You are on page 1of 5

Faculty of Engineering

King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang

Student Mr. Pijaya Chartpolrak

Student ID 64601233

Degree Master of Engineering

Program Electrical and Computer Engineering

Subject 01027760 Electrical Machines and Drives

Lecturer Prof. Dr. Vijit Kinnares


Assignment ที่ 1

จากบล็อกไดอะแกรมจงเขียนโปรแกรม Simulink จาลองสมรรถนะของมอเตอร์กระแสตรง พล็อต


ความเร็วในหน่วย รอบต่อนาที, แรงบิด, กระแสอาร์เมเจอร์เมื่อเปลี่ยนแรงดันขดอาร์เมเจอร์ , step
load

2/5
คำตอบ
1.1

รู ปที่ 1. ภาพแสดงการต่ออุปกรณ์สาหรับการควบคุมมอเตอร์กระแสตรงโดย Simulink

1.2 การจาลองสมรรถนะของมอเตอร์ กระแสตรง


การกาหนดค่า parameters ต่างๆ
1.2.1 Controlled Voltage Source (Step) (แหล่งจ่ายแรงดันเข้ามอร์เตอร์)

1.2.2 DC Motor

3/5
1.2.3 DC Voltage source1 ของขดลวด Field

1.2.4 Step Load

4/5
1.3 กราฟแสดง แรงดันที่ตกคร่ อมขดลวด Armature (โวลต์ ), กระแส Field (แอมแปร์ ), ความเร็ว
มอเตอร์ ในหน่ วย (รอบต่อนาที), กระแสอาร์ เมเจอร์ (แอมแปร์ ), แรงบิด (นิวตัน.เมตร)
เมื่อเปลี่ยนแรงดันขดอาร์เมเจอร์ (รู ปบนสุด) และ step load

อธิบาย
1. ในช่วงเริ่ มต้นของการทางานของมอร์เตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ช่วงเวลา 0-1 วินาทีแรก มีแรงดัน
ป้อนเข้ามอเตอร์ที่ 100 โวลต์ กระแส field คงที่ที่ 1.25 แอมแปร์ มีกระแส Armature (สู งสุดอยูท่ ี่ 130
แอมแปร์) และ แรงบิด (สูงสุด 300 นิวตัน-เมตร) เกิดขึ้นในมอเตอร์ เมื่อเข้าสู่ภาวะ steady state
หลังจาก 0.3 วินาที มอเตอร์มีความเร็วรอบสูงสุดอยูท่ ี่ประมาณ 430 รอบต่อนาที
2. ช่วงเวลาหลังจาก 1 วินาทีต่อมา มีการปรับแรงดันใน Armature เพิ่ม จาก 100 โวลต์ เป็ น 300 โวลต์
กระแส field คงที่เนื่องจากไม่ได้ทาให้มีการเปลี่ยนแปลง แรงบิดในช่วง Transient มีค่าสูงสุด
ประมาณ 650 นิวตัน-เมตร และ กระแส Armature มีค่าสูงสุดประมาณ 290 แอมแปร์ เมื่อเข้าสู่ช่วง
steady state หลังจาก 1.5 วินาที ความเร็วรอบของมอเตอร์ ปรับสู งขึ้น โดยอยูท่ ี่ประมาณ 1,060 รอบ
ต่อนาที
------------------

5/5

You might also like