You are on page 1of 27

POWER POINT TEMPLATE

Company's new low-cost and easy-to-use Web-site


design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

บทที่ ๕ – ๒ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Machine)

เอกสารประกอบการสอน
303206 Introduction to Electrical Engineering
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.1 มอเตอรกระแสตรง (DC Motor) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

มอเตอรกระแสตรง (DC Motor)

 เปนเครื่องจักรกลที่มีหนาที่แปลงจากพลังงานไฟฟาไปเปนพลังงานกล
 โครงสรางของมอเตอรกระแสตรงจะเหมือนกับเครื่องกําเนิดกระแสตรง
 จะพบการใชงานของมอเตอรกระแสตรงเฉพาะในงานที่ตองการควบคุมความเร็วรอบ

 เมื่อปอนพลังงานไฟฟาใหกับมอเตอรกระแสตรง พลังงานไฟฟาจะถูกเปลี่ยนเปน พลังงานกล


 เมื่อปอนแรงดัน (E) และกระแส (I) จะถูกแปลงใหอยูในรูป แรงบิด (T) และความเร็วเชิงมุม () ดังสมการ
T  KI และ E  K

 กําหนดใหคา K คือคาคงที่

2
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.1 มอเตอรกระแสตรง (DC Motor) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

หลักการของมอเตอรกระแสตรง

 เมื่อปอนกระแสใหแกตัวนําดังรูป ภายใตสนามแมเหล็ก (Magnetic field) จะทําใหเกิดทอรคหรือแรงบิด (Torque)


และทําใหเกิดการเคลื่อนที่ของตัวนํา
 ถาทิศทางการปอนของกระแสเปลี่ยนเปนตรงกันขาม จะทําให แรงบิดที่เกิดขึ้นมีทิศทางตรงขามเชนกัน

แรงที่กระทําบนขดลวดตัวนําตอหนึ่งขดลวด :
F  Bl  I

F = แรงที่กระทําตอขดลวด (N)
B = ความหนาแนนของฟลักซแมเหล็ก (T)
l = ความยาวตัวนําที่ตัดผานสนามแมเหล็ก (m)
I = กระแสที่ไหลในขดลวดตัวนํา (A)
กฎมือซายของเฟลมมิ่ง (Flaming's Left Hand Rule)

3
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.1 มอเตอรกระแสตรง (DC Motor) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

หลักการทํางานของมอเตอรไฟฟากระแสตรง

ทิศการเคลื่อนที่ของตัวนํา

4
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ชนิดของมอเตอรกระแสตรง (Type of DC Motor) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

ชนิดของมอเตอรกระแสตรง

DC Motor

Separately Excited Self-Excited Permanent Magnet

Shunt Series Compound

Cumulative Compound Differential Compound

Long Shunt Long Shunt

Short Shunt Short Shunt

5
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ชนิดของมอเตอรกระแสตรง (Type of DC Motor) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

มอเตอรกระแสตรงแบบแมเหล็กถาวร (Permanent Magnet DC Motor) หรือเรียกวา PMDC Motor

• จะไมมี ขดลวดฟลด (Field winding) เนื่องจากสนามแมเหล็กถูกสรางดวยแมเหล็กถาวรแทน


• แตจะมีแคขดลวดอารเมเจอร (Armature winding)
• จะพบ ใน มอเตอรเครื่องซักผา ไดรเปาผม ที่ปดน้ําฝนในรถยนต รถบังคับของเลน เปนตน
ขอดี คือ
1. ไมตองมีวงจรกระตุนสนาม (Field excited circuit)
2. ไมมีการสูญเสียกําลังเนื่องจากการสรางสนามแมเหล็กจากขดลวดฟลด -> ทําใหประสิทธิภาพดีขึ้น
3. สามารถสรางใหมีขนาดเล็กและมีราคาถูก
ขอเสีย คือ กําลังไฟฟาขาออกหรือแรงขับจะไมสูงมาก

6
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ชนิดของมอเตอรกระแสตรง (Type of DC Motor) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

มอเตอรกระแสตรงแบบกระตุนแยก (Separately Excited DC Motor)

• ขดลวดฟลด (Field winding) ถูกปอนดวยกระแสตรงจากแหลงจายภายนอกแยกตางหาก (Separate external


source) และขดลวดอารเมเจอร (Armature winding) จะปอนไฟแยกกันดังรูป
• คุณสมบัติดานความเร็วและแรงบิดที่ได จะเหมือนกับมอเตอรกระแสตรงแบบขนาน

• ขอดี คือ สามารถควบคุมความเร็วไดงายกวา มอเตอรแบบกระตุนดวยตัวเอง (Self-excited DC motor)


ดังนั้น จึงเปนที่นิยมในอุตสาหกรรมตางๆ
• ขอเสีย คือ ตองมีการจายแหลงจายกระแสตรงเพิ่มเขาไป ทําใหสิ้นเปลืองพลังงานและคาใชจาย

7
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ชนิดของมอเตอรกระแสตรง (Type of DC Motor) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

มอเตอรกระแสตรงแบบกระตุนดวยตัวเอง (Self Excited DC Motor)


1. มอเตอรกระแสตรงแบบซีรีย (Series DC Motor)
2. มอเตอรกระแสตรงแบบชั้นท (Shunt DC Motor)
3. มอเตอรกระแสตรงแบบผสม (Compound DC Motor)
IT Rse IT

มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบซีรีย
VT VT (Series DC Motor)

IT IT

VT VT
มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบชันท
(Shunt DC Motor)

8
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ชนิดของมอเตอรกระแสตรง (Type of DC Motor) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

IT Rse IT

VT VT

มอเตอรไฟฟากระแสตรงชอตชันทแบบคอมปาวด (Short-Shunt Compound DC Motor)


IT IT

Rse

VT VT

มอเตอรไฟฟากระแสตรงลองชันทแบบคอมปาวด (Long-Shunt Compound DC Motor)

9
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.3 แรงเคลื่อนไฟฟาตานกลับ design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

แรงเคลื่อนไฟฟาตานกลับ (Back emf หรือ Counter emf, Eb)


• เมื่อทําการปอนแรงดันที่ขั้วของมอเตอรจะทําใหมอเตอรเริ่มทํางาน
• ซึ่งในขณะที่อาเมเจอรเริ่มหมุนนั้น ขดลวดที่อารเมเจอรก็จะทําการเหนี่ยวนําแรงเคลื่อนไฟฟาขึ้นมาทิศตาน
แรงดันที่ขั้วที่ปอนใหกับมอเตอร ทีเ่ รียกวา แรงเคลื่อนไฟฟาตานกลับ (Eb)
สมการของแรงเคลื่อนไฟฟาตานกลับ คือ
P  ZN  PZ   PZ  60  PZ   PZ 
Eb 
60 A
 
 60 A 
   N   
 60 A 
  
2
  
 2 A 
โดยที่ คาคงที่ Ka   
 2 A 

• แรงเคลื่อนไฟฟาตานกลับ จะมีผลตอกระแสอารเมเจอรและมีผลตอ Rse IT


ทอรคที่สรางขึ้นเพื่อที่จะไปหมุนขับโหลด
• ตัวอยาง การคํานวณกระแสอารเมเจอรในมอเตอรกระแสตรงแบบซีรีย
 V  Eb  VT
I a  IT   T 
 Ra  Rse 

*** Eb จะมีคานอยกวา คา VT ที่ปอนเสมอ

10
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 แรงบิดและความเร็วรอบ design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

แรงบิดของมอเตอร์กระแสตรง (Torque of DC Motor)


แรงบิดหรือทอรค คือ โมเมนตของแรงที่พยามยามหมุนวัตถุรอบแกนหรือจุดหมุน สามารถคํานวณไดดังนี้
T  F r T = แรงบิดทีเ่ กิดขึ้น นิวตัน-เมตร (N-m)

r = รัศมีการหมุนของวัตถุ (m)
-

F = แรงที่กระทําตอวัตถุในทิศตั้งฉากกับรัศมีของการหมุน มีหนวย นิวตัน (N)


I

งานที่ไดจากการหมุน 1 รอบ (W)


2

Pink)W= =F= 2 r  P  t t = เวลาที่ใชในการหมุน 1 รอบ (s) = 60/N และ N = รอบตอนาที

F  2 r 2 N 2 N
 P
60
 (F  r) 
60
T
60
 T 
และ 
2 N
นา -> น
60
N P=
Tra

1=
TOCCEN
 = ความเร็วเชิงมุมเทากับ 2N/60 (rad/s)
-

เง T = a of. h
P = กําลังไฟฟา (W) 100UP
N=
~Vi +

 แรงบิดที่เกิดขึ้นในมอเตอรไฟฟากระแสตรง มีดังนี้ P= 1(
(
W
=10.97
1. แรงบิดในอาเมเจอร (Torque in Armature ; Ta)
2. แรงบิดที่เพลาของมอเตอร (Shaft Torque ; Tsh)

11
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
วิ
ร่
ที
VT เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 แรงบิดและความเร็วรอบ design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

1. แรงบิดในอาเมเจอร์ (Torque in Armature ; Ta)


กําลังเอาทพุททางกลที่เกิดขึ้นบนอารเมเจอร สามารถคํานวณไดจากแรงบิดทางกลที่เกิดขึ้นที่อารเมเจอร Ta ที่
ทําใหมอเตอรหมุนดวยความเร็ว N จะไดวา
2 N
Pa  Ta    Ta  ……………….. (1)
60
และกําลังไฟฟาที่ทําใหเกิดกําลังทางกลในอาเมเจอร เนื่องจากการปอนแรงดันไฟฟาที่ขั้วมอเตอร VT แลวทําใหเกิด
กระแสอารเมเจอร I และแรงเคลื่อนไฟฟาตานกลับ E ที่อารเมเจอร
a b

Pm  Eb I a ……………….. (2)
2 N 60 Eb I a
นําสมการทั้งสองขางตนมาเทากัน (1) = (2) จะไดวา Pa  Ta   Eb I a Ta 
60 2 N
P  ZN 2 N P  ZN
และ Eb 
60 A
จะไดวา Ta 
60

60 A
 Ia

 PZ 
 Ta       Ia  Ka    Ia Ta    I a  PZ 
Ta       Ia
 2 A   2 A 

 PZ 
โดยที่ Ka    คาคงที่
 2 A 

12
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 แรงบิดและความเร็วรอบ design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

2. แรงบิดที่เพลาของมอเตอร (Shaft Torque ; Tsh)

จากแรงบิดในอาเมเจอร (Ta) ไมใชแรงบิดที่จะนําไปใชงาน เพราะวาแรงบิดบางสวนจะสูญเสียในแกนเหล็กและ


ความฝดของมอเตอร (Iron and Friction Losses) แต แรงบิดทีน่ ําไปใช คือ แรงบิดที่เพลา (Tsh)

Psh  Tsh   sh

2N 60 Psh VT
Psh  Tsh  Tsh 
60 2N

แรงบิดสูญเสียในมอเตอร (Losses Torque หรือ Tlosses) = Ta - Tsh


Psh และ Tsh เปนกําลังเอาทพุทและแรงบิดที่เพลามอเตอร ตามลําดับ

13
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.5 คุณลักษณะของมอเตอรกระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

คุณลักษณะของมอเตอรกระแสตรง (DC Motor Characteristics) ขอดี


1. มอเตอรกระแสตรงแบบซีรีย (Series DC Motor) • ขณะสตารท (ที่ความเร็วต่ํา) จะไดคาทอรคมีคาสูง
ขอเสีย
I T  I a  I se • ทํางานขณะไรภาระไมได (ทอรคสูง อันตราย)
• กระแสโหลดสูงๆ ความเร็วจะตกลงอยางมาก
VT  Eb  I a Ra  I a Rse
ความสัมพันธระหวางกระแสอารเมเจอร (Ia) กับ ความเร็ว
  Ia   K f Ia
มอเตอร (N)
Eb  K a    K a K f I a  KI a
จาก VT  KI a  I a ( Ra  Rse )
ความสัมพันธระหวางกระแสอารเมเจอร (Ia) กับ ทอรค (Ta)
VT VT ( Ra  Rse ) 1
จะไดวา VT  KI a  I a ( Ra  Rse ) Ia    
( Ra  Rse  K  ) KI a K Ia

Ta  K a  I a  K a K f I a2  KI a2 Ta  I a2

1

Ia
Ta  I a2

14
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.5 คุณลักษณะของมอเตอรกระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

ขอดี
2. มอเตอรกระแสตรงแบบขนานหรือชันท (Shunt DC Motor) • ความเร็วรอบลดลงตามทอรคที่เพิ่มขึ้นเล็กนอย

I T  I a  I sh ขอเสีย
• ไมสามารถใชกับทอรคเริ่มตนสูงๆได
VT
I sh 
Rsh Eb  K a  
VT  K  
VT  Eb  I a Ra Ia  ……………….. (1)
Ra
ให (1) = (2)
Ta  K a  I a Ia 
Ta
……………….. (2) K a  (VT  K   ) Ra VT
K a
Ta   T 
2 a
Ra KK a  K

เนื่องจากกระแส Ia มีคาคงที่ที่ VT คานึง จึงทําให Φ มีคาคงที่เชนกัน

*** ขณะไรภาระโหลด (No load) หรือ Ta = 0 จะไดวา

VT

K
Ta  I a

15
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.5 คุณลักษณะของมอเตอรกระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

3. มอเตอรกระแสตรงแบบผสม (Compound DC Motor)


I T  I se  I a  I sh

VT  I T Rse  Eb
Ia 
Ra
I a Ra  E b
I sh 
Rsh
VT  Eb  I a Ra  I T Rse

I T  I a  I sh Differential compound:  T   series   shunt


VT  Eb • ใหความเร็วรอบที่คอนขางคงที่ (ใกลเคียงมอเตอรกระแสตรงชันท)
Ia 
( Ra  Rse ) • ใหทอรคขณะสตารทต่ํา (ไมสามารถขับโหลดหนักๆ ได)
VT
I sh 
Rsh Cumulative compound:  T   series   shunt
VT  Eb  I a ( Ra  Rse ) • คาการรักษาความเร็วไมคอยดี (ความเร็วตกมากขณะโหลดเพิ่ม)
• ใหทอรคขณะสตารทสูง

16
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.5 คุณลักษณะของมอเตอรกระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

การเปรียบเทียบมอเตอรกระแสตรง

ทีมา www.electricaleasy.com

มอเตอรกระแสตรงแบบซีรีย : ขณะรับโหลดมากๆ มอเตอรจะ มอเตอรกระแสตรงแบบชันท : มีความเร็วรอบในการหมุนคอนขาง


หมุนชา แตถาโหลดนอยๆ จะมีความเร็วสูง แต ถาไมมีโหลด คงที่ ลดลงเล็กนอยกรณีโหลดเพิ่มขึน้ แตใหแรงบิดขณะเริ่มหมุนต่ํา
ความเร็วจะสูงมากจนเกิดเปนอันตราย (Low starting torque) จึงไมนิยมใชกับโหลดที่ตองการแรงบิดเริ่ม
หมุนสูงๆ
การประยุกต : งานที่ตองการแรงบิดสูง เชน ปนจั่น เครื่องยก การประยุกต : งานที่ตองการความเร็วรอบคงที่ เชน เครื่องกลึง
เครน มอเตอรลิฟต เปนตน เครื่องเจาะ พัดลม เปนตน

มอเตอรกระแสตรงแบบผสม: รวมขอดีของมอเตอรซีรียกับชันทเขาดวยกันทําใหความเร็วรอบคงที่ และ แรงบิดเริ่มหมุนสูง


การประยุกต : เชน งานตัด งานเฉือน ใชกับระบบบันไดเลื่อน เปนตน

17
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.6 คาการรักษาความเร็วรอบ design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

คาการรักษาความเร็วรอบของมอเตอรกระแสตรง (The speed regulation of a DC Motor)


• คาการรักษาความเร็วรอบ (Speed regulation, SR) สามารถหาไดจากสมการ
N no  load  N full  load
Speed Reguation (SR) =  100%
N full  load

• มอเตอรกระแสตรงที่ดี ควรจะมีคา SR คา ต่ําๆ เนื่องจาก โดยทั่วไป งานที่เกี่ยวกับมอเตอรกระแสตรงมักจะตองการ


ความเร็วรอบที่คอนขางคงที่

• ดังนั้น เมื่อนํามอเตอรไปขับโหลด ความเร็วมอเตอรจะตองมีความเร็วรอบลดลงใหนอยที่สุด หรือขณะที่โหลดมีการ


เปลี่ยนแปลง

• มอเตอรกระแสตรง (ที่ตองการความเร็วรอบคงที่) ที่ดี โดยทั่วไปจะมีคา SR ดังนี้


- PMDC มีชวงอยูที่ 10 – 15%
- Shunt DC motor มีชวงอยูที่ 3 – 5%
- Series DC motor ไมสามารถควบคุมความเร็วใหคงที่ได
- Compound DC motor (Cumulative) มีชวงอยูที่ 25%
- Compound DC motor (Differential) มีชวงอยูที่ >5% (ยังอยูในเกณฑที่ดี)

18
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.7 ประสิทธิภาพของมอเตอรกระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

ประสิทธิภาพของมอเตอรกระแสตรง (The efficiency of a DC Motor)


ประสิทธิภาพของมอเตอรกระแสตรง
Pout
  100%
Pin

Pout  Pin  Plosses

Plosses  Pcu  Pcore  Pbrush  Pmech


กําลังสูญเสียที่เกิดขึ้นในมอเตอรกระแสตรง
1. การสูญเสียทางแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic losses) ไดแก
1.1 กําลังสูญเสียที่ขดลวดตัวนํา (Copper losses, Pcu) สามารถหาไดจากการคํานวณคากระแสในแตละขดลวดภายในวงจร
1.2 กําลังสูญเสียที่แกนเหล็ก (Core losses, Pcore) คือการสูญเสียเนื่องจาก Hysteresis losses กับ Eddy current losses
ซึ่งในโจทยจะบอกเปนคากําลังสูญเสียมาใหเลย
1.3 กําลังสูญเสียที่แปรงถาน (Brush losses, Pbrush) คิดในกรณีที่คิดแรงดันตกคลอมที่แปรงถาน
2. กําลังสูญเสียเนื่องจากแรงเสียดทานทางกล (Mechanical losses, Pmech) ไดแก
2.1 การสูญเสียเกิดจากความเสียดทานในตลับลูกปนและแรงตานของครีบระบายอากาศของตัวมอเตอร
(Friction & Windage losses) *** โจทยจะบอกเปนคากําลังสูญเสียเหลานี้มาใหเลย

19
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.8 โจทยแบบฝกหัด design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

โจทยตัวอยางการคํานวณ
1. มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบชันทขนาด 220 V กินกระแส 50 A ความตานทานขดลวดชันทฟลดและที่อารเมเจอร เทากับ 60Ω และ
0.05Ω ตามลําดับ จงคํานวณหา แรงเคลื่อนไฟฟาตานกลับ ที่มอเตอรสรางขึ้น
IT

VT

20
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.8 โจทยแบบฝกหัด design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

2. จากตัวอยางขอที่ 1 ถาเปนมอเตอรตัวเดียวกันนี้ มี 8 ขั้วแมเหล็ก ตัวนําทั้งหมด 680 ตัวนํา พันแบบแลป หมุนที่ความเร็วรอบ 712


รอบตอนาที จงคํานวณหาจํานวนเสนแรงแมเหล็กตอขั้ว (Flux per pole)

3. มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบชันท มีแรงดันปอนมอเตอร 440V มีความตานทานของขดลวดอารเมเจอรและขดลวดสนาม เทากับ 0.8 


และ 200  ถากําลังไฟฟาเอาทพุทที่เพลา (Pout) เทากับ 10 H.P. โดยมีประสิทธิภาพ 85% จงหา แรงเคลื่อนไฟฟาตานกลับ (Eb)

21
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.8 โจทยแบบฝกหัด design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

4. มอเตอรไฟฟาแบบขนาน ปอนแรงเคลื่อนไฟฟา VT 220 V ใหกําลังขาออก (Po) 25 H.P. หมุนดวยความเร็ว 1000 r.p.m.


จงหา (ก) แรงบิดมอเตอร ถามอเตอรมีประสิทธิภาพ 90% (ข) กระแสที่มอเตอรกิน (IT) (ค) คาไฟฟาที่มอเตอรกิน ถา ใชงานทั้งหมด 8 ช.ม.
และราคาพลังงานไฟฟา 2 บาทตอหนวย

22
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.8 โจทยแบบฝกหัด design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

5. มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบชันท มี 4 ขั้วแมเหล็ก แรงดันปอนมอเตอร 220V ที่กระแส 32 A พันขดลวดแบบแลป (Lap) จํานวนตัวนํา


ทั้งหมด 540 ตัวนํา กระแสขดลวดสนามชันท 1 A ขดลวดอารเมเจอรมีความตานทาน 0.9  จํานวนเสนแรงแมเหล็กตอขั้ว 30 mWb และ
กําลังไฟฟาเอาทพุทที่เพลา (Pout) เทากับ 7.5 H.P. (746W = 1H.P.)
จงคํานวณหา
(ก) เขียนวงจรสมมูลของมอเตอร
(ข) ความเร็วรอบของมอเตอร
(ค) แรงบิดในอารเมเจอร
(ง) แรงบิดที่เพลาและแรงบิดสูญเสียในมอเตอร

23
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.8 โจทยแบบฝกหัด design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

6. จากการอานคาขอมูลจากปาย (Nameplate) ของมอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบขนาน มีคาดังตารางตอไปนี้

จงหา 1. เขียนรูปวงจรสมมูลและหากระแสที่ไหลผานอารเมเจอร (Ia)


2. กําลังดานขาเขา (Pi) และกําลังดานขาออก (Po)
3. แรงบิดขาออก (Tsh)

24
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.8 โจทยแบบฝกหัด design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

7. มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบอนุกรม มี 4 ขั้ว 220 V มีตัวนําอารเมเจอรตอสล็อตเทากับ 2 ตัวนํา พันแบบแลป และมีสล็อตทั้งหมด 280


สล็อต มีกระแสไฟฟาไหลผานอารเมเจอร 52 A และมีฟลักซแมเหล็กตอขั้วเทากับ 27 mWb มีความตานทานของอารเมเจอรและขดลวด
ฟลด 0.4Ω และ 0.15Ω ตามลําดับ และมีคาการสูญเสียจากความเสียดทานและการสูญเสียจากแกนเหล็กเทากับ 600W เสนผานศูนยกลาง
ของพูลเลยเทากับ 300 mm
จงหา แรงที่กระทําที่ขอบของพูลเลย (F) และคิดการสูญเสียเนื่องจาก Copper loss ดวย
Rse

VT

25
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.8 โจทยแบบฝกหัด design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

8. มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบขนาน มี 4 ขั้ว 240 V ใหกําลัง 11.19 kW ที่ความเร็วรอบ 1,000 r.p.m. กระแสไฟฟาที่ขดอารเมเจอรและ


ขดลวดสนาม 50 A และ 1 A มีตัวนําอารเมเจอรเทากับ 540 ตัวนํา พันแบบเวฟ มีความตานทานของอารเมเจอร 0.1Ω
จงหา (ก) แรงบิดที่อารเมเจอร (ข) แรงบิดที่เพลา (ค) เสนแรงแมเหล็กตอขั้ว (ง) กําลังไฟฟาขาเขา (Pi) (ฉ) ประสิทธิภาพของมอเตอร

26
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.8 โจทยแบบฝกหัด design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

การบาน
1. จากการอานคาขอมูลจากปาย (Nameplate) ของมอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบอนุกรม มีคาดังตารางตอไปนี้
จงหา 1. เขียนรูปวงจรสมมูลและหากระแสที่ไหลผานอารเมเจอร (Ia)
2. กําลังดานขาเขา (Pi)
3. กําลังดานขาออก (Po) ที่ประสิทธิภาพ 80%
4. แรงบิดขาออก (Tsh)

2. มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบชันท มี 4 ขั้วแมเหล็ก แรงดันปอนมอเตอร 220V ที่กระแส 41 A พันขดลวดแบบ


แลป (Lap) จํานวนตัวนําทั้งหมด 600 ตัวนํา กระแสขดลวดสนามชันท 1.73A ขดลวดอารเมเจอรมีความตานทาน
0.35 จํานวนเสนแรงแมเหล็กตอขั้ว 30 mWb และกําลังไฟฟาเอาทพุทที่เพลา (Pout) เทากับ 7.8kW
I
จงคํานวณหา T

(ก) ความเร็วรอบของมอเตอร
(ข) แรงบิดในอารเมเจอร VT
(ค) แรงบิดที่เพลา
(ง) แรงบิดสูญเสียในมอเตอร

27
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร

You might also like