
TRANSMITTER, PULSE ISOLATOR เป็ นต้น โดยอุปกรณ์เหล่านี้มีหน้าที่แปลงสัญญาณต่างๆ
ไม่วา่ จะเป็ น อุณหภูม,ิ ไฟกระแสตรง, ไฟกระแสสลับ ให้เป็ นสัญญาณมาตรฐาน เช่น 4...20MA,
0...10VDC สัญญาณมาตรฐานเป็ นสัญญาณที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อให้ผผู ้ ลิตอุปกรณ์ควบคุมได้ยดึ ถือ
เป็ นมาตรฐานในการออกแบบอุปกรณ์ทาให้อุปกรณ์ต่างๆ สามารถใช้งานร่ วมกันได้ โดย
สัญญาณมาตรฐานที่ใช้กนั จะแบ่งเป็ น 2 ประเภท
- สัญญาณกระแสไฟฟ้ามาตรฐาน: เป็ นการส่ งสัญญาณในรู ปของกระแสตรง (DC
CURRENT) โดยมาตรฐานที่ได้ยนิ กันบ่อยๆ ได้แก่ 4-20MA หมายความว่าเมื่อวัดค่าเป็ น 0% จะ
เท่ากับกระแส 4MA และหากวัดค่าได้เป็ น 100% เท่ากับกระแส 20MA การส่ งสัญญาณใน
รู ปแบบนี้สามารถส่ งสัญญาณได้ในระยะไกล การเกิดสัญญาณรบกวนน้อย
- สัญญาณแรงดันไฟฟ้ามาตรฐาน: เป็ นการส่ งสัญญาณในรู ปของแรงดันไฟฟ้า (DC
VOLTAGE) เช่น 0-10V หมายความว่า เมื่อค่าวัดเป็ น 0% ก็จะเท่ากับแรงดัน 0V และค่าวัดเป็ น
100% จะมีค่าเท่ากับ 10V สัญญาณมาตรฐานแรงดันนี้จะเหมาะกับการส่ งสัญญาณในระยะใกล้ๆ
เนื่องจากจะเกิดสัญญาณรบกวนได้ง่ายกว่าแบบกระแส
ซึ่ง CONVERTER ที่เราเห็นใช้ๆ กันนั้นมีดว้ ยกันหลายประเภทไม่วา่ จะเป็ น
VOLTAGE CONVERTER, CURRENT CONVERTER, TEMPERATURE CONVERTER,
UNIVERSAL TRANSMITTER, PROGRAMMABLE TRANSMITTER แต่ละประเภทก็จะ
เหมาะกับการใช้งานที่แตกต่างกันไป
MATRIX CONVERTER
การแปลงพลังงานจาก AC เป็ น AC โดยตรง
โดยใช้วงจรเมตริ กซ์คอนเวอร์เตอร์
วงจรคอนเวอร์เตอร์ ชนิดเร็ คติฟายเออร์ -อินเวอร์เตอร์ มีโครงสร้าง
ประกอบด้วย

วงจรอินเวอร์เตอร์ (inverter) + วงจรเร็ คติฟายเออร์ (rectifier)

ดีซีลิงค์ (DC Link)

2 ขั้นตอน AC เป็ น DC และจาก DC เป็ น AC


สู ญเสี ยพลังงานมากขึ้น
F=25 HZ, M = 0.2 (C) F=75 HZ, M = 0.6
F=50 HZ, M = 0.4 (D) F=100 HZ, M = 0.8
อัตราส่ วนระหว่างแรงดันต่อ
ความถี่ที่ทุกจุดการทางานบนเส้น
นี้จะมีค่าคงที่ ซึ่งเหมาะ ที่จะ
นาไปใช้กบั งานปรับความเร็ วรอบ
มอเตอร์เอซี ต่อไป…
Cycloconverter
Cycloconverter สามารถถ่ายโอนกาลังไฟฟ้าจากความถี่หนึ่ งไปสู่ อีกความถี่
หนึ่งได้ โดยที่ความถี่เอาท์พตุ จะน้อยกว่าความถี่อินพุต และไม่มีไฟฟ้า
กระแสตรงระหว่างกระบวนการแปลง

Fixed Voltage Variable Frequency


Fixed Frequency Cycloconverter Variable Frequency
AC input AC output
BLOCKING MODE CYCLOCONVERTERS

ตัวแปลงบวกจะให้แรงดันไฟฟ้าเมื่อมีกระแสโหลดเป็ นบวก และตัว


แปลงลบจะอยูใ่ นสภาพที่ถูกบล็อก ในระหว่างกระแสโหลดเป็ นลบตัวแปลงลบ
จะให้แรงดันไฟฟ้าและตัวแปลงบวกจะอยูใ่ นสภาพที่ถูกบล็อก เนื่องจากมีเพียง
หนึ่งตัวแปลงที่ทางานในหนึ่ งครั้ง ตัวแปลงประเภทนี้จึงเป็ นที่นิยม เพราะ มีราคา
ต่า
CIRCULATING CURRENT CYCLOCONVERTERS

ในตัวแปลงประเภทนี้ ตวั แปลงทั้งสองอยูใ่ นสถานะทางานตลอดเวลา


บางครั้งแหล่งจ่ายไฟจะลัดวงจรเมื่อเปิ ดใช้งานตัวแปลงทั้งสอง จึงจาเป็ นต้องใช้
INTERGROUP REACTOR เชื่อมต่ออยูร่ ะหว่างตัวแปลงเพื่อหลีกเลี่ยงการ
ลัดวงจรนี้ ทาให้มีราคาที่สูงและไม่เป็ นที่นิยม
ไซโคลคอนเวอร์ เตอร์ SINGLE PHASE TO SINGLE PHASE
ไซโคลคอนเวอร์ เตอร์ SINGLE PHASE TO SINGLE PHASE
ไซโคลคอนเวอร์ เตอร์ THREE PHASE TO SINGLE PHASE
ไซโคลคอนเวอร์ เตอร์ THREE PHASE TO THREE PHASE
HYBRID MATRIX
CONVERTER
HYBRID MATRIX CONVERTER

เป็ นการจัดเรี ยงตัวแปลงที่ซบั ซ้อนมากขึ้น ซึ่ งประกอบด้วยตัวแปลง


พลังงานหลัก ประมวลผลพลังงานจานวนมากที่ส่งไปยังโหลดที่เชื่อมต่อกับ
โหลดย่อยอีก มีวตั ถุประสงค์เพื่อปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพการแปลงและลดข้อเสี ย
บางประการเนื่องจากมีการกาหนดค่าตัวแปลงเมทริ กซ์ HYBRID MATRIX
CONVERTER มี 2 ประเภท
1.HYBRID DIRECT MATRIX CONVERTER

เพื่อเชื่อมต่ออินเวอร์เตอร์ H-BRIDGE เป็ นอนุกรมกับเอาต์พตุ เมทริ กซ์คอนเวอร์เตอร์


แต่ละตัว (ระหว่างเอาต์พตุ เมทริ กซ์คอนเวอร์เตอร์และโหลดเทอร์มินลั ) ตามรู ป วิธีการนี้ใช้ได้กบั
มอเตอร์และโหลด AC หลากหลายรู ปแบบ
1.HYBRID DIRECT MATRIX CONVERTER
เพื่อใช้โหลด (มอเตอร์ AC) กับขดลวดและต่อเมทริ กซ์คอนเวอร์เตอร์เอาท์พตุ ที่
ปลายด้านหนึ่งของโหลดและอินเวอร์เตอร์แหล่งกาเนิดแรงดันไฟฟ้ากับตัวเก็บประจุ DC-LINK
ที่ปลายอีกด้านหนึ่งตามที่แนะนาในรู ปด้านล่าง ข้อเสี ยของการแก้ปัญหานี้คือมันสามารถใช้ได้
กับโหลดที่มีขดลวดเท่านั้น
เนื่องจากแรงดันไฟฟ้าของเมทริ กซ์คอนเวอร์ เตอร์ ถูกนาไปใช้กบั ปลาย
ด้านหนึ่งของขั้วโหลดและแรงดันไฟฟ้าอินเวอร์ เตอร์ ของแหล่งกาเนิ ด
แรงดันไฟฟ้าที่ปลายอีกด้านหนึ่ง โหมดควบคุมสองโหมดของอินเวอร์เตอร์
แหล่งจ่ายไฟเสริ มแรงดันไฟฟ้าเพื่อเพิ่มแรงดันไฟขาออกดังแสดงในรู ป
2.HYBRID INDIRECT MATRIX CONVERTER
INDIRECT MATRIX CONVERTER ใช้โครงสร้างแบบไฮบริ ด เนื่องจากมีการเชื่อมโยง
ตัวกลางมีประสิ ทธิภาพมากกว่าในการแทรกอินเวอร์เตอร์สารองเพื่อจาลองแหล่งกาเนิด
แรงดันไฟฟ้าที่สามารถควบคุมได้ระหว่างวงจรเรี ยงกระแสและเฟสอินเวอร์เตอร์ มีแหล่งจ่าย
แรงดันไฟฟ้าเสริ มมาใช้โดยอินเวอร์เตอร์ H-BRIDGE โดยมีตวั เก็บประจุ DC-LINK ตามที่
แสดงในรู ปด้านล่าง H-BRIDGE

You might also like