You are on page 1of 8

สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57

การพิจารณาผลเบือ้ งต้ นของความแตกต่ างระดับหมอนคอนกรี ตต่ อการทํางานของประแจกล


ไฟฟ้าสําหรั บประแจขนาด 1:6 ของบริษัทรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จํากัด
Preliminary Considerations of Effect from Level Difference of Sleepers on Ballasted Track to
a Point Machine Operation for a 1:6 Turnout of SRTET Company

เอกชัย พัฒนะประยูรวงศ์ 1* กรรมมันต์ ชูประเสิรฐ์ 1 วิชยั ศิวะโกศิษฐ1 และ ประพจน์ ขุนทอง1


Ekachai Patthanaprayoonwong1*, Kummun Chooprasird1, Wichai Siwakosit1 and Prapot Kunthong1

บทคัดย่ อ
การศึกษานี ้เป็ นการพิจารณาผลเบื ้องต้ นของความต่างระดับของหมอนคอนกรี ตต่อความผิดปกติของ
การทํางานของประแจกลไฟฟ้าที่ควบคุมประแจทางหลีก โดยใช้ การเก็บข้ อมูลจากการทํางานของประแจกลไฟฟ้า
และข้ อมูลของการบิดของรางเนื่องจากระดับที่ตา่ งกันหมอนคอนกรี ตเนื่องจากนํ ้าหนักรถไฟที่เคลื่อนที่ผา่ นประแจ
ทางหลีกที่วางบนหินโรยทาง ข้ อมูลความต่างระดับของหมอนคอนกรี ตถูกนํามาวิเคราะห์เพื่อแสดงลักษณะการ
ทํางานที่ผิดปกติด้วยแบบจําลองที่สร้ างขึ ้นตามระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ และเปรี ยบเทียบกับแรงดึงของประแจ
กลไฟฟ้า ผลจากการศึกษาพบว่าหากเกิดความต่างระดับของหมอนคอนกรี ตเกินกว่า 5 เซนติเมตรจะส่งผลต่อ
การทํางานของมอเตอร์ ประแจกลไฟฟ้าจนไม่สามารถเปลี่ยนท่าของประแจได้

ABSTRACT
This study is a preliminary consideration of the effect from level difference of concrete sleepers
to a fault of a point machine which controls the turnout. The study uses the data collected from a point
machine and geometrical data from level difference of concrete sleepers resulting from repetition loads
from trains running pass the turnout installed on the ballast. The level difference data of concrete
sleepers are simulated on a model using finite element method and the results are compared with the
tensile force of a point machine. It can be shown that if the level difference are more than 5 cm, a point
machine would not be able to change the position of a turnout.

Key words: point machine, fault detection, railway turnout, condition monitoring point machine fault, railway track switches
*Corresponding author; e-mail address: Ekachai.pme@gmail.com
1
ศูนย์วิศวกรรมระบบราง ภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 10900
1
KURAIL, Faculty of Engineering, Kasetsart University, Thailand
200
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57 สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์

คํานํา
ในปั จจุบนั การขนส่งทางระบบรางได้ รับการตอบรับในทางที่ดีเป็ นอย่างมากสําหรับการคมนาคมใน
กรุ งเทพมหานคร เนื่องจากปั ญหาทางการจราจรทางถนนนั้นมีการใช้ รถยนต์เป็ นจํานวนมากขึ ้นทุกวัน ทําให้
การจราจรติดขัด ผู้คนไม่สามารถกําหนดเวลาเดินทางได้ รวมถึงการเกิดอุบตั ิเหตุต่างๆบนท้ องถนนที่ไม่สามารถ
คาดเดาได้ การเดินรถไฟฟ้าจึงก่อให้ เกิดความคล่องตัว และมีความปลอดภัยมากกว่า นอกจากนี ้การขนส่งระบบ
รางยังช่วยลดการใช้ พลังงานชีวะมวล นํ ้ามันเชื ้อเพลิง รองรับการขยายตัวของเมืองและประชากรที่อาศัยนอกเขต
เมือง ด้ วยการขยายเส้ นทางรถไฟออกสู่นอกเขตเมืองอีกด้ วย ดังนั้นการศึกษาผลกระทบจากการทรุ ดตัวของหิน
โรยทางที่ส่งผลกระทบต่อการทํางานประแจกลจึงถือได้ ว่าเป็ นการแก้ ปัญหาในการเดินรถไฟที่จะทําให้ เกิดความ
ล่าช้ าในการตั้งค่าเส้ นทางการเดินรถไฟ ที่เป็ นสาเหตุปัจจัยต้ น ที่สง่ ผลกระทบต่อการตั้งค่าเส้ นทางการเดินรถไฟ

ประแจกลไฟฟ้าที่ทํางานโดยควบคุมการเคลื่อนที่ของปลายลิ ้นรางเพื่อตั้งค่าทิศทางให้ ประแจทางหลีก


ไปยังทิศทางที่กําหนดเส้ นทางเพื่อให้ รถเคลื่อนที่ผ่านไปทิศทางที่กําหนด โดยใช้ เวลาการเคลื่อนที่ให้ ครบวัฎจักร
การทํางานเฉลี่ยประมาณ 15 วินาทีในรอบการทํางานปกติ การเคลื่อนที่ของประแจกลจะมีการเปลี่ยนแปลงไป
จากการทรุ ดตัวของหินอัดโรยทางทําให้ หมอนคอนกรี ตที่วางบนหินเกิดการเคลื่อนตัวและการทรุ ดของชั้นดิน ทํา
ให้ เกิดการผิดรู ปของหมอนคอนกรี ต บิดเอียงไม่ได้ ระดับ จึงทําให้ การทํางานของประแจกลไฟฟ้าไม่สามารถ
ทํางานครบวัฎจักรได้ และการกําหนดเส้ นทางของประแจทางหลีกทําให้ เกิดการตั้งค่าเส้ นทางไม่สมบูรณ์จงึ ทําให้
เกิดความล่าช้ าในการเดินรถไฟ จากการศึกษาของ García Márquez, Roberts, and Tobias (2010). ใช้ การเก็บ
ข้ อมูลสัญญาณต่างๆที่ถกู ต้ องและมาทดสอบที่อปุ กรณ์โต๊ ะทดสอบ เพื่อคาดการณ์การทํางานผิดปกติในรู ปแบบ
ต่างๆ ก่อนสัญญาณในการตรวจจับสัญญาณต่างๆของการทํางานปกติ Oyebande and Renfrew (2002) การ
ทํางานผิดพลาดของอุปกรณ์ของประแจกลรวมถึงอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้ องกับการทํางานของประแจเป็ นสาเหตุให้ เกิด
ความล่าช้ าในการเดินรถไฟ Lee (18-21 June 2012) ยังเป็ นการเพิ่มรายจ่ายทั้งการให้ บริ การและงานซ่อ ม
บํ า รุ ง รั ก ษา การเฝ้ าระวัง โดยการบริ ห ารการจัด การในการบํ า รุ ง รั ก ษาประแจกลจึ ง มี ค วามสํ า คัญ ที่ จ ะเพิ่ ม
ประสิทธิภาพในการให้ บริ การการเดินรถไฟ Jonguk Lee (16 April 2016) ใช้ อปุ กรณ์การเฝ้าระวังการทํางานของ
ประแจกลโดยสังเกตการณ์ความตรวจจับกระแสไฟฟ้าที่ผิดปกติและแรงที่กระทําผ่านเครื่ องมือที่ติดตั้งการเฝ้า
ระวัง

การศึกษาการทํางานความผิดปกติของประกลไฟฟ้าในครั้งนี ้จะจําลองการบิดตัวของหมอนคอนกรี ตใน


ระยะส่วนการเคลื่อนที่ของประแจทางหลีกส่วนที่ปลายลิ ้นรางเคลื่อนตัวและแรงต้ านแรงกดและแรงที่ขบั เคลื่อน
ประแจกลไฟฟ้ าในโปรแกรมไฟไนต์ เ อลิเ มนต์ เพื่ อ พิ จ ารณาผลเบื อ้ งต้ น ของความแตกต่า งของระดับหมอน
คอนกรี ตที่มีผลกระทบต่อการทํางานของประแจกลไฟฟ้า เพื่อหาระยะการบิดตัวของหมอนคอนกรี ตที่เหมาะสม
กับการบิดตัวลิ ้นรางของหมอนคอนกรี ตที่เกิดจากการใช้ งานจริ งบนตามสภาพภูมิอากาศประแจกลไฟฟ้าที่ติดตั้ง
บนหินโรยทางของบริ ษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จํากัดหรื อโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

อุปกรณ์ และวิธีการ
การวัดระดับการบิดตัวหมอนคอนกรีต
201
สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57

การวัดระดับการบิดตัวของหมอนคอนกรี ตจะได้ ระยะการทรุดตัวของหมอนคอนกรี ตโดยใช้ เหล็กระดับ


วางพาดบนสันรางนําระดับนํ ้าดิจิตอลบนเหล็กระดับอีกทีค่าที่ได้ จะเป็ นองศาและใช้ ฟิ ลเลอร์ เกจ ชิมใต้ ระดับให้
ระดับกลับเป็ นศูนย์องศา ตามระยะของหมอนคอนกรี ตที่รองรับประแจทางหลีกและลิ ้นประแจที่เคลื่อนที่

การวัดแรงขับเคลื่อนมอเตอร์ ประแจกลไฟฟ้าโดยเครื่อง MOBIWAPS


การวัดแรงขับเคลื่อนการทํางานมอเตอร์ ประแจกลไฟฟ้าโดยเครื่ อง MOBIWAPS เป็ นการตรวจสอบ
ยืนยันความถูกต้ องของประสิทธิภาพการทํางานของประแจกลไฟฟ้าโดยการทดสอบแรงขับและแรงดึงของแขน
กลเพื่อดูประสิทธิภาพการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า

การสร้ างแบบจําลองบนโปรแกรม Solid works


การสร้ างแบบจําลองเสมือนจริง แบบสามมิติ บนโปรแกรม Solid works เพื่อจะนํามาจําลองการบิดตัว
ของรางของหมอนคอนกรี ตในช่วงที่ปลายลิ ้นรางสามารถเคลื่อนตัว และระยะการบิดตัวในระยะที่สามารถยอมรับ
ได้ และที่สง่ ผลกระทบต่อการทํางานของประแจกลไฟฟ้า ในรูปแบบการบิดตัวแบบต่างๆ

การจําลองการบิดตัวบนโปรแกรม PATRAN MSC


การนําแบบจําลองเสมือนจริ งจากการสร้ างแบบบนโปรแกรม Solid works มาทดสอบบนโปรแกรม
PATRAN MSC เพื่อทดสอบการบิดตัวของรางลักษณะต่างๆจากการเก็บข้ อมูลจากหน้ างานเพื่อสังเกตลักษณะ
การบิดตัวแบบต่างๆและนําข้ อมูลคุณสมบัติตามตารางที่ 1 เพื่อนําผลการทดสอบมาวิเคราะห์และเปรี ยบเทียบ
กับงานจริ งที่เพื่อพิจารณาผลเบื ้องต้ นที่สง่ ผลกระทบกับการทํางานของประแจกลไฟฟ้าที่ไม่สมบูรณ์

Table 1 UIC60 Material Properties

Material properties Symbol Steel Concrete


Density (kg/m2) ρ 7850 2500
Elastic modulus (N/m2) E 210 Gpa 30 Gpa
Yield stress (N/m2) s 0.4 Gpa
Poisson ratio U 0.3 0.2
Friction coefficient m 0.2

ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง
จากรูปที่ 1 แสดงให้ เห็นถึงทฤษฏีที่นํามาใช้ ในงานการศึกษาการทดสอบบนแบบจําลองจะแสดงให้ เห็น
ถึงลักษณะการทรุ ดและบิดตัวของหมอนคอนกรี ตที่เกิดการบิดตัวสะสมของหมอนคอนกรี ตแบบสะสมและส่งผล
ต่อการทํางานของประแจกลไฟฟ้าโดยนําค่าที่วดั ได้ จริ งจากหน้ างานมาทําการทดลองเพื่อพิจารณาผลเบื ้องต้ น
ของความแตกต่างหมอนคอนกรี ตต่อการทํางานประแจกลไฟฟ้า หาจุดที่เกิดแรงเสียดทานสะสมและแรงเสียด
ทานที่ สูงนํ าไปสู่การทํ างานที่ ผิดปกติ โดยใช้ โปรแกรมสร้ างแบบจํ าลอง 3 มิ ติมี จุดสนในที่ พิจารณาจากการ
เคลื่อนที่ของปลายลิ ้นรางที่จะเกิด ดังรูปที่ 2

202
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57 สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์

จากรู ปภาพแบบจําลองทั้งหมด แสดงให้ เห็นถึงความแตกต่างระดับของหมอนคอนกรี ต จุดที่เกิดแรง


เสียดสะสมและแรงเสียดทานสูงในจุดที่เกิดจากระดับความต่างของหมอนคอนกรี ตที่สงู ตํ่ามากกว่า 5 เซนติเมตร
บนพื ้นหินโรยทางที่ทําให้ พื ้นใต้ ฐานรางของลิ ้นรางเกิดแรงเสียดทานสูงที่มีผลรวมรวมมากกว่าแรงขับของมอเตอร์
ประแจกลที่ 5000 นิวตัน จึงทําให้ แรงขับของมอเตอร์ ที่ไม่สามารถดันปลายลิ ้นรางแนบอีกด้ านได้ เพื่อป้องกัน
ความเสียหายของอุปกรณ์ไฟฟ้าจึงตัดกระแสไฟฟ้าในการจ่ายไฟฟ้าที่ขบั มอเตอร์ เพื่อป้องกันกระแสที่มากเกินการ
ทํางานของมอเตอร์ จากการทํางานเกินกําลังประสิทธิภาพของอุปกรณ์ไฟฟ้าในประแจกลไฟฟ้าตามสมการที่ (1)
จากสูตรการคํานวณ
n
P    i Ni (1)
i 1

โดยที่ P = แรงขับมอเตอร์ ไฟฟ้าสูงสุด 5000 นิวตัน


 = สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน 0.2 m
i

N i = นํ ้าหนักของวัตถุ 

 
Figure 1 Idealized frictional force direction

Figure 2 Twisted sleepers and point machine connected to motor drive

203
สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57

Table 2 Resulting frictional forces

จุดที่วดั ค่าที่วดั ได้ (N) จุดที่วดั ค่าที่วดั ได้ (N)


1 776 1 215
2 739 2 1120
3 1120 3 1710
4 177 4 1190
5 1720 5 12800
6 12800 6 856
ผลรวมที่วดั ได้ 17332 ผลรวมที่วดั ได้ 17891

ภาพแสดงโครงสร้ างของแบบประแจกลขนาด 1:6 ขนาดงานจริ ง มาใช้ ทดสอบใน Finite element Patran


Nastran เพื่ อทดสอบการจํ าลองแบบการบิดตัวของหมอนคอนกรี ต ดังรู ปที่ 3 รู ปที่ 4และรู ปที่ 5 ผลของการ
จําลองการบิดตัวและนําผลที่เกิดจากการทรุ ดตัวของหมอนคนอกรี ตทําให้ รางบิดตัวและเกิดแรงเสียดทานสะสม
ของแต่ละหมอนคอนกรี ตผลรวมรวมที่เกิ ดขึน้ ดังตารางที่ 2 ทําให้ มีแรงเสียดทานมากกว่าแรงขับเคลื่อนของ
ประแจกลไฟฟ้าและผลของการทดสอบประสิทธิภาพแรงขับเคลื่อนของประแจกลไฟฟ้า ดังรูปที่ 6

Force distribution

Displacement

Figure 3 Finite element model showing displacement and load distribution on a twisted turnout

204
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57 สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์

Figure 4 Stress values of the model


 

Figure 5 Friction force values of the model


 

205
สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57

Figure 6 Test report of a motor drive force

สรุ ป
ผลการศึกษาพิจารณาผลเบื ้องต้ นบนแบบจําลองในโปรแกรม ไฟไนต์เอลิเมนต์ แสดงให้ เห็นถึงจุดที่เกิด
แรงเสียดทานสูงเพราะเกิดจากระดับที่แตกต่างของหมอนคอนกรี ตที่มีความต่างของระดับมากจึงทําให้ เกิดแรง
เสียดทางของพื ้นปลายลิ ้นรางมากจน มอเตอร์ ขบั เคลื่อนไม่สามารถดันปลายลิ ้นรางไปแนบอีกด้ านได้ จากผลนี ้
จะทําให้ ทราบถึงระยะเวลาที่เหมาะสมในการปรั บระดับโดยการอัดหินโรยทางให้ แน่นและปรั บระดับ หมอน
คอนกรี ตให้ อยู่ในระนาบที่เหมาะสมที่จะทําให้ ประแจกลไฟฟ้าทํางานได้ โดยไม่เกิดปั ญหาติดขัด และปรับตาราง
การบํารุงรักษาทางหลีกได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

กิตติกรรมประกาศ
ผู้เขียนขอขอบคุณ 1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องกล 2.การรถไฟแห่งประเทศ
ไทย 3. บริ ษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.จํากัด

206
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57 สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์

เอกสารอ้ างอิง
Ardakani, H. D., Lucas, C., Siegel, D., Chang, S., Dersin, P., Bonnet, B., & Lee, J. (2012, 18-21 June
2012). PHM for railway system — A case study on the health assessment of the point
machines. Paper presented at the 2 0 1 2 IEEE Conference on Prognostics and Health
Management.
García Márquez, F. P., Roberts, C., & Tobias, A. M. (2010). Railway point mechanisms: Condition
monitoring and fault detection. Proceedings of the Institution of Mechanical Engineers, Part F:
Journal of Rail and Rapid Transit, 224(1), 35-44. doi:10.1243/09544097jrrt289. 
Lee, J., Choi, H., Park, D., Chung, Y., Kim, H.-Y., & Yoon, S. (2016). Fault Detection and Diagnosis of
Railway Point Machines by Sound Analysis. Sensors (Basel, Switzerland), 16(4), 549.
doi:10.3390/s16040549.
Oyebande, B. O., & Renfrew, A. C. (2002). Condition monitoring of railway electric point machines. IEE
Proceedings - Electric Power Applications, 149(6), 465-473. doi:10.1049/ip-epa:20020499.
(Ardakani et al., 2012)

207

You might also like