You are on page 1of 127

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

The Engineering Institute of Thailand under H.M. The King’s Patronage


มาตรฐานระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉิ นและโคมไฟฟ้ าป้ ายทางออกฉุกเฉิ น

มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
และโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
EMERGENCY LIGHTING SYSTEM AND
EMERGENCY EXIT SIGN LUMINAIRE STANDARD
V.4-2018

มาตรฐาน วสท. 02-1004


EIT Standard 02-1004
ราคา
EE
ฉบับ
กำหนดกำรจัดสัมมนำเทคนิคพิจำรณ์
มำตรฐำนระบบไฟฟ้ำแสงสว่ำงฉุกเฉิน
และโคมไฟฟ้ำป้ำยทำงออกฉุกเฉิน
ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4
โดย วิศวกรรมสถำนแห่งประเทศไทย ในพระบรมรำชูปถัมภ์ (วสท.)
วันอังคำรที่ 5 มิถุนำยน 2561
เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมอาคาร วสท. ซ.รามคาแหง 39 กรุงเทพฯ
---------------------------------------------------------

13.00 น. - 13.30 น. ลงทะเบียน


13.30 น. – 13.35 น. กล่ำวรำยงำน
โดย นายกิตติ สุขุตมตันติ
อนุกรรมการและเลขานุการ
13.35 น. – 13.45 น. กล่ำวเปิด
โดย ผศ.ดร.อุทัย ไชยวงค์วิลาน
ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท.
13.45 น. – 15.15 น. ควำมเป็นมำในกำรจัดทำมำตรฐำน
ประเด็นปรับปรุงมำตรฐำนฯ ภำคที่ 1-3
ประเด็นปรับปรุงมำตรฐำนฯ ภำคผนวก ก-ช
โดย ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ และคณะอนุกรรมการ
15.15 – 16.30 น. อภิปรำย ถำม-ตอบ และ Coffee break

ดาเนินรายการโดย นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล


อนุกรรมการ
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
The Engineering Institute of Thailand under H.M. The King’s Patronage

มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
และโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
EMERGENCY LIGHTING SYSTEM AND
EMERGENCY EXIT SIGN LUMINAIRE STANDARD
V.4-2018

โดย
คณะอนุกรรมการมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
ประจาปี 2560-2562

ได้รับการสนับสนุนการจัดทามาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ

จากสภาวิศวกร ปี 2558

(สงวนลิขสิทธิ์)
ISBN xxx-xxx-xxx-x พิมพ์ครั้งที่ 1
มาตรฐาน วสท. 02-1004 พฤศจิกายน 2561
EIT. Standard 02-1004 ราคา.......บาท
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data.

ชื่อหนังสือ มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
ชื่อผูแ้ ต่ง คณะอนุกรรมการมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้า
ป้ายทางออกฉุกเฉิน
จานวน 106 หน้า
ISBN 974-xxx-xxxx
พิมพ์ครั้งที่ 1 (พฤศจิกายน พ.ศ.2561)
ปรับปรุงครั้งที่ 4
จานวน 3,000 เล่ม
ราคา .......... บาท

จัดพิมพ์โดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์


487 ซอยรามคาแหง 39 (เทพลีลา 1) แขวงพลับพลา
เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310
โทรศัพท์ 0-2319-2410-3 โทรสาร 0-2319-2710-1
http://www.eit.or.th E-mail : eit@eit.or.th
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร 0-2218-3548-50 โทรสาร 0-2218-3551
http://www.cuprint.chula.ac.th E-mail : cuprint@hotmail.com
สงวนลิขสิทธิ์โดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ไม่อนุญาตให้คัดลอก ทาซ้า และดัดแปลง ส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือฉบับนี้
นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์หนังสือเท่านั้น

ii | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
วสท. 02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

อธิบาย รหัสมาตรฐาน
มาตรฐานฉบับเผยแพร่เวอร์ชั่นที่ 4 พิมพ์ปี ค.ศ. 2018 รหัสมาตรฐาน : วสท. 02-1004
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วสท. ได้มีการปรับเปลี่ยนการกาหนดรหัสมาตรฐานใหม่จากเดิมเพื่อให้ทันสมัยรองรับสากล
รหัสสาขา-ลาดับมาตรฐานสาขา-ปีที่พิมพ์ แก้ไขใหม่เป็น รหัสสาขา-กรอบมาตรฐาน-ลาดับมาตรฐานตามสาขา
ฉบับเผยแพร่เวอร์ชั่นที่ …พิมพ์ปี ค.ศ. …. แสดงด้วย V.x- ปี ค.ศ. 20xx
รหัสมาตรฐานนี้ วสท.02-1004 V.4-2018 หมายถึง มาตรฐานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า-การคานวณออกแบบ-
ลาดับที่ 04 ฉบับเผยแพร่เวอร์ชั่นที่ 4 พิมพ์ปี ค.ศ.2018
02 = แทนสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
1 = การคานวณออกแบบ (กรอบมาตรฐาน ดูหมายเหตุ 2)
014 = ลาดับที่ของมาตรฐานในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

หมายเหตุ 1. รหัสมาตรฐานตามระบบไทยเป็นดังนี้ มาตรฐาน วสท. 02-1004


รหัสมาตรฐานตามระบบสากลเป็นดังนี้ EIT Standard 02-1004

หมายเหตุ 2. กรอบมาตรฐานแบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้


เลข 1 แทน การคานวณออกแบบ
เลข 2 แทน การก่อสร้าง/การติดตั้ง/การปฏิบัติงาน
เลข 3 แทน การอานวยการใช้ และบารุงรักษา
เลข 4 แทน วัสดุ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | iii


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

คานา
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เป็นสถาบันทางวิชาชีพวิศวกรรมที่มี ความ
รับผิดชอบต่อวงการวิศวกรรมในประเทศไทยและสอดคล้องกับวิศวกรรมระดับสากล นโยบายที่สาคัญของ วสท.
ส่วนหนึ่ง คือ ส่งเสริมการจัดทาตารา คู่มือ และมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมสาขาต่างๆ เพื่อให้เป็น
แหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และนาไปใช้ประโยชน์ ให้เกิดประสิทธิผลต่อบุคคลและวงการวิศวกรรม จนปัจจุบันได้รับ
การยอมรับจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนทั่วไป
วสท. มีเป้าหมายจัดทามาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน เพื่อเป็น
มาตรฐานที่ครอบคลุมเนื้อหาสาระทางด้านการออกแบบ การติดตั้ง การตรวจสอบ และการใช้ระบบไฟฟ้าแสง
สว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ที่สร้างความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน อีกทั้งถูกต้องตามหลัก
วิชาการและเป็นมาตรฐานระดับประเทศ
มาตรฐานฉบับนี้เป็นมาตรฐานที่ได้ปรับปรุงจากฉบับเดิมเป็นครั้งที่ 4 โดยได้ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย
สอดคล้องกับกฎหมายและมาตรฐานของสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) รวมทั้งมาตรฐานอื่นที่
เกี่ยวข้องและเหมาะกับสภาพแวดล้อมในประเทศไทย
วสท. ขอขอบพระคุณคณะอนุกรรมการมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออก
ฉุกเฉินทุกท่านไว้ ณ ที่นี้ ที่ได้ใช้ความวิรยิ ะ อุตสาหะ จนสามารถปรับปรุงมาตรฐานแล้วเสร็จ หากผู้ใช้มาตรฐานนี้
มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะประการใด โปรดแจ้งให้ วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
(วสท.) ทราบเพื่อจะได้จัดทามาตรฐานให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

(ดร.ธเนศ วีระศิริ)
นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ประจาปี 2560-2562

iv | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

บทนา
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เห็นว่ามาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
ฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินมีความสาคัญ เพราะเกี่ยวเนื่องกับความปลอดภัยในชีวิตของผู้ใช้อาคาร
โดยใช้เป็นเครื่องมือให้แสงสว่างและนาทางไปสู่สถานที่ปลอดภัยได้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน รวมทั้งทราบถึงพื้นที่เก็บ
อุปกรณ์ดับเพลิง อุปกรณ์แจ้งเหตุ และอุปกรณ์ปฐมพยาบาล
มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินนี้ ได้ปรับปรุงให้ทันสมัยมากขึ้น
เพื่อใช้เป็นข้อกาหนดในการออกแบบ ติดตั้ง และตรวจสอบ สาหรับอาคารพักอาศัย อาคารสานักงาน อาคารสูง
อาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ โรงแรม โรงพยาบาล สถานบริการ โรงมหรสพ และอาคารสาธารณะ
ทั่วไป รวมถึงเป็นส่วนหนึ่งของระบบป้องกันและระงับอั คคีภัยตามกฎหมายควบคุมอาคาร เพื่อให้ผู้ใช้สถานที่
สามารถหนีภัยออกจากอาคารได้อย่างรวดเร็ว และปลอดภัย ในภาวะฉุกเฉิน
มาตรฐานนี้กาหนดตามเกณฑ์อย่างต่าของความปลอดภัย เพื่อให้มีการออกแบบ การติดตั้ง การตรวจสอบ
และการใช้ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุ กเฉิน ให้ผู้ใช้งานอาคารได้รับความปลอดภัย
และสามารถระงับเหตุที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างรวดเร็ว
มาตรฐานฉบับนี้มีเนื้อหาแยกเป็นส่วนของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน และโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
พร้อมด้วยภาคผนวกที่แสดงตัวอย่างใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ รวมทั้งตัวอย่างการออกแบบและติดตั้ง
เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนามาตรฐานนี้ไปใช้งานได้จริง นอกจากนี้ยังมีระบบนาทางติดตั้งต่าแบบไม่ใช้ไฟฟ้าเพื่อเพิ่ม
ความปลอดภัยและรวดเร็วในการหนีภัยได้มากยิ่งขึ้น
วสท. หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า มาตรฐานฉบั บ นี้ จ ะเป็ น มาตรฐานที่ วิ ศ วกร ผู้ อ อกแบบ ผู้ รั บ เหมาติ ด ตั้ ง
ผู้ประกอบการ ผู้ใช้งาน สถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการกาหนดการติดตั้งระบบไฟฟ้าแสง
สว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน สามารถนาไปใช้อ้างอิงในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
เป็นมาตรฐานเดียวกัน

คณะอนุกรรมการมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
และโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
พ.ศ. 2561

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | v


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
รายนามคณะกรรมการอานวยการ
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
พ.ศ. 2560-2562
คณะกรรมการ
1. ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก
2. นายเกชา ธีระโกเมน อุปนายก คนที่ 1
3. รศ.ดร.พิชัย ปมาณิกบุตร อุปนายก คนที่ 2
4. นายสมจิตร์ เปี่ยมเปรมสุข อุปนายก คนที่ 3
5. นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ กรรมการและเลขาธิการ
6. นายอุทัย คาเสนาะ กรรมการและเหรัญญิก
7. ผศ.ชลชัย ธรรมวิวัฒนุกูร กรรมการและนายทะเบียน
8. ดร.ธีรธร ธาราไชย กรรมการและประชาสัมพันธ์
9. นายสินิทธิ์ บุญสิทธิ์ กรรมการและประธานกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ
10. ศ.ดร.พานิช วุฒิพฤกษ์ กรรมการและประธานกรรมการโครงการและต่างประเทศ
11. นางสาวบุษกร แสนสุข กรรมการและกรรมการกิจกรรมพิเศษ
12. นายมนูญ อารยะศิริ กรรมการและประธานวิศวกรอาวุโส
13. นางสาวศุทธหทัย โพธินามทอง กรรมการและประธานวิศวกรหญิง
14. นายกฤตวัฒน์ สุโกสิ กรรมการและประธานยุววิศวกร
15. รศ.เอนก ศิริพานิชกร กรรมการและประธานสาขาวิศวกรรมโยธา
16. ผศ.ดร.อุทัย ไชยวงค์วิลาน กรรมการและประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
17. ผศ.ดร.จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ กรรมการและประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล
18. รศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร กรรมการและประธานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
19. ศ.ดร.กิตติเทพ เฟื่องขจร กรรมการและประธานสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่โลหะการและ
ปิโตรเลียม
20. รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคา กรรมการและประธานสาขาวิศวกรรมเคมีและปิโตรเคมี
21. รศ.สุเทพ สิริวิทยาปกรณ์ กรรมการและประธานสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
22. รศ.พูลพร แสงบางปลา กรรมการและประธานสาขาวิศวกรรมยานยนต์
23. นายพิศาล จอโภชาอุดม กรรมการและประธานสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
24. รศ.ดร.เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง กรรมการและประธานสาขาภาคเหนือ 1
25. รศ.วิชัย ฤกษ์ภูริทัต กรรมการและประธานสาขาภาคเหนือ 2
26. นายจีรวุฒิ ภูศรีโสม กรรมการและประธานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
27. ผศ.นัฐวุฒิ ทิพย์โยธา กรรมการและประธานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2
28. ดร.กิตติ จันทรา กรรมการและประธานสาขาภาคตะวันออก 1
29. นายอิทธิพล เนธิยคุปต์ สิงขรแก้ว กรรมการและประธานสาขาภาคตะวันออก
30. นางสาววรรณิษา จักภิละ กรรมการและประธานสาขาภาคตะวันตก
31. นายธนินท์รัฐ เมธีวัชรรัตน์ กรรมการและประธานสาขาภาคใต้ 1
32. รศ.ดร.อุดมผล พืชน์ไพบูลย์ กรรมการและประธานสาขาภาคใต้ 2
33. นายทศพร ศรีเอี่ยม กรรมการกลาง
vi | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

รายชื่อคณะอนุกรรมการมาตรฐาน
มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
พ.ศ. 2545
ที่ปรึกษา
1. รศ.ดร.ชานาญ ห่อเกียรติ
2. นายโสภณ ศิลาพันธ์
คณะอนุกรรมการ
1. นายเกียรติ อัชรพงศ์ ประธานอนุกรรมการ
2. นายธนา ชาตะวราหะ รองประธานอนุกรรมการ
3. นายประกรณ์ เมฆจาเริญ อนุกรรมการ
4. นายสุโชติ สุเมธาวีนันท์ อนุกรรมการ
5. นายรัฐพล ใหญ่สิงห์บุญ อนุกรรมการ
6. นายอุทัย จิตเสรี อนุกรรมการ
7. นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ อนุกรรมการ
8. นายกิตติ สุขุตมตันติ อนุกรรมการ
9. นายสุพล แก้วบรรพต อนุกรรมการ
10. นายสมศักดิ์ วัฒนศรีมงคล อนุกรรมการ
11. นายพงษ์พันธ์ ไชยะคา อนุกรรมการ
12. นายลือชัย ทองนิล อนุกรรมการ
13. นายสุนทร จูงใจ อนุกรรมการ
14. นายรุ่งโรจน์ ช่างปรุง อนุกรรมการ
15. นายจิรัฏฐ์ มงคลวิเศษวรา อนุกรรมการและเลขานุการ
16. นางสาวสโรชา มัฌชิโม ผู้ช่วยเลขานุการ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | vii


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

รายชื่อคณะอนุกรรมการปรับปรุงมาตรฐาน ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1


มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
พ.ศ. 2551

1. นายเกียรติ อัชรพงศ์ ประธานอนุกรรมการ


2. นายไชยะ แช่มช้อย อนุกรรมการ
3. นายจิรัฏฐ์ มงคลวิเศษวรา อนุกรรมการ
4. นายธีระ ริมปิรังษี อนุกรรมการ
5. นายสุธี ปิ่นไพสิฐ อนุกรรมการ
6. นายจรูญ มาสุขใจ อนุกรรมการ
7. นายพงษ์พันธ์ ไชยะคา อนุกรรมการ
8. นายวิเชียร พิสุทธิ์เศวตกุล อนุกรรมการ
9. นายรัฐพล ใหญ่สิงห์บุญ อนุกรรมการ
10. นายสถาพร รุ่งรัตนาอุบล อนุกรรมการ
11. นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล อนุกรรมการ
12. นายกิตติ สุขุตมตันติ อนุกรรมการและเลขานุการ
13. นางสาวสโรชา มัฌชิโม ผู้ช่วยเลขานุการ
14. นางสาวเมตตา หมอนเขื่อน ผู้ช่วยเลขานุการ

viii | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

รายชื่อคณะอนุกรรมการปรับปรุงมาตรฐาน ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2


มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
พ.ศ. 2554
คณะอนุกรรมการ
1. นายเกียรติ อัชรพงศ์ ประธานอนุกรรมการ
2. รศ.ไชยะ แช่มช้อย รองประธานอนุกรรมการ
3. นายสุธี ปิ่นไพสิฐ อนุกรรมการ
4. นายสถาพร รุ่งรัตนาอุบล อนุกรรมการ
5. นายจรูญ มาสุขใจ อนุกรรมการ
6. นายธีระ ริมปิรังษี อนุกรรมการ
7. นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล อนุกรรมการ
8. นายพงษ์พันธ์ ไชยะคา อนุกรรมการ
9. ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ อนุกรรมการ
10. นายจิรัฏฐ์ มงคลวิเศษวรา อนุกรรมการ
11. นายรัฐพล ใหญ่สิงห์บุญ อนุกรรมการ
12. นายวิเชียร พิสุทธิ์เศวตกุล อนุกรรมการ
13. นายกิตติ สุขุตมตันติ อนุกรรมการและเลขานุการ
14. นางสาวสโรชา มัฌชิโม ผู้ช่วยเลขานุการ
15. นางสาวเมตตา หมอนเขื่อน ผู้ช่วยเลขานุการ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | ix


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

รายชื่อคณะอนุกรรมการปรับปรุงมาตรฐาน ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3


มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
พ.ศ. 2557
ทีป่ รึกษา
1. นายอุทิศ จันทร์เจนจบ
2. นายลือชัย ทองนิล
คณะอนุกรรมการ
1. นายเกียรติ อัชรพงศ์ ประธานอนุกรรมการ
2. รศ.ไชยะ แช่มช้อย รองประธานอนุกรรมการ
3. นายสุธี ปิ่นไพสิฐ อนุกรรมการ
4. นายสถาพร รุ่งรัตนาอุบล อนุกรรมการ
5. นายจรูญ มาสุขใจ อนุกรรมการ
6. นายธีระ ริมปิรังษี อนุกรรมการ
7. นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล อนุกรรมการ
8. นายพงษ์พันธ์ ไชยะคา อนุกรรมการ
9. ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ อนุกรรมการ
10. ผศ.ดร.อรรถพล เง่าพิทักษ์กุล อนุกรรมการ
11. นายจิรัฏฐ์ มงคลวิเศษวรา อนุกรรมการ
12. นายรัฐพล ใหญ่สิงห์บุญ อนุกรรมการ
13. นายธีรชัย จุมพลเสถียร อนุกรรมการ
14. นางสุวิชญาน์ เมธมโนรมย์ อนุกรรมการ
15. นางสาววรรณรัตน์ วิวัฒนะ อนุกรรมการ
16. นายวิเชียร พิสุทธิ์เศวตกุล อนุกรรมการ
17. นายกิตติ สุขุตมตันติ อนุกรรมการและเลขานุการ
18. นางสาวสโรชา มัฌชิโม ผู้ช่วยเลขานุการ

x | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
รายชื่อคณะอนุกรรมการมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
และโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 4
พ.ศ. 2561
ที่ปรึกษา
1. ผศ.ดร.อุทัย ไชยวงศ์วิลาน
2. นายอุทิศ จันทร์เจนจบ
3. นายลือชัย ทองนิล
4. นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์
คณะอนุกรรมการ
1. ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ ประธานอนุกรรมการ
2. รศ.ไชยะ แช่มช้อย รองประธานอนุกรรมการ
3. รศ.ดร.อรรถพล เง่าพิทักษ์กุล อนุกรรมการ
4. ผศ.ดร.สาเริง ฮินท่าไม้ อนุกรรมการ
5. ดร.ศรีฉัตรา ไชยวงศ์วิลาน อนุกรรมการ
6. นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล อนุกรรมการ
7. นายธนิศ เผื่อนสา อนุกรรมการ
8. นายธีรชัย จุมพลเสถียร อนุกรรมการ
9. นายประสพ เพชรสกุลรัตน์ อนุกรรมการ
10. นายพงษ์พันธ์ ไชยะคา อนุกรรมการ
11. นายสถาพร รุ่งรัตนาอุบล อนุกรรมการ
12. นายสุธี ปิ่นไพสิฐ อนุกรรมการ
13. นายสุวัฒน์ บุญศักดิ์สกุล อนุกรรมการ
14. นางสุวิชญาน์ เมธมโนรมย์ อนุกรรมการ
15. นายกิตติ สุขุตมตันติ อนุกรรมการและเลขานุการ
16. นางสาวณัฐรียา อุ่นรัตนะ ผู้ช่วยเลขานุการ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | xi


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

สารบัญ
หน้า
ภาคที่ 1 นิยาม 1
ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน 5
2.1 ขอบเขต 5
2.2 การเตรียมการและการจดบันทึก 5
2.2.1 การเตรียมการ 5
2.2.2 แผนผังอาคาร 5
2.2.3 การจดบันทึก 5
2.3 การให้แสงสว่างฉุกเฉิน 6
2.3.1 การให้แสงสว่างเพื่อการหนีภัย 6
2.3.2 การให้แสงสว่างสารอง 6
2.4. ความส่องสว่างเพื่อการหนีภัย 7
2.4.1 ระดับความส่องสว่างขั้นต่า 7
2.4.2 ช่วงเวลาการส่องสว่าง 9
2.4.3 ความสม่าเสมอของการส่องสว่าง 9
2.4.4 ดัชนีสีที่ปรากฏทั่วไป 9
2.5. การออกแบบการให้แสงสว่างฉุกเฉิน 10
2.5.1 ทั่วไป 10
2.5.2 แหล่งจ่ายไฟฟ้าแสงสว่าง 10
2.5.3 การทางานของแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน 10
2.5.4 ความล้มเหลวของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน 10
2.5.5 การเลือกใช้โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน 10
2.6. การติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน 11
2.6.1 ตาแหน่งติดตั้ง 11
2.6.2 ระยะห่างสูงสุดระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 12
2.6.3 แสงบาดตาที่ทาให้เสียความสามารถในการมองเห็น (disability glare) 30
2.7 แบตเตอรี่ 31
2.7.1 ชนิดของแบตเตอรี่ 31
2.7.2 ความจุของแบตเตอรี่ 31
2.8 ระบบการเดินสายและข้อกาหนดของวงจร 32
2.8.1 ทั่วไป 32
2.8.2 การเดินสายไฟฟ้าสาหรับโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต่อพ่วง 32
2.9 การตรวจสอบ 33
2.9.1 การติดตั้งใหม่ 33
2.9.2 การตรวจสอบราย 3 เดือน 33
2.9.3 การตรวจสอบรายปี 33

xii | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
2.10 ใบรับรองและสมุดบันทึก 33
2.10.1 ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ 33
2.10.2 สมุดบันทึก 34
2.10.3 สถานที่และการจัดเก็บเอกสารของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน 34
ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร 35
3.1 ขอบเขต 35
3.2 บทนิยาม 35
3.3 ข้อกาหนดทั่วไป 36
3.3.1 ข้อกาหนดของป้าย 33
3.3.2 ข้อกาหนดด้านการส่องสว่าง 42
3.3.3 ข้อกาหนดในการทางาน 46
3.4 สภาวะทั่วไปสาหรับการทดสอบ 47
3.4.1 ข้อกาหนดทั่วไปในการทดสอบ 47
3.4.2 การทดสอบด้านการส่องสว่าง 47
3.5 การติดตั้งโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน และระยะห่าง 47
3.5.1 ความสูงของการติดตั้ง 47
3.5.2 ระยะห่างระหว่างป้ายทางออก 48
3.5.3 ระยะห่างระหว่างป้ายสูงสุด 49
3.5.4 การเดินสายและข้อกาหนดของอุปกรณ์โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต่อพ่วง 49
3.6 การตรวจสอบ 50
3.6.1 การติดตั้งใหม่ 50
3.6.2 การตรวจสอบราย 3 เดือน 50
3.6.3 การตรวจสอบรายปี 50
3.7 ใบรับรองและสมุดบันทึก 50
3.7.1 ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ 50
3.7.2 สมุดบันทึก 51
3.8 สถานที่และการจัดเก็บเอกสารของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน 51

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | xiii


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

สารบัญภาคผนวก

ภาคผนวก หน้า

ภาคผนวก ก การวัดความส่องสว่างในระบบแสงสว่างฉุกเฉิน 53
ภาคผนวก ข รายละเอียดและข้อแนะนาเรื่องระบบแบตเตอรี่ 55
ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ 59
ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ 71
ภาคผนวก จ ระยะเวลาจ่ายไฟฟ้าภาวะฉุกเฉินสาหรับไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
และป้ายทางออกฉุกเฉินในพื้นที่ต่างๆ 85
ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมป้ายทางออกฉุกเฉิน 89
ภาคผนวก ช ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงสาหรับภาวะฉุกเฉิน 101

xiv | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

สารบัญตาราง
ตาราง หน้า

ตารางที่ 2.1 แนวทางการต้องการไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินจากตัวอย่างห้องในรูปที่ 2.1 12


ตารางที่ 2.2 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท A ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 13
ตารางที่ 2.3 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท B ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 14
ตารางที่ 2.4 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท C ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 15
ตารางที่ 2.5 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท D ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 16
ตารางที่ 2.6 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท E ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 17
ตารางที่ 2.7 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท A ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 18
ตารางที่ 2.8 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท B ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 19
ตารางที่ 2.9 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท C ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 20
ตารางที่ 2.10 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าฉุกเฉินประเภท D ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 21
ตารางที่ 2.11 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท E ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 22
ตารางที่ 2.12 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท F ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 25
ตารางที่ 2.13 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท F ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 26
ตารางที่ 2.14 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท G ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 28
ตารางที่ 2.15 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท G ที่ระดับ
ความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์ ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน 29
ตารางที่ 2.16 ความเข้มส่องสว่างสูงสุดในแต่ละพื้นที่ 31
ตารางที่ 3.1 โคออร์ดิเนตสีของวัสดุโปร่งแสง 40
ตารางที่ 3.2 ขนาดของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน 42
ตารางที่ 3.3 ขนาดของพื้นที่วัดความสว่าง 42
ตารางที่ 3.4 ตาแหน่งจุดวัดค่าความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีเขียว 42
ตารางที่ 3.5 ตาแหน่งจุดวัดค่าความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีขาว 45
ตารางที่ 3.6 ระยะห่างระหว่างป้ายสูงสุดของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน 49
วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | xv
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

สารบัญรูป

รูป หน้า

รูปที่ 2.1 ส่วนต่างๆ ของการให้แสงสว่างฉุกเฉิน 6


รูปที่ 2.2 ระดับความส่องสว่างในแนวระดับที่พื้นในพื้นที่โล่งภายในอาคารที่ไม่มีทางหนีภัยที่ชัดเจน 7
รูปที่ 2.3 ระดับความส่องสว่างของทางหนีภัยที่กว้างไม่เกิน 2 เมตรในแนวระดับที่พื้น 8
รูปที่ 2.4 ระดับความส่องสว่างของทางหนีภัยที่กว้างเกิน 2 เมตรในแนวระดับที่พื้น 8
รูปที่ 2.5 ตัวอย่างการให้แสงสว่างบริเวณเก็บอุปกรณ์ดับเพลิง และพื้นที่เก็บอุปกรณ์ปฐมพยาบาล 9
รูปที่ 2.6 สัญลักษณ์โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน 10
รูปที่ 2.7 ตัวอย่างห้องที่ต้องการไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน 12
รูปที่ 2.8 ลักษณะการกระจายแสงของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท A ถึง E 24
รูปที่ 2.9 ลักษณะการกระจายแสงของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท F 27
รูปที่ 2.10 ลักษณะการกระจายแสงของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท G 30
รูปที่ 2.11 โซนที่ใช้ในการพิจารณาแสงบาดตาที่ทาให้เสียความสามารถในการมองเห็น
สาหรับทางหนีภัยแนวราบ 30
รูปที่ 2.12 โซนที่ใช้ในการพิจารณาแสงบาดตาที่ทาให้เสียความสามารถในการมองเห็นสาหรับ
ทางหนีภัยอื่นๆ 31
รูปที่ 3.1 ตัวอย่างองค์ประกอบของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน 36
รูปที่ 3.2 องค์ประกอบภาพที่กาหนด 37
รูปที่ 3.3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่ใช้องค์ประกอบภาพ 1 ชิ้น 38
รูปที่ 3.4 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่ใช้องค์ประกอบภาพ 2 ชิ้น 39
รูปที่ 3.5 ขอบเขตตาแหน่งสีของสีเขียว และสีขาวของวัสดุโปร่งแสง 41
รูปที่ 3.6 ตาแหน่งจุดวัดค่าความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีเขียว 44
รูปที่ 3.7 ตาแหน่งจุดวัดค่าความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีขาว 46
รูปที่ 3.8 แสดงการติดตั้งป้ายทางออก 48
รูปที่ 3.9 การติดตั้งป้ายทางออกใกล้พื้นเสริมกับป้ายทางออกด้านบน 49

xvi | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 1
นิยาม
1.1 การกระตุ้น (excitation) หมายถึง กระบวนการที่อัลตราไวโอเลตหรือรังสีที่มองเห็นได้ทาให้สารเรืองแสง
(phosphorescent) สามารถเปล่งแสงได้
1.2 การให้แสงสว่างงานความเสี่ยงสูง (high-risk task lighting) หมายถึง ส่วนของการให้แสงสว่างฉุกเฉิน
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานหรือสถานการณ์ที่อันตราย และเพื่อให้สามารถยกเลิกงาน
หรือกระบวนการได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
1.3 การให้แสงสว่างฉุกเฉิน (emergency lighting) หมายถึง การให้แสงสว่างเมื่อแหล่งจ่า ยไฟฟ้าปกติ
ล้มเหลว การให้แสงสว่างฉุกเฉินรวมถึง การให้แสงสว่างเพื่อการหนีภัย (escape lighting) และการให้แสง
สว่างสารอง (standby lighting)
1.4 การให้แสงสว่างเพื่อการหนีภัย (escape lighting) หมายถึง ส่วนของการให้แสงสว่างฉุกเฉินที่ให้ความ
ส่องสว่างพอเพียงเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องออกจากพื้นที่ได้อย่างปลอดภัย รวมถึงพื้นที่เตรียมการหนีภัยและพื้นที่
เก็บอุป กรณ์ดับ เพลิง อุปกรณ์แจ้งเหตุ และอุปกรณ์ปฐมพยาบาล หรือเพื่อใช้ในการยกเลิกงาน หรือ
กระบวนการที่อันตรายก่อนออกจากพื้นที่
1.5 การให้แสงสว่างสารอง (standby lighting) หมายถึง ส่วนของการให้แสงสว่างฉุกเฉินที่ทาให้สามารถ
ดาเนินกิจกรรมต่อไปได้ตามปกติ หรือสามารถยกเลิกกิจกรรมนั้นได้อย่างปลอดภัย การให้แสงสว่างนี้อาจมี
ความส่องสว่างน้อยกว่าการให้แสงสว่างปกติ
1.6 เครื่องหมายทางหนีภัยแบบเปล่งแสง (photoluminescent escape route marker) หมายถึง
เครื่องหมายของระบบนาทางที่มองเห็นได้ง่ายแม้แสงโดยรอบต่าลง
1.7 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน (emergency luminaire) หมายถึง โคมไฟฟ้าที่มีอุปกรณ์สาหรับการให้แสง
สว่างฉุกเฉิน
1.8 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินคงแสง (maintained emergency luminaire) หมายถึง โคมไฟฟ้าซึ่ง
หลอดไฟฟ้าให้แสงสว่างฉุกเฉินได้รับพลังงานไฟฟ้าตลอดเวลาจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติ หรือ แหล่งจ่ายไฟฟ้า
ฉุกเฉิน
1.9 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ (self-contained emergency luminaire) หมายถึง โคม
ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินคงแสงหรือไม่คงแสง ซึ่งอุปกรณ์ทั้งหมด เช่น แบตเตอรี่ หลอดไฟฟ้า ชุดควบคุม
อุปกรณ์ทดสอบและอุปกรณ์แสดงสภาวะประกอบอยู่ภายในโคม หรือใกล้โคมภายในระยะ 1 เมตรของสาย
ต่อ
1.10 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต่อพ่วง (slave emergency luminaire) หมายถึง โคมไฟฟ้ารับไฟจาก
ระบบแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินส่วนกลาง และไม่มีแหล่งจ่ายไฟฟ้าภายในโคม
1.11 โคมไฟฟ้ า แสงสว่า งฉุ กเฉิ น ในพื้ น ที่อั น ตราย หมายถึ ง โคมไฟฟ้ า แสงสว่า งฉุ กเฉิ น ที่ส ามารถใช้ไ ด้ ใ น
สภาพแวดล้อมพิเศษ โดยเป็นโคมไฟฟ้าที่มีลักษณะปลอดภัยสาหรับการใช้ในพื้นที่อันตราย อาทิเช่น พื้นที่ที่
อาจจะเต็ มไปด้ว ยก๊ าซไวไฟ ไอน้ า ฝุ่ น ละออง อุปกรณ์ ไฟฟ้า ที่ ใช้ ในพื้น ที่เ หล่ า นี้มี ความจาเป็น ต้อ งถู ก
ภาคที่ 1 นิยาม
ออกแบบและทดสอบมาอย่างพิเศษ เพื่อให้มั่นใจว่าอุปกรณ์ไฟฟ้าจะไม่ก่อให้เกิดการระเบิด ประกายไฟ
หรือมีพื้นผิวที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟของก๊าซ หรือสารไวไฟในบริเวณนั้น
1.12 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินในห้องเย็น หมายถึง โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่สามารถใช้ได้ในห้องสาหรับ
เก็บรักษาสินค้า โดยมีกระบวนการควบคุมอุณหภูมิเพื่อป้องกันและรักษาคุณภาพของสินค้า
1.13 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินไม่คงแสง (non-maintained emergency luminaire) หมายถึง โคมไฟฟ้า
ซึ่งหลอดไฟฟ้าให้แสงสว่างฉุกเฉินจะทางานเฉพาะเมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติล้มเหลว
1.14 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิ นร่ วม (combined emergency luminaire) หมายถึง โคมไฟฟ้า
ประกอบด้วยหลอดสองหลอดหรือมากกว่าที่อย่างน้อยหนึ่งหลอดได้รับไฟจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน และ
หลอดที่เหลือได้รับไฟจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติ โคมไฟฟ้าแสงสว่ างฉุกเฉินร่วมเป็นได้ทั้งแบบคงแสง หรือไม่
คงแสง
1.15 ช่วงเวลาที่สิ้นสุดการเปล่งแสง (period of light decay) หมายถึง ช่วงเวลาหลังจากสิ้นสุดการกระตุ้น
ซึ่งความส่องสว่างลดลงเหลือ 0.3 mcd ต่อตารางเมตร
1.16 ชุดควบคุม (control unit) หมายถึง ชุดที่ประกอบด้วยระบบถ่ายโอนแหล่งจ่ายไฟฟ้า อุปกรณ์ประจุ
แบตเตอรี่ และอุปกรณ์ทดสอบสาหรับชุดควบคุมที่ใช้กับหลอดฟลูออเรสเซนต์อาจรวมบัลลาสต์ไว้ข้างใน
ด้วย
1.17 ทางหนีภัย (escape route) หมายถึง ทางที่ประกอบเป็นส่วนหนึ่งสาหรับหนีภัยจากจุดหนึ่งในอาคารไป
ยังทางออกสุดท้าย
1.18 ทางออกสุดท้าย (final exit) หมายถึง ปลายทางของทางหนีภัย ซึ่งทาให้คนไม่ตกอยู่ในอันตรายเนื่องจาก
ไฟไหม้
1.19 ป้ายทางออกฉุกเฉิน (emergency exit sign) หมายถึง ป้ายที่ใช้แสดงทางออกฉุกเฉิน หรือทางหนีภัย
ป้ายทางออกสว่างในตัว (internally illuminated exit sign) หมายถึง ป้ายสว่างในตัว ที่มีองค์ประกอบ
ภาพตามตัวอย่างในรูปที่ 3-1
1.20 พิ กั ด ช่ ว งเวลาการส่ อ งสว่ า งฉุ ก เฉิ น (rated duration of emergency operation) หมายถึ ง
ระยะเวลาที่โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินสามารถให้ปริมาณแสงออกจากโคมตามพิกัดได้
1.21 พิ กั ด ปริ ม าณแสงของโคมไฟฟ้ า แสงสว่ า งฉุ ก เฉิ น (rated lumen output of emergency
luminaire) หมายถึง ปริมาณแสงที่กาหนดโดยผู้ผลิต หลังจากที่ไฟฟ้าปกติเกิดล้มเหลวภายใน 60 วินาที
(ภายใน 0.5 วินาที สาหรับพื้นที่งานอันตราย) และต่อเนื่องถึงพิกัดช่วงเวลาการส่องสว่างฉุกเฉิน
1.22 พื้นที่งานความเสี่ยงสูง หมายถึง พื้นที่ซึ่งมีการทางานเคลื่อนไหวหรือหมุนทางกลของเครื่องจักร เครื่อง
เลื่อย พัดลม เครื่องปั๊ม เครื่องตัดเหล็ก ฯลฯ หรือ พื้นที่ที่มีการใช้เชื้อเพลิงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ห้องครัว
ห้องไฟฟ้า ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า พื้นที่โรงงานที่มีมอเตอร์หมุน พื้นที่เก็บวัตถุอันตราย เป็นต้น
1.23 ระบบนาทางติดตั้งต่าใช้ไฟฟ้า (electrical low mounted way guidance system) หมายถึง เส้น
หรือรอยที่เปล่งแสงได้โดยใช้วงจรไฟฟ้าในภาวะที่ แหล่งจ่ายไฟฟ้าแสงสว่างปกติเกิดล้มเหลว โดยติดตั้งสูง
จากพื้นไม่เกิน 1.8 เมตรในทางหนีภัยและใช้ร่วมกับเครื่องหมายนาทาง (directional indicator)
1.24 ระบบนาทางติดตั้งต่าไม่ใช้ไฟฟ้า (non-electrical low mounted way guidance system)
หมายถึง เส้นหรือรอยที่เปล่งแสงได้โดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าในภาวะที่ แหล่งจ่ายไฟฟ้าแสงสว่างปกติเกิดล้มเหลว

2 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 1 นิยาม
โดยติดตั้ง สู งจากพื้น ไม่เกิน 1.8 เมตรในทางหนีภั ย และใช้ ร่ ว มกับ เครื่องหมายนาทาง (directional
indicator)
1.25 ระบบเปล่งแสง (photoluminescent system) หมายถึง ระบบนาทางติดตั้งต่าไม่ใช้ไฟฟ้าที่มีสาร
เปล่งแสงได้หากถูกกระตุ้นด้วยอัลตราไวโอเลตหรือรังสีที่มองเห็นได้ ซึ่งพลังงานที่เก็บไว้ จะปล่อยออกมา
เป็นแสงเมื่อความส่องสว่างน้อยลง
1.26 ศูนย์สั่งการดับเพลิง (fire command centre) หมายถึง ศูนย์กลางการติดต่อสื่อสารสาหรับพนักงาน
ดับเพลิง ในช่วงปฏิบัติหน้าที่ภายในอาคารที่กาลังเกิดเพลิงไหม้ ระหว่างพนักงานดับเพลิงด้วยกันเอง และ
พนักงานดับเพลิงกับผู้ใช้อาคาร และสาหรับผู้มีหน้าที่ด้านความปลอดภัยประจาอาคารกับผู้ใช้อาคาร เพื่อ
ปฏิบัติงานในสภาวะปกติและสภาวะฉุกเฉิน
1.27 สภาวะฉุกเฉิน (emergency mode) หมายถึง สภาวะของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินให้แสงสว่าง โดยรับ
ไฟจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน ขณะเกิดสภาวะล้มเหลวของแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติ
1.28. สภาวะปกติ (normal mode) หมายถึง สภาวะของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่พร้อมทางานในสภาวะ
ฉุกเฉิน ขณะที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติทางาน ในกรณีที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติล้มเหลวโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
ต้องเปลี่ยนสภาวะการทางานจากสภาวะปกติไปเป็นสภาวะฉุกเฉินอัตโนมัติ และเมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติคืน
สภาพดังเดิมโคมไฟฟ้าก็กลับไปที่สภาวะปกติอัตโนมัติ
1.29 สภาวะพัก (rest mode) หมายถึง สภาวะของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่ให้ดับลง เมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้า
ปกติล้มเหลว และเมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติคืนสภาพดังเดิมโคมไฟฟ้าก็กลับไปที่สภาวะปกติอัตโนมัติ
1.30 สภาวะล้มเหลวของแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติ (normal supply failure) หมายถึง สภาวะที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า
ปกติมีแรงดันไฟฟ้าไม่สามารถทาให้โคมไฟฟ้าทั่วไปให้แสงสว่างเพียงพอต่อการหนีภัย ที่แรงดันไฟฟ้า
ดังกล่าวระบบให้แสงสว่างฉุกเฉินต้องเริ่มทางาน
1.31 สายทนไฟ (fire resistant cable) หมายถึง สายไฟฟ้าที่มีฉนวนชั้นในของสายไฟ เป็นวัสดุชนิดทนไฟ และ
ฉนวนชั้นนอกเป็นวัสดุชนิดที่ไม่ทาให้เกิดไฟลามง่าย มีควันน้อยเมื่อถูกเปลวไฟ และไม่มีส่วนผสมของกลุ่ม
ธาตุฮาโลเจน ตามมาตรฐาน BS 6387 ระดับชั้น AWX หรือตามมาตรฐาน IEC 60331

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 3


ภาคที่ 2
ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

2.1 ขอบเขต
มาตรฐานนี้มีไว้เพื่อใช้เป็นข้อกาหนดในการออกแบบ ติดตั้งและตรวจสอบสาหรับการใช้งานระบบไฟฟ้า
แสงสว่ างฉุกเฉิน มาตรฐานนี้ กาหนดตามเกณฑ์อย่างต่าของความปลอดภัย ในกรณีที่ มีกฎหมายหรื อ
ข้อบังคับอื่นใดนอกเหนือจากมาตรฐานนี้ให้ทาตามกฎหมายหรือข้อบังคับอื่นที่กาหนดไว้ นอกเหนือจากนั้น
ให้เป็นไปตามมาตรฐานการออกแบบ และการติดตั้งนี้
2.2 การเตรียมการและการจดบันทึก
2.2.1 การเตรียมการ
ความปลอดภัยเนื่องจากการให้แสงสว่างฉุกเฉินควรได้รับความร่วมมือจากเจ้าของ ผู้ครอบครองพื้นที่ใช้
งาน สถาปนิก วิศวกร ผู้รับจ้าง เจ้าหน้าที่ของรัฐ และผู้ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่เริ่มโครงการ นอกเหนือจาก
มาตรฐานนี้ผู้ร่วมงานทั้งหมดต้องนากฎหมาย ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องมาร่วมพิจารณาด้วย
2.2.2 แผนผังอาคาร
ต้องเตรียมแผนผังอาคารซึ่งแสดงทางหนีภัย อุปกรณ์พื้นฐานระบบดับเพลิง เช่น จุดติดตั้งอุปกรณ์แจ้ง
เหตุด้วยมือ อุปกรณ์ผจญเพลิง อุปกรณ์สื่อสาร อุปกรณ์ปฐมพยาบาล รวมถึงแสดงตาแหน่งของวัสดุ
อุปกรณ์ โครงสร้าง หรืออย่างอื่นที่อาจกีดขวางทางหนีภัย เพื่อใช้ในการเตรียมการตามข้อ 2.2.1
2.2.3 การจดบันทึก
เจ้าของอาคารต้องจัดเตรียมสิ่งต่าง ๆ ดังนี้
(1) แบบแสดงการติดตั้งจริ งของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน แบบดังกล่ าวต้องมีการแก้ไขเพื่อให้
ทันสมัยตลอดเวลาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระบบ
(2) สมุดบั นทึกที่บันทึกผลการตรวจสอบประจา การทดสอบ การเปลี่ยนแปลง และข้อบกพร่องที่
เกิดขึ้น
(3) คู่มือของการทางานและการบารุงรักษา

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 5


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

2.3 การให้แสงสว่างฉุกเฉิน
การให้แสงสว่างฉุกเฉิน แบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ได้ ดังรูปที่ 2.1

รูปที่ 2.1 ส่วนต่างๆ ของการให้แสงสว่างฉุกเฉิน

2.3.1 การให้แสงสว่างเพื่อการหนีภัย
การให้แสงสว่างเพื่อการหนี ภัย ไม่ได้มีไว้เพื่อให้แสงสว่างเฉพาะเมื่อระบบจ่ายไฟฟ้าปกติทั้งระบบ
ล้มเหลวแต่เพียงอย่างเดียว แต่มีไว้เพื่อให้แสงสว่างเมื่อระบบจ่ายไฟฟ้าปกติล้มเหลวเพียงบางส่วนที่อาจ
นาไปสู่การเกิดอันตรายขึ้นได้หรือเป็นแสงสว่างในเส้นทางหนีภัย เช่น เมื่อวงจรไฟฟ้าแสงสว่างบริเวณ
บันไดหนีภัยเสีย ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินเพื่อการหนีภัยที่ติดตั้งอยู่ในพื้นที่นั้นต้องทางาน
การให้แสงสว่างเพื่อการหนีภัยสาหรับอาคารที่มีผู้อยู่อาศัยและใช้งานต้องเป็นไปตามข้อกาหนดต่าง ๆ
ดังนี้
(1) เพื่อให้เห็นทางหนีภัยชัดเจน และหนีภัยได้อย่างปลอดภัย
(2) เพื่อให้เห็ น อุปกรณ์แจ้งเหตุด้ว ยมือ และอุปกรณ์ผจญเพลิงที่ติดตั้งตามเส้ นทางหนีภัย ได้อย่าง
ชัดเจน
(3) เพื่อให้เห็นอุปกรณ์ปฐมพยาบาลที่จาเป็นได้ชัดเจน
2.3.2 การให้แสงสว่างสารอง
(1) สาหรับพื้นที่ที่ต้องมีกิจกรรมต่อเนื่อง เมื่อระบบจ่ายไฟฟ้าปกติทั้งระบบล้มเหลว ควรติดตั้งระบบ
ไฟฟ้าสารองจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เพื่อให้มีความส่องสว่างเหมาะสมสาหรั บกิจกรรมนั้นๆ หรือใน
บางกรณีอาจต้องให้ความส่องสว่างไฟฟ้าสารองเท่ากับความส่องสว่างในสภาพจ่ายจากไฟฟ้าปกติ
(2) ในกรณีที่การให้แสงสว่างสารองนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการให้แสงสว่างเพื่อการหนีภัย ต้องแยกส่วน
ของการให้ แสงสว่างเพื่อการหนีภัยจากวงจรการให้ แสงสว่างส ารองทั่ ว ไป และให้ เป็นไปตาม
มาตรฐานนี้

6 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

(3) ในกรณีที่การให้แสงสว่างสารองทั้งหมดใช้สาหรับการให้แสงสว่างเพื่อการหนีภัยด้วย การติดตั้ง


ระบบการให้แสงสว่างต้องให้เป็นไปตามมาตรฐานนี้
2.4 ความส่องสว่างเพื่อการหนีภัย
การหนี ภั ย ตามทางหนี ภัย เพื่อ ไปออกที่ ทางออกสุ ด ท้ายได้อ ย่างปลอดภัย ต้ องอาศัย ความส่ อ งสว่ างที่
เหมาะสม เพื่อให้สามารถมองเห็นอันตรายหรือมองเห็นการเปลี่ยนระดับพื้น และการเปลี่ยนทิศทางของ
เส้ น ทางหนี ภั ย รวมถึ งความส่ องสว่า งส าหรับ อุป กรณ์จ าเป็น เช่น อุป กรณ์ดั บเพลิ ง อุป กรณ์แ จ้ง เหตุ
อุปกรณ์ปฐมพยาบาลที่จาเป็น รวมถึงพื้นที่เตรียมการหนีภัยอย่างเพียงพอ
2.4.1 ระดับความส่องสว่างขั้นต่า
ในกรณีที่ร ะบบจ่ายไฟฟ้าปกติล้มเหลว ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต้องให้ มีความส่องสว่างเพื่อให้
หาทางออกได้อย่างปลอดภัย
2.4.1.1 พื้นที่โล่งภายในอาคารที่ไม่มีทางหนีภัยที่ชัดเจน
กาหนดให้มีระดับความส่องสว่างในแนวระดับที่พื้นทั่วพื้นที่ที่ไม่มีสิ่งกีดขวางต้องไม่น้อยกว่า 0.5 ลักซ์
ยกเว้นพื้นที่ที่ห่างจากผนังในระยะ 0.5 เมตร โดยรอบ ดังรูปที่ 2.2

รูปที่ 2.2 ระดับความส่องสว่างในแนวระดับที่พื้น ในพื้นที่โล่งภายในอาคารที่ไม่มีทางหนีภัยที่ชัดเจน

2.4.1.2 ทางหนีภัยที่มีความกว้างไม่เกิน 2 เมตร


กาหนดให้มีระดับความส่องสว่างในแนวระดับที่พื้นที่เส้นกึ่งกลางของทางหนีภัย ไม่น้อยกว่า 1 ลักซ์
และบนแถบกลางทางหนีภัยที่มีความกว้างไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของทางหนีภัย ต้องมีความส่องสว่างไม่
น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของความส่องสว่างต่าสุดที่ออกแบบไว้บนเส้นกึ่งกลางทางหนีภัย ดังรูปที่ 2.3

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 7


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

รูปที่ 2.3 ระดับความส่องสว่างของทางหนีภัยที่กว้างไม่เกิน 2 เมตรในแนวระดับที่พื้น

2.4.1.3 ทางหนีภัยที่มีความกว้างเกิน 2 เมตร


กาหนดให้มีระดับค่าความส่องสว่างเป็นอย่างหนึ่งอย่างใด ดังรูปที่ 2.4 ดังนี้
(1) ให้แบ่งความกว้างทางหนีภัยเป็นแถบกว้างเท่าๆ กัน แถบละไม่เกิน 2 เมตร และออกแบบตามข้อ
2.4.1.2
(2) กาหนดให้มีระดับความส่องสว่างในแนวระดับที่พื้นทั่วพื้นที่ที่ไม่มีสิ่งกีดขวาง ตามข้อ 2.4.1.1

รูปที่ 2.4 ระดับความส่องสว่างของทางหนีภัยที่กว้างเกิน 2 เมตรในแนวระดับที่พื้น

8 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

2.4.1.4 พื้นที่งานที่มีความเสี่ยงสูง
ความส่องสว่างที่พื้นที่ทางานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของค่าระดับความส่องสว่างในเวลาปกติ แต่ต้อง
ไม่น้อยกว่า 15 ลักซ์
2.4.1.5 พื้นที่เตรียมการหนีภัย
จุดรวมพลเพื่อการหนีภัยภายในอาคาร พื้นที่ปฏิ บัติงานของพนักงานดับเพลิง เจ้าหน้าที่พนักงานกู้ภัย
รวมถึงห้องควบคุมการปฏิบัติงาน ความส่องสว่างในแนวระดับที่พื้น ต้องไม่น้อยกว่า 15 ลักซ์
2.4.1.6 พื้นที่เก็บอุปกรณ์ดับเพลิง อุปกรณ์แจ้งเหตุ และพื้นที่เก็บอุปกรณ์ปฐมพยาบาล
ความส่องสว่างในแนวระนาบดิ่งที่ตาแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ ต้องไม่น้อยกว่า 5 ลักซ์ โดยตาแหน่งโคมไฟฟ้า
แสงสว่างฉุกเฉินต้องติดตั้งในระยะห่างไม่เกิน 2 เมตร จากจุดกึ่งกลางของตาแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ ดัง
แสดงในรูปที่ 2.5

รูปที่ 2.5 ตัวอย่างการให้แสงสว่างบริเวณเก็บอุปกรณ์ดับเพลิง และพื้นที่เก็บอุปกรณ์ปฐมพยาบาล

2.4.2 ช่วงเวลาการส่องสว่าง
ความส่ องสว่า งเพื่อ การเคลื่ อนไหวที่ปลอดภัย ต้องมีค วามส่ อ งสว่า งตามพิ กัดที่ก าหนดในข้อ 2.4.1
ได้ต่อเนื่องนานไม่น้อยกว่า 120 นาที
2.4.3 ความสม่าเสมอของการส่องสว่าง
ความสม่าเสมอของการส่องสว่างของพื้นที่ ให้เป็นดังนี้
(1) อัตราส่วนระหว่างความส่องสว่างเฉลี่ยกับความส่องสว่างต่าสุด ต้องไม่เกิน 10 ต่อ 1 สาหรับพื้นที่
งานความเสี่ยงสูง พื้นที่เตรียมการหนีภัย จุดรวมพลเพื่อการหนีภัยภายในอาคาร พื้นที่ปฏิบัติงาน
ของพนักงานดับเพลิง เจ้าหน้าที่พนักงานกู้ภัย รวมถึงห้องควบคุมการปฏิบัติงาน
(2) อัตราส่วนระหว่างความส่องสว่างสูงสุดกับความส่องสว่างต่าสุดต้องไม่เกิน 40 ต่อ 1 สาหรับเส้น
กึ่งกลางของทางหนีภัย และพื้นที่โล่งภายในอาคาร
2.4.4 ดัชนีสีที่ปรากฏทั่วไป
แหล่งกาเนิดแสงที่ใช้ ต้องมีดัชนีสีที่ปรากฏทั่วไปไม่ต่ากว่า 40 (Ra ≥ 40)

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 9


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

2.5 การออกแบบการให้แสงสว่างฉุกเฉิน
2.5.1 ทั่วไป
การให้แสงสว่างฉุกเฉินใช้เมื่อแสงสว่างจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติล้มเหลว ดังนั้นต้องมีแหล่งจ่ายไฟอิสระ
ที่ไม่ขึ้นกับแหล่งจ่ายไฟฟ้าแสงสว่างปกติ
ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินภายในลิฟต์ให้เป็นไปตามมาตรฐานระบบลิฟต์ของ วสท (วสท.3012)
2.5.2 แหล่งจ่ายไฟฟ้าแสงสว่าง
(1) ในสภาวะปกติ แหล่งจ่ายไฟโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต้องมาจากแหล่งจ่ายไฟที่มีความเชื่อถือได้สูง
เช่น จากการไฟฟ้า ฯ
(ก) สาหรับโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จต้องใช้วงจรไฟฟ้าเดียวกันกับวงจรไฟฟ้าแสง
สว่างโดยไม่ผ่านสวิตช์เปิด-ปิดในพื้นที่นั้น ๆ
(ข) ส่วนโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินในอาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ หรืออาคารสูง
ต้องมีวงจรไฟฟ้าของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินแยกต่างหาก โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต้อง
ทางานเมื่อวงจรไฟฟ้าปกติในพื้นที่นั้น ๆ ล้มเหลว
(2) ในสภาวะฉุกเฉิน แหล่งจ่ายไฟโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต้องมาจากแบตเตอรี่ ซึ่งต้องเป็นชนิดที่มี
ความเชื่อถือได้สูง สามารถประจุกลับเข้าไปใหม่ได้เองโดยอัตโนมัติ ไม่อนุญาตให้ใช้เครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าเป็นแหล่งจ่ายไฟให้กับโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ทั้งนี้วงจรที่จ่ายไฟฟ้าให้แหล่งจ่ายไฟฟ้าแสง
สว่างฉุกเฉินต้องรับไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติเท่านั้น
2.5.3 การทางานของแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน
(1) แหล่ งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินต้องสามารถทางานได้เมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติล้ มเหลว หรือเมื่อเครื่อง
ป้องกันกระแสเกินเปิดวงจร
(2) แหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินต้องทางานได้อย่างต่อเนื่องและทางานได้อีกโดยอัตโนมัติ
2.5.4 ความล้มเหลวของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
การให้แสงสว่างฉุกเฉินแบบโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต่อพ่วง เมื่อโคมไฟฟ้าใดเสียหรือไม่ทางานต้องไม่
กระทบต่อการทางานของระบบโดยรวม
2.5.5 การเลือกใช้โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
(1) โครงสร้างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จหรือโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต่อพ่วงต้องเลือกใช้
ชนิ ดที่มี ร ะดับ การป้ องกัน ความชื้นและฝุ่ นให้ เหมาะสมกั บสถานที่ใช้ งาน กรณีที่ ใช้ในสถานที่
อันตราย (hazardous area) ต้องใช้โคมกันระเบิด
(2) สัญลักษณ์โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน แสดงดังรูปที่ 2.6

รูปที่ 2.6 สัญลักษณ์โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

10 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน จะต้องติดตัวสัญลักษณ์ที่มีสีขาว-ดา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อย


กว่า 10 มิลลิเมตร ในตาแหน่งที่มองเห็นได้ชัดเจนจากด้านล่าง ยกเว้นกรณีที่ไม่มีพื้นผิวของโคม
ไฟให้ติดตั้งได้
(3) การติดไฟ โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่ใช้กับทางหนีภัยควรเป็นชนิดต้านทานต่อเปลวไฟและการ
ติดไฟ
(4) โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ต้องให้ปริมาณแสงของโคมไฟฟ้าออกมาได้กึ่งหนึ่งของพิกัดตามที่ผู้ผลิต
แจ้งภายใน 5 วินาที และเต็มพิกัดตามที่ผู้ผลิตแจ้งภายใน 60 วินาที หลังจากที่แหล่งจ่ ายไฟปกติ
ล้มเหลว
(5) โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่ใช้สาหรับพื้นที่งานอันตราย ต้องให้ปริมาณแสงของโคมไฟฟ้าออกมาได้
พิกัดตามที่ผู้ผลิตแจ้งภายใน 0.5 วินาที หลังจากที่แหล่งจ่ายไฟปกติล้มเหลว
(6) อุปกรณ์ประจุแบตเตอรี่ต้องสามารถอัดประจุได้เต็มภายในเวลา 24 ชั่วโมง
(7) โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ต้องมีอุปกรณ์สาหรับการทดสอบระบบ เพื่อจาลองความล้มเหลวของ
แหล่งจ่ายไฟปกติ และกลับสู่สภาพปกติโดยอัตโนมัติ ในกรณีที่แบตเตอรี่ไม่สามารถจ่ายไฟได้นาน
ถึง 60 นาที ในระหว่างการทดสอบ ระบบต้องมีสัญญาณแสดงความล้มเหลวของแบตเตอรี่
2.6 การติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
2.6.1 ตาแหน่งติดตั้ง
โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต้องติดตั้งในบริเวณเส้นทางหนีภัย ในตาแหน่งที่มองเห็นโคมไฟฟ้าได้ชัดเจน
จากด้านล่าง และสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 2 เมตร โดยวัดจากพื้นถึงด้านล่างของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
กรณีติดตั้งต่ากว่า 2 เมตร จะต้องไม่กีดขวางเส้นทางหนีภัย
บริเวณที่ต้องติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน มีดังนี้
(1) เส้นทางหนีภัยและบริเวณทางออก
(2) บริเวณภายนอกหลังจากออกจากอาคารแล้ว ต้องมีความส่องสว่างอย่างต่าอยู่ในระดับเดียวกันกับ
ความส่องสว่างก่อนออกจากอาคาร
(3) ทางแยก ให้ติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินห่างจากทางแยกไม่เกิน 2 เมตร ในแนวระดับ
(4) ทางเลี้ยว ให้ติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินห่างจากทางเลี้ยวไม่เกิน 2 เมตร ในแนวระดับจากจุด
เปลี่ยนทิศทาง หรือทางเลี้ยว
(5) พื้น เปลี่ ยนระดับ ให้ ติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินห่ างไม่ เกิน 2 เมตร ในแนวระดับจากพื้น
เปลี่ยนระดับ
(6) บันได ในกรณีที่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของทางหนีภัย ให้ติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินให้แสงส่อง
สว่างถึงขั้นบันไดทุกขั้นโดยตรง
(7) พื้นที่ปฏิบัติงานของพนักงานดับเพลิง เจ้าหน้าที่พนักงานกู้ภัยในลิฟต์ดับเพลิง พื้นที่ จุดแจ้งเหตุ
เพลิงไหม้ จุดติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง พื้นที่เตรียมการหนีภัย และพื้นที่เก็บอุปกรณ์ปฐมพยาบาล
(8) บริเวณพื้นที่งานอันตราย รวมถึงห้องเครื่องไฟฟ้าเครื่องกล ห้องควบคุม ห้องต้นกาลัง ห้องสวิตช์
และบริเวณใกล้กับอุปกรณ์ควบคุมการจ่ายไฟแสงสว่างปกติและไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
(9) ห้องน้า ให้ติดตั้งในห้องน้าทั่วไปที่มีพื้นที่มากกว่า 8 ตารางเมตร และห้องน้าสาหรับคนพิการ
(10) บันไดเลื่อนและทางเลื่อน ในกรณีที่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของทางหนีภัย

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 11


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

(11) พื้นที่เปิดโล่งภายในอาคาร พื้นที่สานักงาน ร้านค้า ห้องประชุม หรือห้องที่มีคนอาศัยที่มีขนาด


มากกว่า 60 ตารางเมตร
(12) บริเวณภายนอกประตูดาดฟ้าและบริเวณพื้นที่รอการหนีภัยทางอากาศ
(13) บริเวณพื้นที่หรือห้องพักเพื่อรอการหนีภัยภายในอาคาร

ตัวอย่างพื้นที่ที่ต้องการไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินแสดงในรูปที่ 2.7 และตารางที่ 2.1

รูปที่ 2.7 ตัวอย่างห้องที่ต้องการไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.1 แนวทางการต้องการไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินจากตัวอย่างห้องในรูปที่ 2.7


พื้นที่ ขนาดห้อง หน้าที่และความสัมพันธ์ ไฟฟ้าแสง
สว่างฉุกเฉิน
เส้นทาง (2x17) ม. ทางเดินไปทางออก ต้องการแสงสว่างที่จุดเปลี่ยน ต้องการ
หนีภัย ทิศทาง, ทางออก และนอกอาคารไปพื้นที่ปลอดภัย
ห้อง 1 (3x9) ม. = 27 ตร.ม. สานักงานขนาดเล็กกว่า 60 ตร.ม. ซึ่งไม่มีความเสี่ยง ไม่ต้องการ
ห้อง 2 (3x4) ม. = 12 ตร.ม. ครัวที่พิจารณาแล้วมีงานที่มีความเสี่ยง ต้องการ
ห้อง 3 (3x4) ม. = 12 ตร.ม. สานักงานขนาดเล็ก ซึ่งเส้นทางหนีภัยผ่านพื้นที่นี้ ต้องการ
ห้อง 4 (10x8) ม. = 80 ตร.ม. สานักงานหลักใหญ่กว่า 60 ตร.ม. ต้องการ
ห้อง 5 (5x6) ม. = 30 ตร.ม. ห้องน้าใหญ่กว่า 8 ตร.ม. ต้องการ
ห้อง 6 (5x11) ม. = 55 ตร.ม. สานักงานขนาดกลางเล็กกว่า 60 ตร.ม. ไม่ต้องการ
หมายเหตุ : ทางหนีภัย ต้องการความส่องสว่างไม่น้อยกว่า 1 ลักซ์
พื้นที่โล่ง ต้องการความส่องสว่างไม่น้อยกว่า 0.5 ลักซ์

2.6.2 ระยะห่างสูงสุดระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน


2.6.2.1 ระยะห่างสูงสุดระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท A, B, C, D, E ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน
ระยะห่างสูงสุดที่กาหนดในตารางที่ 2.2 ถึงตารางที่ 2.11 เป็นระยะห่างระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่าง
ฉุกเฉินประเภท A, B, C, D, E ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน ที่ระดับความสูงจากพื้นต่างๆ เพื่อให้ได้ระดับ
ความส่องสว่าง (illuminance) ที่พื้นมากกว่า 0.5 ลักซ์ ดังแสดงในตารางที่ 2.2 ถึงตารางที่ 2.6 และ
ระดับความส่องสว่างที่พื้นมากกว่า 1 ลักซ์ ดังแสดงในตารางที่ 2.7 ถึงตารางที่ 2.11

12 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.2 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท A ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท A ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6 1.1
2 1.8 1.2
2.5 2.1 1.9 1.3
3.2 2.5 2.4 2.2 1.6 1.0
4 2.8 2.7 2.7 2.5 1.9 1.3
5 3.0 3.1 3.1 3.0 2.8 2.3 1.5
6.3 3.3 3.4 3.5 3.5 3.4 3.2 2.6 1.7
8 3.6 3.8 3.9 3.9 3.9 3.9 3.7 3.0 2.1
10 3.9 4.1 4.2 4.3 4.4 4.4 4.3 4.1 3.4 1.5
12.5 4.2 4.4 4.6 4.7 4.8 4.9 4.9 4.8 4.6 3.0
16 4.4 4.7 5.0 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.5 5.0 3.1
20 4.7 5.0 5.3 5.5 5.7 5.9 6.1 6.2 6.2 6.0 5.1 3.1
25 5.0 5.3 5.6 5.9 6.2 6.4 6.6 6.8 6.9 6.9 6.6 5.2 3.4
32 5.3 5.7 6.0 6.3 6.6 6.9 7.2 7.4 7.7 7.9 7.8 7.4 6.1 4.2
40 5.6 6.0 6.4 6.7 7.0 7.3 7.7 8.0 8.3 8.7 8.8 8.7 8.3 6.9
50 5.9 6.3 6.7 7.1 7.5 7.8 8.2 8.6 9.0 9.5 9.8 9.9 9.7 9.3
63 6.1 6.6 7.1 7.5 7.9 8.3 8.7 9.2 9.6 10.3 10.8 11.0 11.7 10.9 4.0
80 6.5 7.0 7.5 7.9 8.4 8.8 9.3 9.8 10.3 11.1 11.7 12.2 12.4 12.5 8.1
100 * 7.3 7.8 8.3 8.8 9.2 9.8 10.4 10.9 11.9 12.6 13.2 13.6 13.9 12.6
125 * * 8.2 8.8 9.2 9.7 10.3 11.0 11.6 12.7 13.5 14.3 14.8 15.2 15.1 7.9
160 * * * 9.2 9.7 10.3 10.9 11.6 12.3 13.5 14.5 15.4 16.1 16.7 17.6 13.9
200 * * * * 10.2 10.7 11.4 12.2 13.0 14.3 15.4 16.4 17.3 18.0 19.8 18.7
250 * * * * * 11.2 12.0 12.8 13.6 15.1 16.3 17.4 18.4 19.2 21.8 21.8
320 * * * * * * 12.6 13.5 14.4 15.9 17.3 18.6 19.7 20.7 24.0 25.1
400 * * * * * * * 14.1 15.1 16.7 18.2 19.6 20.8 21.9 26.0 27.8
500 * * * * * * * * 15.8 17.6 19.2 20.6 22.0 23.2 27.9 30.5
630 * * * * * * * * * 18.4 20.2 21.7 23.2 24.6 29.9 33.2
800 * * * * * * * * * * 21.2 22.9 24.5 26.0 31.9 36.0
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 13


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.3 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท B ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท B ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6 1.2
2 1.9 1.3
2.5 2.3 2.1 1.4
3.2 2.7 2.6 2.4 1.7 1.1
4 3.0 3.0 2.9 2.7 2.0 1.4
5 3.3 3.4 3.4 3.3 3.1 2.5 1.7
6.3 3.7 3.8 3.8 3.8 3.7 3.5 2.9 1.9
8 4.0 4.2 4.3 4.3 4.3 4.2 4.0 3.3 2.2
10 4.3 4.5 4.7 4.8 4.8 4.8 4.7 4.5 3.8 1.6
12.5 4.6 4.9 5.1 5.2 5.3 5.4 5.4 5.3 5.0 3.3
16 5.0 5.3 5.5 5.7 5.9 6.0 6.1 6.1 6.0 5.5 3.3
20 5.3 5.6 5.9 6.2 6.4 6.5 6.7 6.8 6.8 6.6 5.6 3.4
25 5.6 6.0 6.3 6.6 6.9 7.1 7.3 7.5 7.6 7.6 7.2 5.8 3.7
32 6.0 6.4 6.8 7.1 7.4 7.7 8.0 8.2 8.5 8.7 8.5 8.1 6.7 4.5
40 6.3 6.8 7.2 7.6 7.9 8.2 8.5 8.9 9.2 9.6 9.7 9.5 9.0 7.6
50 6.7 7.2 7.6 8.0 8.4 8.7 9.1 9.6 10.0 10.5 10.8 10.8 10.6 10.1
63 7.0 7.6 8.1 8.5 8.9 9.3 9.8 10.3 10.7 11.4 11.9 12.1 12.2 12.0 4.3
80 7.4 8.0 8.5 9.0 9.5 9.9 10.4 11.0 11.5 12.4 13.0 13.4 13.7 13.7 8.8
100 * 8.4 9.0 9.5 10.0 10.2 11.0 11.7 12.3 13.3 14.0 14.6 15.0 15.3 13.7
125 * * 9.4 10.0 10.6 11.1 11.7 12.4 13.0 14.2 15.1 15.8 16.4 16.8 16.5 8.6
160 * * * 10.4 11.2 11.7 12.4 13.2 13.9 15.2 16.2 17.1 17.9 18.5 19.3 15.3
200 * * * * 11.7 12.3 13.1 13.9 14.7 16.1 17.3 18.3 19.2 20.0 21.7 20.3
250 * * * * * 12.9 13.7 14.7 15.5 17.0 18.4 19.5 20.6 21.4 24.0 23.9
320 * * * * * * 14.5 15.5 16.4 18.1 19.6 20.9 22.1 23.1 26.5 27.5
400 * * * * * * * 16.3 17.3 19.1 20.7 22.1 23.4 24.6 28.8 30.6
500 * * * * * * * * 18.1 20.1 21.8 23.4 24.8 26.1 31.0 33.7
630 * * * * * * * * * 21.2 23.0 24.7 26.3 27.7 33.3 36.8
800 * * * * * * * * * * 24.3 26.2 27.9 29.4 35.7 39.9
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

14 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.4 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท C ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท C ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6 1.5
2 2.3 1.5
2.5 2.7 2.5 1.7
3.2 3.2 3.1 2.8 2.1 1.3
4 3.6 3.6 3.4 3.2 2.4 1.7
5 4.1 4.1 4.0 3.9 3.6 3.0 2.0
6.3 4.5 4.6 4.6 4.5 4.4 4.2 3.5 2.2
8 4.9 5.1 5.2 5.2 5.1 5.0 4.8 4.0 2.6
10 5.4 5.6 5.7 5.8 5.8 5.8 5.6 5.3 4.6 1.9
12.5 5.8 6.0 6.2 6.4 6.4 6.5 6.4 6.3 6.0 3.9
16 6.3 6.6 6.8 7.0 7.2 7.3 7.3 7.3 7.2 6.4 3.9
20 6.8 7.1 7.4 7.6 7.8 8.0 8.1 8.2 8.2 7.8 6.7 4.0
25 7.2 7.6 8.0 8.3 8.5 8.7 8.9 9.1 9.2 9.0 8.5 6.9 4.3
32 7.8 8.2 8.6 9.0 9.3 9.5 9.8 10.1 10.3 10.4 10.2 9.6 8.0 5.3
40 8.3 8.8 9.2 9.6 10.0 10.3 10.6 11.0 11.3 11.6 11.6 11.3 10.6 9.2
50 8.8 9.4 9.8 10.3 10.7 11.0 11.5 11.9 12.3 12.8 13.0 12.9 12.6 12.0
63 9.4 10.0 10.5 11.0 11.5 11.9 12.4 12.9 13.3 14.0 14.4 14.6 14.5 14.2 5.0
80 10.0 10.6 11.2 11.8 12.3 12.7 13.3 13.9 14.5 15.3 15.9 16.3 16.5 16.4 10.5
100 * 11.3 11.9 12.5 13.1 13.6 14.2 14.9 15.5 16.6 17.3 17.9 18.2 18.4 16.1
125 * * 12.7 13.3 13.9 14.5 15.2 15.9 16.6 17.8 18.8 19.5 20.0 20.4 19.5 10.0
160 * * * 14.2 14.9 15.5 16.3 17.1 17.9 19.3 20.4 21.3 22.0 22.6 23.0 18.4
200 * * * * 15.8 16.4 17.3 18.2 19.1 20.6 21.9 23.0 23.9 24.6 26.1 24.0
250 * * * * * 17.4 18.3 19.4 20.3 22.0 23.5 24.7 25.8 26.7 29.0 28.3
320 * * * * * * 19.6 20.7 21.7 23.6 25.2 26.7 27.9 29.0 32.3 32.9
400 * * * * * * * 21.9 23.1 25.1 26.9 28.5 29.9 31.1 35.3 36.9
500 * * * * * * * * 24.5 26.7 28.6 30.4 31.9 33.3 38.4 40.8
630 * * * * * * * * * 28.4 30.5 32.4 34.1 35.7 41.6 45.0
800 * * * * * * * * * * 32.5 34.6 36.5 38.2 45.0 49.3
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 15


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.5 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท D ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท D ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6 1.8
2 2.7 1.9
2.5 3.3 3.0 2.0
3.2 4.0 3.7 3.4 2.5 1.6
4 4.5 4.4 4.2 3.8 3.0 2.0
5 5.1 5.1 4.9 4.7 4.3 3.7 2.4
6.3 5.7 5.7 5.7 5.5 5.3 5.0 4.4 2.6
8 6.4 6.5 6.5 6.4 6.3 6.1 5.7 5.0 3.2
10 7.1 7.2 7.2 7.2 7.2 7.1 6.8 6.4 5.7 2.2
12.5 7.7 7.9 8.0 8.1 8.1 8.1 7.9 7.6 7.2 4.8
16 8.5 8.8 9.0 9.1 9.2 9.2 9.2 9.0 8.7 7.7 4.7
20 9.3 9.6 9.8 10.0 10.1 10.0 10.3 10.2 10.1 9.4 8.2 4.8
25 10.1 10.5 10.8 11.0 11.2 11.3 11.4 11.5 11.5 11.1 10.2 8.6 5.2
32 11.1 11.5 11.8 12.1 12.4 12.6 12.8 12.9 13.0 12.9 12.4 11.5 10.0 6.4
40 12.0 12.5 12.9 13.2 13.5 13.8 14.0 14.3 14.5 14.5 14.3 13.7 12.8 11.4
50 13.0 13.5 14.0 14.4 14.7 15.0 15.4 15.7 16.0 16.3 16.2 15.9 15.3 14.4
63 14.1 14.7 15.2 15.7 16.1 16.4 16.8 17.3 17.6 18.1 18.3 18.2 17.9 17.3 5.9
80 15.3 16.0 16.6 17.1 17.5 17.9 18.4 19.0 19.4 20.1 20.5 20.6 20.5 20.2 12.7
100 * 17.3 17.9 18.5 19.0 19.5 20.0 20.7 21.2 22.0 22.6 22.9 23.0 23.0 19.3
125 * * 19.3 20.0 20.6 21.1 21.7 22.4 23.1 24.1 24.8 25.3 25.6 25.8 23.6 12.0
160 * * * 21.8 22.4 23.0 23.7 24.6 25.3 26.5 27.4 28.1 28.7 29.0 28.2 22.8
200 * * * * 24.2 24.9 25.7 26.6 27.4 28.8 29.9 30.8 31.5 32.0 32.3 28.8
250 * * * * * 26.9 27.8 28.8 29.7 31.3 32.6 33.6 34.5 35.2 36.4 34.4
320 * * * * * * 30.3 31.4 32.4 32.4 35.7 36.9 38.0 38.9 41.2 40.5
400 * * * * * * * 33.9 35.0 37.0 38.7 40.1 41.1 42.4 45.6 46.0
500 * * * * * * * * 37.8 40.4 41.9 43.5 44.9 46.2 50.3 51.6
630 * * * * * * * * * 43.4 45.5 47.3 48.9 50.3 55.3 57.6
800 * * * * * * * * * * 49.4 51.4 53.3 54.9 60.8 64.1
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

16 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.6 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท E ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท E ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6 1.9
2 3.1 2.0
2.5 3.6 3.2 2.2
3.2 4.1 4.1 3.7 2.7 1.8
4 4.6 4.6 4.6 4.2 3.2 2.3
5 5.0 5.1 5.2 5.1 4.9 3.8 2.7
6.3 5.4 5.6 5.7 5.8 5.8 5.6 4.4 3.0
8 5.8 6.1 6.3 6.5 6.5 6.5 6.4 5.0 3.6
10 6.1 6.5 6.8 7.1 7.2 7.3 7.3 7.1 5.6 2.5
12.5 6.5 7.0 7.3 7.6 7.9 8.0 8.2 8.2 8.0 5.2
16 6.9 7.4 7.8 8.2 8.5 8.8 9.1 9.3 9.3 8.5 5.3
20 7.3 7.8 8.3 8.8 9.1 9.5 9.8 10.1 10.3 10.3 8.2 5.4
25 7.6 8.2 8.8 9.3 9.7 10.1 10.6 11.0 11.3 11.6 11.4 8.7 5.9
32 8.0 8.7 9.3 9.9 10.4 10.8 11.4 11.9 12.4 13.0 13.2 12.8 10.0 7.3
40 8.3 9.0 9.7 10.4 10.9 11.4 12.1 12.7 13.3 14.2 14.6 14.7 14.3 11.3
50 8.6 9.4 10.2 10.8 11.5 12.1 12.8 13.5 14.2 15.3 16.0 16.4 16.4 16.0
63 8.9 9.8 10.6 11.3 12.0 12.7 13.5 14.3 15.1 16.4 17.4 18.1 18.4 18.5 6.6
80 9.2 10.1 11.0 11.8 12.6 13.3 14.2 15.2 16.0 17.6 18.8 19.7 20.3 20.7 13.7
100 * 10.5 11.4 12.3 13.1 13.9 14.8 15.9 16.9 18.6 20.0 21.2 22.1 22.7 21.3
125 * * 11.8 12.7 13.6 14.4 15.4 16.6 17.7 19.6 21.3 22.6 23.7 24.6 25.8 13.7
160 * * * 13.1 14.1 15.0 16.1 17.4 18.6 20.8 22.6 24.2 25.5 26.7 29.5 22.7
200 * * * * 14.5 15.5 16.7 18.1 19.4 21.7 23.8 25.6 27.1 28.5 32.5 32.1
250 * * * * * 15.9 17.2 18.7 20.1 22.7 24.9 26.9 28.7 30.2 35.5 36.8
320 * * * * * * 17.8 19.4 20.9 23.7 26.2 28.4 30.4 32.1 38.6 41.5
400 * * * * * * * 20.0 21.6 24.6 27.3 29.7 31.9 33.8 41.3 45.5
500 * * * * * * * * 22.2 25.4 28.3 30.9 33.3 35.5 44.0 49.3
630 * * * * * * * * * 26.3 29.3 32.2 34.8 37.2 46.7 53.1
800 * * * * * * * * * * 30.4 33.4 36.2 38.8 49.5 57.0
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 17


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.7 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท A ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท A ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6
2
2.5
3.2 1.1
4 1.8 1.2
5 2.1 1.9 1.3
6.3 2.4 2.4 2.2 1.5
8 2.8 2.7 2.7 2.5 1.9 1.3
10 3.0 3.1 3.1 3.0 2.8 2.3 1.5
12.5 3.3 3.4 3.5 3.4 3.4 3.2 2.6 1.7
16 3.6 3.8 3.9 3.9 3.9 3.9 3.7 3.0 2.1
20 3.9 4.1 4.2 4.3 4.4 4.4 4.3 4.1 3.4 1.5
25 4.2 4.4 4.6 4.7 4.8 4.9 4.9 4.8 4.6 3.0
32 4.4 4.7 5.0 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.5 5.0 3.1
40 4.7 5.0 5.3 5.5 5.7 5.9 6.1 6.2 6.2 6.0 5.1 3.1
50 5.0 5.3 5.6 5.9 6.2 6.4 6.6 6.8 6.9 6.9 6.6 5.2 3.4
63 5.3 5.7 6.0 6.3 6.6 6.8 7.1 7.4 7.6 7.8 7.7 7.3 5.9 4.0
80 5.6 6.0 6.4 6.7 7.0 7.3 7.7 8.0 8.3 8.7 8.8 8.7 8.3 6.9
100 5.9 6.3 6.7 7.1 7.5 7.8 8.2 8.6 9.0 9.5 9.8 9.9 9.7 9.3
125 6.1 6.6 7.1 7.5 7.9 8.3 8.7 9.2 9.6 10.3 10.7 11.0 11.0 10.9 3.8
160 6.5 7.0 7.5 7.9 8.4 8.8 9.3 9.8 10.3 11.1 11.7 12.2 12.4 12.5 8.1
200 * 7.3 7.8 8.3 8.8 9.2 9.8 10.4 10.9 11.9 12.6 13.2 13.6 13.9 12.6
250 * * 8.2 8.8 9.2 9.7 10.3 11.0 11.6 12.7 13.5 14.3 14.8 15.2 15.1 7.9
320 * * * 9.2 9.7 10.3 10.9 11.6 12.3 13.5 14.5 15.4 16.1 16.7 17.6 13.9
400 * * * * 10.2 10.7 11.4 12.2 13.0 14.3 15.4 16.4 17.3 18.0 19.8 18.7
500 * * * * * 11.2 12.0 12.8 13.6 15.1 16.3 17.4 18.4 19.2 21.8 21.8
630 * * * * * * 12.6 13.5 14.3 15.9 17.3 18.5 19.6 20.6 23.9 24.9
800 * * * * * * * 14.1 15.1 16.7 18.2 19.6 20.8 21.9 26.0 27.8
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

18 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.8 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท B ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท B ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6
2
2.5
3.2 1.2
4 1.9 1.3
5 2.3 2.1 1.4
6.3 2.7 2.6 2.4 1.7 1.1
8 3.0 3.0 2.9 2.7 2.0 1.4
10 3.3 3.4 3.4 3.3 3.1 2.5 1.7
12.5 3.7 3.8 3.8 3.8 3.7 3.5 2.9 1.8
16 4.0 4.2 4.3 4.3 4.3 4.2 4.0 3.3 2.2
20 4.3 4.5 4.7 4.8 4.8 4.8 4.7 4.5 3.8 1.6
25 4.6 4.9 5.1 5.2 5.3 5.4 5.4 5.3 5.0 3.3
32 5.0 5.3 5.5 5.7 5.9 6.0 6.1 6.1 6.0 5.5 3.3
40 5.3 5.6 5.9 6.2 6.4 6.5 6.7 6.8 6.8 6.6 5.6 3.4
50 5.6 6.0 6.3 6.6 6.9 7.1 7.3 7.5 7.6 7.6 7.2 5.8 3.7
63 6.0 6.4 6.7 7.1 7.4 7.6 7.9 8.2 8.4 8.6 8.5 8.0 6.4 4.4
80 6.3 6.8 7.2 7.6 7.9 8.2 8.5 8.9 9.2 9.6 9.7 9.5 9.0 7.6
100 6.7 7.2 7.6 8.0 8.4 8.7 9.1 9.6 10.0 10.5 10.8 10.8 10.6 10.1
125 7.0 7.6 8.0 8.5 8.9 9.3 9.7 10.3 10.7 11.4 11.8 12.1 12.1 11.9 4.1
160 7.4 8.0 8.5 9.0 9.5 9.9 10.4 11.0 11.5 12.4 13.0 13.4 13.7 13.7 8.8
200 * 8.4 9.0 9.5 10.0 10.5 11.0 11.7 12.3 13.3 14.0 14.6 15.0 15.3 13.7
250 * * 9.4 10.0 10.6 11.1 11.7 12.4 13.0 14.2 15.1 15.8 16.4 16.8 16.5 8.6
320 * * * 10.6 11.2 11.7 12.4 13.2 13.9 15.2 16.2 17.1 17.9 18.5 19.3 15.3
400 * * * * 11.7 12.3 13.1 13.9 14.7 16.1 17.3 18.3 19.2 20.0 21.7 20.3
500 * * * * * 12.9 13.7 14.7 15.5 17.0 18.4 19.5 20.6 21.4 24.0 23.9
630 * * * * * * 14.5 15.4 16.4 18.0 19.5 20.8 22.0 23.0 26.4 27.3
800 * * * * * * * 16.3 17.3 19.1 20.7 22.1 23.4 24.6 28.8 30.6
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 19


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.9 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท C ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท C ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6
2
2.5
3.2 1.5
4 2.3 1.5
5 2.7 2.5 1.7
6.3 3.2 3.0 2.8 2.0 1.2
8 3.6 3.6 3.4 3.2 2.4 1.7
10 4.1 4.1 4.0 3.9 3.6 3.0 2.0
12.5 4.5 4.6 4.6 4.5 4.4 4.1 3.4 2.1
16 4.9 5.1 5.2 5.2 5.1 5.0 4.8 4.0 2.6
20 5.4 5.6 5.7 5.8 5.8 5.8 5.6 5.3 4.6 1.9
25 5.8 6.0 6.2 6.4 6.4 6.5 6.4 6.3 6.0 3.9
32 6.3 6.6 6.8 7.0 7.2 7.3 7.3 7.3 7.2 6.4 3.9
40 6.8 7.1 7.4 7.6 7.8 8.0 8.1 8.2 8.2 7.8 6.7 4.0
50 7.2 7.6 8.0 8.3 8.5 8.7 8.9 9.1 9.2 9.0 8.5 6.9 4.3
63 7.7 8.2 8.6 8.9 9.2 9.5 9.8 10.0 10.2 10.3 10.1 9.4 7.7 5.1
80 8.3 8.8 9.2 9.6 10.0 10.3 10.6 11.0 11.3 11.6 11.6 11.3 10.6 9.2
100 8.8 9.4 9.8 10.3 10.7 11.0 11.5 11.9 12.3 12.8 13.0 12.9 12.6 12.0
125 9.4 10.0 10.5 11.0 11.4 11.8 12.3 12.9 13.3 14.0 14.4 14.5 14.5 14.1 4.8
160 10.0 10.6 11.2 11.8 12.3 12.7 13.3 13.9 14.5 15.3 15.9 16.3 16.5 16.4 10.5
200 * 11.3 11.9 12.5 13.1 13.6 14.2 14.9 15.5 16.6 17.3 17.9 18.2 18.4 16.1
250 * * 12.7 13.3 13.9 14.5 15.2 15.9 16.6 17.8 18.8 19.5 20.0 20.4 19.5 10.0
320 * * * 14.2 14.9 15.5 16.3 17.1 17.9 19.3 20.4 21.3 22.0 22.6 23.0 18.4
400 * * * * 15.8 16.4 17.3 18.2 19.1 20.6 21.9 23.0 23.9 24.6 26.1 24.0
500 * * * * * 17.4 18.3 19.4 20.3 22.0 23.5 24.7 25.8 26.7 29.0 28.3
630 * * * * * * 19.5 20.6 21.7 23.5 25.1 26.5 27.8 28.8 32.1 32.6
800 * * * * * * * 21.9 23.1 25.1 26.9 28.5 29.9 31.1 35.3 36.9
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

20 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.10 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท D ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท D ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6
2
2.5
3.2 1.8
4 2.7 1.9
5 3.3 3.0 2.0
6.3 3.9 3.7 3.3 2.4
8 4.5 4.4 4.2 3.8 3.0 2.0
10 5.1 5.1 4.9 4.7 4.3 3.7 2.4
12.5 5.7 5.7 5.6 5.5 5.3 5.0 4.3 2.6
16 6.4 6.5 6.5 6.4 6.3 6.1 5.7 5.0 3.2
20 7.1 7.2 7.2 7.2 7.2 7.1 6.8 6.4 5.7 2.2
25 7.7 7.9 8.0 8.1 8.1 8.1 7.9 7.6 7.2 4.8
32 8.5 8.8 9.0 9.1 9.2 9.2 9.2 9.0 8.7 7.7 4.7
40 9.3 9.6 9.8 10.0 10.1 10.2 10.3 10.2 10.1 9.4 8.2 4.8
50 10.1 10.5 10.8 11.0 11.2 11.3 11.4 11.5 11.5 11.1 10.2 8.6 5.2
63 11.0 11.4 11.8 12.1 12.3 12.5 12.7 12.8 12.9 12.8 12.2 11.3 9.6 6.1
80 12.0 12.5 12.9 13.2 13.5 13.8 14.0 14.3 14.5 14.5 14.3 13.7 12.8 11.4
100 13.0 13.5 14.0 14.4 14.7 15.0 15.4 15.7 16.0 16.3 16.2 15.9 15.3 14.4
125 14.1 14.6 15.2 15.6 16.0 16.4 16.8 17.2 17.6 18.0 18.2 18.1 17.8 17.2 5.6
160 15.3 16.0 16.6 17.1 17.5 17.9 18.4 19.0 19.4 20.1 20.5 20.6 20.5 20.2 12.7
200 * 17.3 17.9 18.5 19.0 19.5 20.0 20.7 21.2 22.0 22.6 22.9 23.0 23.0 19.3
250 * * 19.3 20.0 20.6 21.1 21.7 22.4 23.1 24.1 24.8 25.3 25.6 25.8 23.6 12.0
320 * * * 21.8 22.4 23.0 23.7 24.6 25.3 26.5 27.4 28.1 28.7 29.0 28.2 22.8
400 * * * * 24.2 24.9 25.7 26.6 27.4 28.8 29.9 30.8 31.5 32.0 32.3 28.8
500 * * * * * 26.9 27.8 28.8 29.7 31.3 32.6 33.6 34.5 35.2 36.4 34.4
630 * * * * * * 30.1 31.2 32.2 34.0 35.5 36.7 37.8 38.6 40.9 40.1
800 * * * * * * * 33.9 35.0 37.0 38.7 40.1 41.4 42.4 45.6 46.0
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 21


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.11 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท E ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท E ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6
2
2.5
3.2 1.9
4 3.1 2.0
5 3.6 3.2 2.2
6.3 4.1 4.0 3.6 2.6
8 4.6 4.6 4.6 4.2 3.2 2.3
10 5.0 5.1 5.2 5.1 4.9 3.8 2.7
12.5 5.4 5.6 5.7 5.8 5.7 5.6 4.3 2.9
16 5.8 6.1 6.3 6.5 6.5 6.5 6.4 5.0 3.6
20 6.1 6.5 6.8 7.1 7.2 7.3 7.3 7.1 5.6 2.5
25 6.5 7.0 7.3 7.6 7.9 8.0 8.2 8.2 8.0 5.2
32 6.9 7.4 7.8 8.2 8.5 8.8 9.1 9.3 9.3 8.5 5.3
40 7.3 7.8 8.3 8.8 9.1 9.5 9.8 10.1 10.3 10.3 8.2 5.4
50 7.6 8.2 8.8 9.3 9.7 10.1 10.6 11.0 11.3 11.6 11.4 8.7 5.9
63 8.0 8.6 9.3 9.8 10.3 10.8 11.3 11.9 12.3 12.9 13.0 12.6 9.7 7.0
80 8.3 9.0 9.7 10.4 10.9 11.4 12.1 12.7 13.3 14.2 14.6 14.7 14.3 11.3
100 8.6 9.4 10.2 10.8 11.5 12.1 12.8 13.5 14.2 15.3 16.0 16.4 16.4 16.0
125 8.9 9.8 10.6 11.3 12.0 12.7 13.4 14.3 15.1 16.4 17.3 18.0 18.4 18.4 6.4
160 9.2 10.1 11.0 11.8 12.6 13.3 14.2 15.2 16.0 17.6 18.8 19.7 20.3 20.7 13.7
200 * 10.5 11.4 12.3 13.1 13.9 14.8 15.9 16.9 18.6 20.0 21.2 22.1 22.7 21.3
250 * * 11.8 12.7 13.6 14.4 15.4 16.6 17.7 19.6 21.3 22.6 23.7 24.6 25.8 13.7
320 * * * 13.1 14.1 15.0 16.1 17.4 18.6 20.8 22.6 24.2 25.5 26.7 29.5 22.7
400 * * * * 14.5 15.5 16.7 18.1 19.4 21.7 23.8 25.6 27.1 28.5 32.5 32.1
500 * * * * * 15.9 17.2 18.7 20.1 22.7 24.9 26.9 28.7 30.2 35.5 36.8
630 * * * * * * 17.8 19.4 20.9 23.6 26.1 28.3 30.3 32.0 38.4 41.2
800 * * * * * * * 20.0 21.6 24.6 27.3 29.7 31.9 33.8 41.3 45.5
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

22 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท A, B, C, D, E ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน ในตารางที่ 2.2 ถึงตารางที่


2.11 มีรายละเอียดต่อไปนี้
(1) สมมติฐาน
การคานวณความส่องสว่างจากโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน มีสมมติฐานดังนี้
(1.1) ใช้ได้กับโคมไฟฟ้าที่ติดตั้งฝังฝ้า หรือติดกับฝ้า (ceiling mounted fix type) ที่ไม่สามารถ
ปรับมุมเล็งได้เท่านั้น
(1.2) แสงที่ใช้จะเป็นแสงจากโคมไฟฟ้าโดยตรง
(1.3) การคานวณคิดเพียงค่าความส่องสว่างระหว่างโคมไฟฟ้า 2 ชุดเท่านั้น
(1.4) คิดสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงของ ผนัง, พื้น และฝ้าเพดาน เท่ากับ 0
(1.5) คิดค่าตัวประกอบการสูญเสียแสง (LF) 0.8 และในกรณีที่เป็นหลอด LED ทางานใน
สถานะ Constant Power Mode ให้ใช้ค่าตัวประกอบการสูญเสียแสง (LF) 1.0
(1.6) แสงที่ใช้ วัดเมื่อขนาดแรงดันแบตเตอรี่ลดลงเหลือ ที่ร้อยละ 80 ของแรงดันพิกัด
(2) การระบุประเภทของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน จะแบ่งประเภทตามลักษณะการกระจายแสงของ
โคมไฟฟ้า (photometric data) โดยระบุด้วยรหัสอักษรกับตัวเลข (alpha-numeric code)
รหัสอักษร ระบุได้โดยแบ่งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินออกเป็น 5 ประเภทมาตรฐาน คือประเภท
A, B, C, D และ E ตามสมการในข้อ 2.6.2.1.ค. โดยสามารถระบุประเภทแยกกันได้ระหว่างระนาบ
C0 (ตั้งฉากกับโคม) และระนาบ C90 (ขนานกับโคม)
รหัสตัวเลข ระบุโดยความเข้มส่องสว่างที่กาหนดในข้อ 2.6.2.1(4)
ตัวอย่าง
C0 / Axxx หมายถึง การกระจายแสงของโคมไฟฟ้าในแนวระนาบ C0 เป็นประเภท A
โดยที่ xxx เป็นรหัสตัวเลขความเข้มส่องสว่างที่กาหนดในข้อ 2.6.2.1(4)
C90 / Bxxx หมายถึง การกระจายแสงของโคมไฟฟ้าในแนวระนาบ C90 เป็นประเภท B
โดยที่ xxx เป็นรหัสตัวเลขความเข้มส่องสว่างที่กาหนดในข้อ 2.6.2.1(4)
(3) สมการพื้นฐานที่ใช้กาหนดประเภทของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินเป็น 5 ประเภท ได้แก่
ประเภท A ใช้สมการ IP = I0 COS4  (เมื่อ   70O)
ประเภท B ใช้สมการ IP = I0 COS3  (เมื่อ   70O)
ประเภท C ใช้สมการ IP = I0 COS1.5  (เมื่อ   70O)
(2  cos  )
ประเภท D ใช้สมการ Ip  Io (เมื่อ   70O)
3
0.04  
ประเภท E ใช้สมการ Ip  Io  1   (เมื่อ   30O)
 30 
IP = 1.07 I0 COS [2.6 ( - 35)] (เมื่อ 30O <   65O)
โดย
IP = ค่าความเข้มส่องสว่างที่มุม  ใดๆ หน่วยเป็น แคนเดลา
I0 = ค่าความเข้มส่องสว่างที่มุม  = 0O หน่วยเป็น แคนเดลา
 = มุมที่วัดจากแนวดิ่งใต้โคมไฟฟ้า หน่วยเป็น องศา

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 23


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

นาค่า IP ที่มุม  ต่างๆ มาเขียนเส้นกราฟ (plot graph) โดยเพิ่มมุม  ทีละ 5O จะได้


เส้นกราฟระบุประเภทของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน 5 เส้น ดังแสดงในรูปที่ 2.8

รูปที่ 2.8 ลักษณะการกระจายแสงของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ประเภท A ถึง E


(4) ระดับความเข้มส่องสว่างมาตรฐานที่มุม  = 0O
การกาหนดประเภทของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินด้วยรหัสตัวเลข ต้องกาหนดความเข้มส่องสว่าง
มาตรฐานที่มุม  = 0O โดยค่าดังกล่าวจะเป็นระดับขั้นดังนี้ 1, 1.25, 1.6, 2, 2.5, 3.2, 4, 5, 6.3,
8, 10, 12.5, 16, 20, 25, 32, 40, 50, 63, 80,… โดยแต่ละขั้นเพิ่มขึ้นขั้นละประมาณร้อยละ 25
ตัวอย่าง
C0 / A400 หมายถึง การกระจายแสงของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินในแนวระนาบ C0 เป็น
ประเภท A ที่ 400 แคนเดลา โดยมีสมการที่ใช้กาหนดประเภทคือ IP = 400 x COS4 
โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่เป็นไปตามประเภทนี้ ต้องมีค่าความเข้มส่องสว่างที่มุม  ใดๆ สูงกว่า
ค่าที่คานวณได้จากสมการระบุประเภทดังกล่าว
2.6.2.2 ระยะห่างสูงสุดระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท F ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน
ระยะห่างสูงสุดที่กาหนดในตารางที่ 2.12 และตารางที่ 2.13 เป็นระยะห่างระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่าง
ฉุกเฉินประเภท F ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน ที่ระดับความสูงจากพื้นต่างๆ เพื่อให้ได้ระดับความส่องสว่าง
(illuminance) ที่พื้น มากกว่า 0.5 ลักซ์ ดังแสดงในตารางที่ 2.12 และระดับความส่ องสว่างที่พื้น
มากกว่า 1 ลักซ์ ดังแสดงในตารางที่ 2.13

24 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.12 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท F ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท F ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6
2 4.1
2.5 5.2 4.4
3.2 6.1 5.8 5.0
4 6.6 6.8 6.5 5.7
5 7.1 7.5 7.6 7.3 6.6
6.3 7.5 8.0 8.4 8.5 8.3 7.7
8 7.9 8.5 9.0 9.5 9.6 9.5 8.8
10 8.3 8.9 9.6 10.1 10.5 10.8 10.7 9.8
12.5 8.7 9.4 10.0 10.6 11.2 11.6 12.0 11.9 11.0
16 9.1 9.9 10.6 11.3 11.9 12.4 13.0 13.6 13.5 11.4
20 9.5 10.3 11.1 11.8 12.5 13.1 13.8 14.6 15.2 14.6 11.7
25 9.8 10.7 11.6 12.4 13.1 13.8 14.6 15.5 16.3 17.0 15.7 12.5
32 10.3 11.2 12.1 12.9 13.7 14.5 15.4 16.5 17.4 19.0 19.2 17.6 14.4
40 10.7 11.7 12.6 13.5 14.4 15.1 16.1 17.3 18.4 20.2 21.5 21.4 19.5 16.2
50 11.0 12.1 13.1 14.0 14.9 15.8 16.9 18.1 19.3 21.3 23.0 24.1 23.8 22.1
63 11.5 12.6 13.6 14.6 15.6 16.5 17.6 18.9 20.2 22.5 24.4 26.0 26.9 26.9
80 11.8 13.0 14.1 15.2 16.2 17.1 18.4 19.8 21.2 23.7 25.8 27.7 29.3 30.5 20.2
100 * 13.5 14.6 15.7 16.8 17.8 19.1 20.6 22.1 24.7 27.1 29.2 31.1 32.6 28.5
125 * * 15.1 16.3 17.4 18.5 19.8 21.5 23.0 25.8 28.4 30.7 32.8 34.6 36.7
160 * * * 16.9 18.0 19.2 20.6 22.4 24.0 27.0 29.8 32.3 34.6 36.7 43.2 32.5
200 * * * * 18.7 19.8 21.4 23.2 24.9 28.1 31.0 33.8 36.3 38.6 47.4 44.1
250 * * * * * 20.5 22.1 24.0 25.8 29.2 32.3 35.2 37.9 40.4 50.5 53.1
320 * * * * * * 22.9 24.9 26.8 30.4 33.7 36.8 39.7 42.4 53.6 61.0
400 * * * * * * * 25.7 27.7 31.5 35.0 38.2 41.3 44.2 56.4 65.4
500 * * * * * * * * 28.6 32.6 36.2 39.7 42.9 46.0 59.2 69.2
630 * * * * * * * * * 33.7 37.6 41.2 44.6 47.8 62.0 73.3
800 * * * * * * * * * * 38.9 42.7 46.4 49.8 64.9 77.2
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 25


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.13 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท F ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท F ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6
2
2.5
3.2
4 4.1
5 5.2 4.4
6.3 6.0 5.7 4.9
8 6.6 6.8 6.5 5.7
10 7.1 7.5 7.6 7.3 6.6
12.5 7.5 8.0 8,4 8.5 8.3 7.6
16 7.9 8.5 9.0 9.5 9.6 9.5 8.8
20 8.3 8.9 9.6 10.1 10.5 10.8 10.7 9.8
25 8.7 9.4 10.0 10.6 11.2 11.6 12.0 11.9 11.0
32 9.1 9.9 10.6 11.3 11.9 12.4 13.0 13.6 13.5 11.4
40 9.5 10.3 11.1 11.8 12.5 13.1 13.8 14.6 15.2 14.6 11.7
50 9.8 10.7 11.6 12.4 13.1 13.8 14.6 15.5 16.3 17.0 15.7 12.5
63 10.3 11.2 12.1 12.9 13.7 14.5 15.4 16.4 17.3 18.8 19.0 17.3 14.0
80 10.7 11.7 12.6 13.5 14.4 15.1 16.1 17.3 18.4 20.2 21.5 21.4 19.5 16.2
100 11.0 12.1 13.1 14.0 14.9 15.8 16.9 18.1 19.3 21.3 23.0 24.1 23.8 22.1
125 11.5 12.5 13.6 14.6 15.5 16.5 17.6 18.9 20.2 22.4 24.4 26.0 26.9 26.8
160 11.8 13.0 14.1 15.2 16.2 17.1 18.4 19.8 21.2 23.7 25.8 27.7 29.3 30.5 20.2
200 * 13.5 14.6 15.7 16.8 17.8 19.1 20.6 22.1 24.7 27.1 29.2 31.1 32.6 28.5
250 * * 15.1 16.3 17.4 18.5 19.8 21.5 23.0 25.8 28.4 30.7 32.8 34.6 36.7
320 * * * 16.9 18.0 19.2 20.6 22.4 24.0 27.0 29.8 32.3 34.6 36.7 43.2 32.5
400 * * * * 18.7 19.8 21.4 23.2 24.9 28.1 31.0 33.8 36.3 38.6 47.4 44.1
500 * * * * * 20.5 22.1 24.0 25.8 29.2 32.3 35.2 37.9 40.4 50.5 53.5
630 * * * * * * 22.8 24.8 26.7 30.3 33.6 36.7 39.6 42.3 53.4 60.5
800 * * * * * * * 25.7 27.7 31.5 35.0 38.2 41.3 44.2 56.4 65.4
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

26 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท F ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน ในตารางที่ 2.12 และตารางที่ 2.13 มี


รายละเอียดสมมุติฐานและการระบุโคมเช่นเดียวกับข้อ 2.6.2.1 แต่ใช้สมการพื้นฐานสาหรับประเภท F
ตามสมการข้างล่าง แล้วได้ลักษณะการกระจายแสง ดังรูปที่ 2.9 (ปรับสเกลให้ Io – 1 pu.)
Ip = Io x [-0.0000002920 4 + 0.0000341252 3 - 0.0007674291 2 + 0.0059785515 
+ 0.9940064103] (เมื่อ   55O )
Ip = Io x [-0.00001000 4 + 0.00291481 3 - 0.31325000 2 + 14.63534392 
- 248.81071429] (เมื่อ   55O )

รูปที่ 2.9 ลักษณะการกระจายแสงของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ประเภท F


(ปรับสเกลให้ Io – 1 pu.)
2.6.2.3 ระยะห่างสูงสุดระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท G ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน
ระยะห่างสูงสุดที่กาหนดในตารางที่ 2.14 และตารางที่ 2.15 เป็นระยะห่างระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่าง
ฉุกเฉินประเภท G ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน ที่ระดับความสูงจากพื้นต่างๆ เพื่อให้ได้ระดับความส่องสว่าง
(illuminance) ที่พื้น มากกว่า 0.5 ลักซ์ ดังแสดงในตารางที่ 2.14 และระดับความส่ องสว่างที่พื้น
มากกว่า 1 ลักซ์ ดังแสดงในตารางที่ 2.15

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 27


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.14 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท G ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท G ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 0.5 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6
2 4.2
2.5 5.9 4.5
3.2 7.8 6.5 5.1
4 9.4 8.5 7.2 5.8
5 10.6 10.4 9.5 8.2 6.7
6.3 11.7 11.9 11.6 10.7 9.5 8.0
8 12.5 13.3 13.4 13.2 12.4 11.2 9.3
10 13.1 14.2 14.8 15.0 14.9 14.1 12.7 10.3
12.5 13.8 14.9 15.9 16.6 16.8 16.8 15.8 14.1 11.7
16 14.6 15.7 16.8 17.8 18.7 18.9 19.0 18.0 16.3 11.6
20 15.3 16.5 17.6 18.7 19.7 20.7 21.1 21.2 20.2 16.4
25 16.0 17.3 18.5 19.6 20.7 21.8 23.1 23.6 23.7 21.3 16.9
32 16.8 18.2 19.5 20.7 21.9 23.0 24.4 26.0 26.7 26.4 23.4 18.6 14.5
40 17.7 19.1 20.5 21.7 22.9 24.1 25.6 27.4 29.0 30.0 28.8 25.2 20.6
50 18.5 20.0 21.4 22.8 24.0 25.3 26.9 28.7 30.5 33.2 33.6 31.7 28.0 23.4
63 19.4 21.0 22.5 23.9 25.3 26.6 28.2 30.2 32.1 35.5 37.4 37.6 35.5 32.0
80 20.4 22.1 23.6 25.1 26.6 27.9 29.7 31.8 33.7 37.5 40.8 42.2 42.5 40.4
100 * 23.1 24.8 26.3 27.8 29.3 31.1 33.3 35.4 39.3 42.9 46.2 47.2 47.5 29.2
125 * * 25.9 27.6 29.2 30.7 32.6 34.9 37.1 41.2 45.0 48.5 51.9 52.9 41.0
160 * * * 29.0 30.7 32.3 34.4 36.8 39.1 43.5 47.5 51.2 54.8 58.1 54.6 33.0
200 * * * * 32.2 33.8 36.0 38.6 41.0 45.6 49.8 53.8 57.4 61.0 66.0 46.7
250 * * * * * 35.5 37.7 40.4 43.0 47.8 52.2 56.4 60.3 64.0 75.0 63.6
320 * * * * * * * 42.5 45.2 50.3 55.0 59.4 63.6 67.5 83.6 81.0
400 * * * * * * * 44.6 47.4 52.7 57.7 62.3 66.6 70.8 89.2 95.2
500 * * * * * * * * * 55.2 60.4 65.3 69.9 74.3 93.6 105.5
630 * * * * * * * * * 58.0 63.4 68.6 73.4 78.0 98.4 115.8
800 * * * * * * * * * * 66.6 72.1 77.2 82.1 103.4 122.0
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

28 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ตารางที่ 2.15 ระยะห่างสูงสุด (เป็นเมตร) ระหว่างโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท G ชนิดติดตั้งกับฝ้า


เพดาน ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ระยะห่างสูงสุด (เมตร) สาหรับโคมไฟฟ้าประเภท G ที่ระดับความส่องสว่างมากกว่า 1 ลักซ์
ความสูง (เมตร)
Io (cd) 2.1 2.4 2.7 3.0 3.3 3.6 4.0 4.5 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 10.0 15.0 20.0
1
1.25
1.6
2
2.5
3.2
4 4.2
5 5.9 4.5
6.3 7.6 6.4 5.0
8 9.4 8.5 7.2 5.8
10 10.6 10.4 9.5 8.2 6.7
12.5 11.3 11.8 11.5 10.6 9.4 7.9
16 12.5 13.3 13.4 13.2 12.4 11.2 9.3
20 13.1 14.2 14.8 15.0 14.9 14.1 12.7 10.3
25 13.8 14.9 15.9 16.6 16.8 16.8 15.8 14.1 11.7
32 14.6 15.7 16.8 17.8 18.7 18.9 19.0 18.0 16.3
40 15.3 16.5 17.6 18.7 19.7 20.7 21.1 21.2 20.2 16.4
50 16.0 17.3 18.5 19.6 20.7 21.8 23.1 23.6 23.7 21.3 16.9
63 16.8 18.1 19.4 20.6 21.7 22.9 24.3 26.0 26.5 26.0 22.9 18.3
80 17.7 19.1 20.5 21.7 22.9 24.1 25.6 27.4 29.0 30.0 28.8 25.2 20.6
100 18.5 20.0 21.4 22.8 24.0 25.3 26.9 28.7 30.5 33.2 33.6 31.7 28.0 23.4
125 19.4 21.0 22.5 23.9 25.2 26.5 28.2 30.1 32.0 35.5 37.3 37.6 35.3 31.8
160 20.4 22.1 23.6 25.1 26.6 27.9 29.7 31.8 33.7 37.5 40.8 42.2 42.5 40.4
200 * 23.1 24.8 26.3 27.8 29.3 31.1 33.3 35.4 39.3 42.9 46.2 47.2 47.5 29.2
250 * * 25.9 27.6 29.2 30.7 32.6 34.9 37.1 41.2 45.0 48.5 51.9 52.9 41.0
320 * * * 29.0 30.7 32.3 34.4 36.8 39.1 43.5 47.5 51.2 54.8 58.1 54.6 33.0
400 * * * * 32.2 33.8 36.0 38.6 41.0 45.6 49.8 53.8 57.4 61.0 66.0 46.7
500 * * * * * 35.5 37.7 40.4 43.0 47.8 52.2 56.4 60.3 64.0 75.0 63.6
630 * * * * * * 39.6 42.4 45.1 50.1 54.8 59.2 63.4 67.3 83.3 80.0
800 * * * * * * * 44.6 47.4 52.7 57.7 62.3 66.6 70.8 89.2 95.0
หมายเหตุ : * คือ Emax/Emin > 40

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 29


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินประเภท G ชนิดติดตั้งกับฝ้าเพดาน ในตารางที่ 2.14 และตารางที่ 2.15 มี


รายละเอียดสมมุติฐานและการระบุโคมเช่นเดียวกับข้อ 2.6.2.1 แต่ใ ช้สมการพื้นฐานสาหรับประเภท G
ตามสมการข้างล่าง แล้วได้ลักษณะการกระจายแสง ดังรูปที่ 2-10 (ปรับสเกลให้ Io – 1 pu.)
Ip = Io x [0.0000004267 4 - 0.0000259949 3 + 0.0005167004 2 + 0.0031596469 
+ 0.9943446852] (เมื่อ   70O )
Ip = Io x [0.01285714 2 - 2.30714286  + 103.54285714] (เมื่อ   70O )

รูปที่ 2.10 ลักษณะการกระจายแสงของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ประเภท G


(ปรับสเกลให้ Io – 1 pu.)
2.6.3 แสงบาดตาที่ทาให้เสียความสามารถในการมองเห็น (disability glare)
(1) สาหรับทางหนีภัยแนวราบกาหนดให้ความเข้มส่องสว่างสูงสุดในโซนที่ I ระหว่างมุม 60o ถึง 90o
วัดจากแนวดิ่ง ดังแสดงในรูปที่ 2.11 ไม่เกินตามที่ระบุในตารางที่ 2.16

รูปที่ 2.11 โซนที่ใช้ในการพิจารณาแสงบาดตาที่ทาให้เสียความสามารถในการมองเห็น


สาหรับทางหนีภัยแนวราบ

30 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

(2) สาหรับทางหนีภัยอื่นๆ กาหนดให้โซนที่ I ที่ใช้พิจารณาแสงบาดตาที่ทาให้เสียความสามารถในการ


มองเห็นดังแสดงในรูปที่ 2.12 และความเข้มส่องสว่างสูงสุด ไม่เกินตามที่ระบุในตารางที่ 2.16

รูปที่ 2.12 โซนที่ใช้พิจารณาแสงบาดตาที่ทาให้เสียความสามารถในการมองเห็น


สาหรับทางหนีภัยอื่นๆ
ตารางที่ 2.16 ความเข้มส่องสว่างสูงสุดในแต่ละพื้นที่
ระดับความสูง h ความเข้มส่องสว่างสูงสุด ความเข้มส่องสว่างสูงสุด
(เมตร) สาหรับทางหนีภัยและพื้นที่โล่ง สาหรับพื้นที่งานอันตราย
ภายในอาคาร (แคนเดลา) (แคนเดลา)
h < 2.5 500 1,000
2.5 < h < 3.0 900 1,800
3.0 < h < 3.5 1,600 3,200
3.5 < h < 4.0 2,500 5,000
4.0 < h < 4.5 3,500 7,000
h > 4.5 5,000 10,000

2.7 แบตเตอรี่
2.7.1 ชนิดของแบตเตอรี่
แบตเตอรี่ที่ใช้ต้องเป็นแบตเตอรี่แบบหุ้มปิดมิดชิดและไม่ต้องมีการบารุงรักษา เช่น แบตเตอรี่ชนิดนิเคิล
เมทัลไฮไดรด์แบบหุ้มปิดมิดชิด (sealed nickel-metal hydride) หรือแบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรดแบบหุ้ม
ปิดมิดชิด (sealed lead acid)
2.7.2 ความจุของแบตเตอรี่
แบตเตอรี่ต้องจ่ายไฟได้นานไม่น้อยกว่า 120 นาที โดยมีแรงดันไฟฟ้าต่าสุดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ
แรงดันพิกัดปกติ และมีระยะเวลาอัดประจุ (recharge time) นานไม่เกิน 24 ชั่วโมง

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 31


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

2.8 ระบบการเดินสายและข้อกาหนดของวงจร
2.8.1 ทั่วไป
การเดินสายและติดตั้งโคมไฟฟ้าฉุกเฉิน ต้องเป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศ
ไทยฉบับล่าสุด และเพิ่มเติมตามข้อ 2.8.2
2.8.2 การเดินสายไฟฟ้าสาหรับโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต่อพ่วง
2.8.2.1 วงจรไฟฟ้าแยกจากระบบอื่น
วงจรไฟฟ้าที่จ่ายให้ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน สาหรับอาคารขนาดใหญ่ อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่
พิเศษ โรงแรม โรงพยาบาล สถานบริการ โรงมหรสพ ต้องแยกอิสระจากอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ
2.8.2.2 ชนิดของสายไฟฟ้า
สายไฟฟ้าที่ใช้สาหรับเดินจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินส่วนกลางไปยังโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน หรือใน
อาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารสูง ที่มีวงจรไฟฟ้าของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินแยก
ต่างหาก ต้องใช้สายทนไฟ และติดตั้งตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยฉบั บล่าสุด
โดยต้องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ เช่น ช่องเดินสายชนิดโลหะ ยกเว้นในส่วนปิดล้อมที่ทน
ไฟได้ไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง หรือใช้ระบบการเดินสายอื่นที่ให้ผลการป้องกันเทียบเท่ากัน
2.8.2.3 ขนาดสายไฟฟ้า
สายไฟฟ้าต้องมีขนาดเพียงพอที่จะรับกระแสที่ไหลในวงจรได้ แต่ต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า 2.5 ตาราง
มิลลิเมตร และแรงดันตกไม่เกินร้อยละ 5
2.8.2.4 การเดินสายแยกจากระบบอื่น
การเดินสายระบบสาหรับโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต่อพ่วง ต้องแยกจากการเดินสายวงจรอื่น โดยการ
ติดตั้งท่อ หรือช่องเดินสายแยกจากกัน หรือแยกตัวนาจากตัวนาอื่นโดยมีที่กั้นต่อเนื่องที่ทาด้วยวัสดุที่ไม่
ติดไฟ
ช่องเดินสายหรือเครื่องหมายอื่นๆ ต้องมีเครื่องหมายกากับที่ถาวรและเห็นได้ชัดเจน
2.8.2.5 จุดต่อสาย
จุดต่อสายต้องอยู่ในกล่องต่อสายที่มีเครื่องหมายกากับที่ถาวรและชัดเจน จุดต่อสายดังกล่าวต้องไม่ทา
ให้ความทนไฟของสายลดลง
ยกเว้นในโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน หรือชุดควบคุม
2.8.2.6 เต้ารับ -เต้าเสียบ
เต้ารับ-เต้าเสียบของระบบโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่เป็นชนิดกระแสสลับ แรงดันไฟฟ้าเกิน 50 โวลต์
จะต้องเป็นชนิดที่มีการต่อลงดิน ยกเว้นโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่เป็นชนิดฉนวน 2 ชั้น
2.8.2.7 สวิตช์ และอุปกรณ์ป้องกันสาหรับโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
สวิตช์และอุป กรณ์ป้ องกัน ส าหรั บ ระบบโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิ นควรติดตั้งในที่ซึ่งบุคคลทั่ว ไปไม่
สามารถเข้าถึงได้ และแต่ละสวิตช์ตัดตอน สวิตช์ หรืออุปกรณ์ป้องกันควรมีป้ายบอกพื้นที่ใช้งาน
สวิตช์ และอุปกรณ์ป้องกันต้องมีพิกัดไม่น้อยกว่า 2 เท่าของกระแสในวงจร และไม่เกิน 32 แอมแปร์

32 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

2.9 การตรวจสอบ
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้าแสงสว่างปกติอาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลา ดังนั้นต้องมีการตรวจสอบและการ
ทดสอบระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินตามระยะเวลาที่กาหนด ดังนี้
2.9.1 การติดตั้งใหม่
(1) ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต้องได้รับการตรวจสอบและทดสอบ โดยการจาลองความล้มเหลวของ
แหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติ ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินในระบบ ต้องส่องสว่างได้ตามพิกัดข้อ 2.4.1 ไม่
น้อยกว่า 120 นาที
(2) ถ้าระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินมีสวิตช์ถ่ายโอน เมื่อระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินติดตั้งใช้งานใน
ระบบแล้ว ต้องทดสอบโดยการตัดหรือยกเลิกการทางานของสวิตช์ไฟฟ้าดังกล่าว เพื่อแสดงว่า
ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินยังคงส่องสว่างได้
2.9.2 การตรวจสอบราย 3 เดือน
ต้องทาทุก 3 เดือน ตามตารางตัวอย่างที่แสดงไว้ในภาคผนวก ง
ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ต้องได้รับการตรวจสอบและทดสอบ โดยการจาลองความล้มเหลวของ
แหล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า ปกติ ระบบไฟฟ้ า แสงสว่ า งฉุ ก เฉิ น ในระบบ ต้ อ งส่ อ งสว่ า งได้ ต ามพิ กั ด ข้ อ 2.4.1
ไม่น้อยกว่า 60 นาที
กรณีที่แบตเตอรี่ไม่สามารถจ่ายไฟได้นานถึง 60 นาที ในระหว่างการทดสอบ ระบบต้องมีสัญญาณแสดง
ความล้มเหลวของแบตเตอรี่
2.9.3 การตรวจสอบรายปี
ต้องทาทุก 1 ปี ตามตารางตัวอย่างที่แสดงไว้ในภาคผนวก ง
ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ต้องได้รับการตรวจสอบและทดสอบ โดยการจาลองความล้มเหลวของ
แหล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า ปกติ ระบบไฟฟ้ า แสงสว่ า งฉุ ก เฉิ น ในระบบ ต้ อ งส่ อ งสว่ า งได้ ต ามพิ กั ด ข้ อ 2.4.1
ไม่น้อยกว่า 90 นาที
2.10 ใบรับรองและสมุดบันทึก
2.10.1 ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ
สาหรับอาคารที่ต้องจัดให้มีการตรวจสอบด้านวิศวกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ให้เป็น
ดังนี้
(1) สาหรับการติดตั้งใหม่
ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ ต้องรับรองโดยวิศวกรหรือผู้ได้รับอนุญาตพิเศษว่า ผู้ควบคุมการ
ติดตั้งทางานเป็นไปตามมาตรฐาน
(2) สาหรับการเปลี่ยนแปลงภายหลังการเปิดใช้อาคาร
ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จที่จะให้กับเจ้าของอาคาร ต้องรับรองโดยวิศวกรหรือผู้ได้รับอนุญาต
พิเศษว่า ผู้ควบคุมการเปลี่ยนแปลงทางานเป็นไปตามมาตรฐาน
(3) สาหรับการตรวจสอบ
การตรวจสอบและทดสอบตามกาหนดระยะเวลา ต้องรับรองโดยวิศวกรหรือผู้ได้รับอนุญาตพิเศษ
ว่า ผู้ตรวจสอบและทดสอบทางานเป็นไปตามมาตรฐาน

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 33


ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

2.10.2 สมุดบันทึก
สมุดบันทึกอย่างน้อยต้องมีรายละเอียด ดังนี้
(1) วันที่ออกใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ ของการติดตั้งใหม่ และการเปลี่ยนแปลงแต่ละครั้ง
(2) วันที่ออกใบรับรองการตรวจสอบตามระยะเวลาที่กาหนดแต่ละครั้ง
(3) วันที่และรายละเอียดของการบริการ และการตรวจสอบแต่ละครั้ง
(4) วันที่และรายละเอียดของข้อบกพร่องและการแก้ไขที่ได้ดาเนินการ
(5) วันที่และรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงการติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
(6) คาแนะนาและรายละเอียดของอุปกรณ์ของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่ต้องเปลี่ยน เช่น ชนิด
หลอด แบตเตอรี่ และฟิวส์
หมายเหตุ : สมุดบันทึกต้องจัดเก็บไว้ภายใต้การควบคุมดูแลของผู้รับผิดชอบที่แต่งตั้งโดยเจ้าของ
อาคาร และพร้อมสาหรับการตรวจสอบ
2.10.3 สถานที่และการจัดเก็บเอกสารของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
การเก็บเอกสารของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ให้ จัดเก็บไว้ที่หน่วยรับผิดชอบ เช่น ศูนย์สั่งการ
ดับเพลิง (fire command centre) เป็นต้น โดยมีเอกสารอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) แบบติดตั้งจริงของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ที่แสดงรายละเอียดดังนี้
(1.1) ตาแหน่งที่ติดตั้ง โดยแสดงหมายเลขระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินกากับ
(1.2) วงจรการเดินสายไฟฟ้าของระบบ
(1.3) ทางเข้าไปยังพื้นที่ปิด ที่ทาการติดตั้งอุปกรณ์ไว้
(2) ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ สาหรับงานติดตั้งใหม่ (ดูตัวอย่างในภาคผนวก ง.1 และ ง.4)
(3) ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ สาหรับงานเปลี่ยนแปลงภายหลังการเปิดใช้งาน (ดูตัวอย่างใน
ภาคผนวก ง.2 และ ง.4)
(4) ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบระหว่างใช้งาน (ดูตัวอย่างในภาคผนวก ง.3 และ ง.4)
(5) สมุดบันทึก

34 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 3
โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
ชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร
3.1 ขอบเขต
มาตรฐานโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินฉบับนี้ครอบคลุมคุณลักษณะที่ต้องการของโคมไฟฟ้าป้ายทางออก
ฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายใน (internally illuminated exit sign luminaire) สาหรับใช้ภายในอาคาร
โดยครอบคลุมการออกแบบ การทา คุณสมบัติ สมรรถนะ และการทดสอบของโคมไฟฟ้าป้ายทางออก
ฉุกเฉิน (emergency exit sign luminaire)
มาตรฐานนี้ไม่ครอบคลุมถึงโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างต่า (low illuminance area
internally illuminated exit sign luminaire) โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายนอก
(externally illuminated exit sign) โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินในห้องเย็น พื้นที่อันตราย
3.2 บทนิยาม
(1) ขอบป้าย (border) หมายถึง พื้นที่บนผิวป้ายทางออก ที่นอกเหนือจากพื้นที่องค์ประกอบภาพ และ
พื้นที่ป้ายเพิ่มเติมเป็นพื้นที่ที่ยอมให้มีได้ ดังตัวอย่างในรูปที่ 3.1
(2) โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน (emergency exit sign luminaire) หมายถึง โคมไฟฟ้าที่มี
แหล่งจ่ายไฟฟ้าสารองจากแบตเตอรี่เพื่อให้ความสว่างกับป้ายทางออก
(3) โคมไฟฟ้าต่อพ่วง (slave luminaire) หมายถึง โคมไฟฟ้ารับไฟจากระบบแหล่ งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน
ส่วนกลาง และไม่มีแหล่งจ่ายไฟฟ้าภายในโคม
(4) ป้ายทางออก (exit sign) หมายถึง ป้ายที่ใช้แสดงทางออกฉุกเฉิน หรือทางหนีภัย
(5) ป้ายทางออกสว่างในตัว (internally illuminated exit sign) หมายถึง ป้ายที่มีองค์ประกอบภาพ
ตามมาตรฐานโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน เช่น ตัวอย่างรูปที่ 3.1 โดยมีการเปล่งแสงสว่างออกจาก
ป้ายจากแหล่งกาเนิดแสงภายในตัวเอง
(6) ป้ายสว่างในตัว (internally illuminated sign) หมายถึง ป้ายทั่วไปที่มีแสงสว่างในตัว โดยไม่ต้อง
อาศัยแหล่งกาเนิดแสง (light source) จากภายนอก โดยมีการเปล่งแสงสว่างออกจากป้ายจาก
แหล่งกาเนิดแสงภายในตัวเอง

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 35


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

หมายเหตุ : เส้นตารางและเส้นประในรูปใช้แสดงส่วนขององค์ประกอบภาพ ในการอธิบายความหมายเท่านั้น


โดยจะไม่ปรากฏให้เห็นในป้ายทางออกจริง
รูปที่ 3.1 ตัวอย่างองค์ประกอบของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
(7) พื้นที่ป้ายเพิ่มเติม (additional background) หมายถึง พื้นที่บนผิวป้ายทางออกที่ไม่ใช่ส่วนของ
องค์ประกอบภาพ ที่มีสีเดียวกับสีพื้นขององค์ประกอบภาพ ดังตัวอย่างในรูปที่ 3.1
(8) องค์ประกอบภาพ (pictorial element) หมายถึง ภาพที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์ เช่น ลูกศร คนวิ่ง
ผ่านประตู ตัดกับฉากหลัง ประกอบกันขึ้นเพื่อใช้สื่อความหมาย สามารถใช้องค์ประกอบภาพ 1 ชิ้น
หรือหลายชิ้นร่วมกันเพื่อสร้างป้ายทางออก ดังตัวอย่างในรูปที่ 3.1
3.3 ข้อกาหนดทั่วไป
3.3.1 ข้อกาหนดของป้าย
3.3.1.1 องค์ประกอบภาพและรูปร่าง
องค์ประกอบภาพที่ปรากฏบนโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต้องมีขนาดและรูปร่าง เป็นสัดส่วนโดยตรง
กับองค์ประกอบภาพตัวอย่างที่ระบุในรูปที่ 3.2

36 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

ก. สัญลักษณ์รูปคนวิ่งผ่านประตูไปทางซ้าย ข. สัญลักษณ์รูปคนวิ่งผ่านประตูไปทางขวา

ค. สัญลักษณ์ลูกศรชี้ไปทางซ้าย ง. สัญลักษณ์ลูกศรชี้ไปทางขวา

จ. สัญลักษณ์ลูกศรชี้ตรงไป
หมายเหตุ : เส้นกริดที่ตีไว้จะไม่ปรากฏให้เห็นในโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินจริง
รูปที่ 3.2 องค์ประกอบภาพที่กาหนด

(1) โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต้องมีองค์ประกอบภาพ 1 ชิ้น หรือ 2 ชิ้น ประกอบร่วมกันให้เป็นไป


ตามรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งที่ระบุในรูปที่ 3.3 และรูปที่ 3.4 เท่านั้น
(2) โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต้องมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือสี่เหลี่ยมจัตุรัส
(3) ป้ายตัวอักษร ไม่อนุญาตให้ใช้เป็นโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน แต่สามารถใช้เสริมประกอบกับ
โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินได้ โดยให้ทาเป็นป้ายแยกอิสระออกจากกัน

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 37


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

ก. โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่ใช้องค์ประกอบภาพสัญลักษณ์รูปคนวิ่งผ่านประตูไปทางซ้าย

ข. โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่ใช้องค์ประกอบภาพสัญลักษณ์รูปคนวิ่งผ่านประตูไปทางขวา
หมายเหตุ : เส้นกริดที่ตีไว้จะไม่ปรากฏให้เห็นในโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินจริง
รูปที่ 3.3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่ใช้องค์ประกอบภาพ 1 ชิ้น
(เป็นตัวอย่างเฉพาะองค์ประกอบภาพขนาด 10 เซนติเมตร)

38 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

ก. ตรงไปข้างหน้าจากตรงจุดนี้

ข. ตรงไปข้างหน้าจากตรงจุดนี้

ค. ไปทางซ้ายจากตรงจุดนี้

ง. ไปทางขวาจากตรงจุดนี้
หมายเหตุ : เส้นกริดที่ตีไว้จะไม่ปรากฏให้เห็นในโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินจริง
รูปที่ 3.4 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่ใช้องค์ประกอบภาพ 2 ชิ้น
(เป็นตัวอย่างเฉพาะองค์ประกอบภาพขนาด 10 เซนติเมตร)

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 39


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

3.3.1.2 ตาแหน่งขององค์ประกอบภาพ
กรณีโ คมไฟฟ้าป้ ายทางออกฉุกเฉินใช้องค์ประกอบภาพ 1 ชิ้น ให้ ว างองค์ประกอบภาพที่ตาแหน่ง
ศูนย์กลางของป้ายทางออก (รูปที่ 3.3)
กรณีโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินใช้องค์ประกอบภาพ 2 ชิ้น ให้วางองค์ประกอบภาพชิดกันโดยคั่นด้วย
ช่องแบ่งกลาง โดยให้องค์ประกอบภาพรวมทั้งหมดอยู่ที่ตาแหน่งศูนย์กลางของโคมไฟฟ้าป้ายทางออก
ฉุกเฉิน (รูปที่ 3.4)
3.3.1.3 พื้นที่ป้ายเพิ่มเติม
พื้นที่ป้ายเพิ่มเติมต้องมีสีเดียวกับสีของฉากหลังขององค์ประกอบภาพ
กรณีโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินใช้องค์ประกอบภาพ 1 ชิ้น ต้องมีพื้นที่ป้ายเพิ่มเติมไม่น้อยกว่าพื้นที่
ขององค์ประกอบภาพ
กรณีโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินใช้องค์ประกอบภาพ 2 ชิ้น ต้องมีพื้นที่ป้ายเพิ่มเติมไม่น้อยกว่าร้อยละ
50 ของพื้นที่รวมขององค์ประกอบภาพ
3.3.1.4 ขอบป้าย (ถ้ามี)
ขอบป้ายต้องเป็นสีขาวโปร่งแสง ที่เป็นไปตามข้อกาหนดข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
(1) เป็นขอบต่อเนื่องทั้ง 4 ด้านของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
(2) เป็นขอบบนและขอบล่างของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
(3) เป็นขอบซ้ายและขอบขวาของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
(4) มีขนาดพื้นที่รวมไม่เกินร้อยละ 20 ของขนาดโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่ไม่รวมพื้นที่ของขอบ
ป้าย
3.3.1.5 สี
สัญลักษณ์ลูกศร และประตูขององค์ประกอบภาพต้องเป็นสีขาว ฉากหลังขององค์ประกอบภาพ และ
พื้นที่เพิ่มเติมของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต้องเป็นสีเขียว
สีดังกล่าวต้องเป็นไปตามข้อกาหนดในตารางที่ 3.1 และรูปที่ 3.5
ตารางที่ 3.1 โคออร์ดิเนตสีของวัสดุโปร่งแสง
โคออร์ดิเนตสีของจุดหัวมุมที่ใช้ระบุพื้นที่ของสีที่ยอมให้ใช้สาหรับแหล่งกาเนิดแสง
สี มาตรฐาน D65 และผู้สังเกตการณ์มาตรฐาน มุมมอง 2 องศา ของ CIE
1 2 3 4
เขียว x 0.201 0.285 0.170 0.026
y 0.776 0.441 0.364 0.399
ขาว x 0.350 0.305 0.295 0.340
y 0.360 0.315 0.325 0.370

40 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

 ขอบเขตของตาแหน่งสีเขียวและสีขาวทีร่ ะบุในตารางที่ 3-1


รูปที่ 3.5 ขอบเขตตาแหน่งสีของสีเขียว และสีขาวของวัสดุโปร่งแสง

3.3.1.6 ขนาดขององค์ประกอบภาพ
องค์ป ระกอบภาพที่ ป รากฏบนโคมไฟฟ้ าป้ายทางออกฉุกเฉินใด ๆ ต้อ งมีขนาด 10 เซนติเ มตร 15
เซนติเมตร 20 เซนติเมตร หรือใหญ่กว่า และต้องมีขนาดเป็นสัดส่วนโดยตรงที่สมนัยกับองค์ประกอบ
ภาพที่กาหนดในรูปที่ 3.2
3.3.1.7 ขนาดของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
ขนาดของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่ใช้องค์ประกอบภาพตามขนาดที่กาหนดในมาตรฐานนี้ให้
เป็นไปตามตารางที่ 3.2

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 41


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

ตารางที่ 3.2 ขนาดของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ขนาดของ ความสูงขั้นต่าของ ความกว้างขั้นต่าของ ความกว้างขั้นต่า ขนาดขั้นต่าของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่
องค์ประกอบภาพ พื้นที่ป้ายเพิ่มเติม พืน้ ที่ป้ายเพิ่มเติม ของพื้นที่เพิ่มเติม แนะนา
a ด้านบนและ ด้านข้างซ้ายและขวา ของช่องแบ่งกลาง (สูง x ยาว)
(เซนติเมตร) ด้านล่าง (เซนติเมตร) (เซนติเมตร) (เซนติเมตร x เซนติเมตร)
(เซนติเมตร) ใช้องค์ประกอบภาพ 1 ใช้องค์ประกอบภาพ 2
ชิ้น ชิ้น
10 2.5 4 5 15 x 18 15 x 33
15 3 5 6 21 x 25 21 x 46
20 4 6 8 28 x 32 28 x 60
>20 0.2a 0.2a+2 0.4a (1.4a) x (1.4a +4 ) (1.4a) x (2.8a +4 )

3.3.2 ข้อกาหนดด้านการส่องสว่าง
3.3.2.1 ข้อกาหนดทั่วไป
โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต้องเป็นชนิดส่องสว่างจากภายในตัวเอง และส่องสว่างตลอดเวลา และ
เป็นไปตามข้อกาหนดด้านการส่องสว่างตามที่ระบุในข้อ 3.3.2.2
การวัดค่าความสว่าง (luminance) บนระนาบ C0 ต้องกระทาภายในมุม 5 องศา จากแนวตั้งฉากกับ
หน้าของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน โดยใช้เครื่องวัดความสว่าง (luminance meter) ที่มีพื้นที่วัดค่า
ความสว่างเป็นวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตามที่ระบุในตารางที่ 3.3 การวัดค่าความสว่างบนระนาบ
C60 ให้วัดในแนวระดับที่มุมระหว่าง 55 องศา กับ 65 องศา ในแนวนอนที่วัดจากแนวตั้งฉากกับหน้า
ของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
3.3.2.2 การส่องสว่าง
การส่องสว่างของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต้องเป็นไปตามข้อกาหนดดังนี้
(1) ค่าความสว่างที่วัดได้บนระนาบ C0 ณ จุดวัดใด ๆ บนองค์ประกอบภาพที่เป็นสีเขียว ตามที่ระบุใน
ตารางที่ 3.4 และรูปที่ 3.6 ต้องมีค่าไม่ต่ากว่า 8 แคนเดลาต่อตารางเมตร ตลอดระยะเวลา 120
นาที ของการทางานของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินในสภาวะใช้แหล่งพลังงานในตัวเอง และค่า
ความสว่างที่วัดได้บนระนาบ C60 ต้องมีค่าไม่ต่ากว่าร้อยละ 10 ของค่าที่วัดได้บนระนาบ C0

ตารางที่ 3.3 ขนาดของพื้นที่วัดความสว่าง


ขนาดขององค์ประกอบภาพ a ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของพื้นที่วัดความสว่าง
(เซนติเมตร) (เซนติเมตร)
10 1.0 + 0.1
15 1.5 + 0.2
20 2.0 + 0.2
a >20 0.1a + 0.2

42 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

ตารางที่ 3.4 ตาแหน่งจุดวัดค่าความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีเขียว


ขนาดของ ตาแหน่งศูนย์กลางของจุดวัดที่
สัญลักษณ์ องค์ประกอบภาพ (เซนติเมตร)
(เซนติเมตร) 1 2 3 4 5 6 7 8
ลูกศร 10 x 0 5 10 -1.5 12 0 5 10
y 0 -1 0 5 5 10 11 10
15 x 0 7.5 15 -2.25 18 0 7.5 15
y 0 -1.5 0 7.5 7.5 15 16.5 15
20 x 0 10 20 -3 24 0 10 20
y 0 -2 0 10 10 20 22 20
คนวิ่งผ่าน 10 x -0.5 10 0 4.5 10 0 10 -
ประตู y -0.5 0 5 5.5 5 10 10
15 x -0.75 15 0 6.75 15 0 15 -
y -0.75 0 7.5 8.25 7.5 15 15
20 x -1 20 0 9 20 0 20 -
y -1 0 10 11 10 20 20
หมายเหตุ : 1) กรณีที่สัญลักษณ์ชี้หรือหันไปในทิศทางที่ต่างไปจากรูปที่ 3-6 ให้วัดค่าความสว่าง ณ จุดวัดที่สมนัยกัน
2) ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ 0.1 เซนติเมตร
3) กรณีที่องค์ประกอบภาพมีขนาดใหญ่กว่า 20 เซนติเมตร ให้วัด ณ จุดวัดที่สมนัยกัน และเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ
ค่าที่ระบุในตารางที่ 3-4

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 43


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

ก. ตาแหน่งจุดวัดความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีเขียวสัญลักษณ์ลูกศรชี้ไปทางขวามือ

ข. ตาแหน่งจุดวัดความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีเขียวสัญลักษณ์คนวิ่งผ่านประตูไปทางขวามือ
รูปที่ 3.6 ตาแหน่งจุดวัดค่าความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีเขียว

(2) อัตราส่วนของค่าความสว่างที่วัดได้บนระนาบ C0 ณ จุดวัดใด ๆ ที่เป็นสีขาว ตามที่ระบุในตารางที่


3.5 และรูปที่ 3.7 ต่อค่าความสว่างที่วัดได้บนระนาบ C0 ณ จุดวัดที่เป็นสีเขียวที่ใกล้ที่สุด ต้องมีค่า
ไม่ต่ากว่า 4 ต่อ 1
(3) อัตราส่วนของค่าความสว่างสูงสุดต่อค่าความสว่างต่าสุด
ณ จุดวัดบนพื้นที่สีเขียว ตามที่ระบุในตารางที่ 3.4 และรูปที่ 3.6 ต้องมีค่าไม่เกิน 5 ต่อ 1
ณ จุดวัดบนพื้นที่สีขาวตามที่ระบุในตารางที่ 3.5 และรูปที่ 3.7 ต้องมีค่าไม่เกิน 5 ต่อ 1

44 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

ตารางที่ 3.5 ตาแหน่งจุดวัดค่าความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีขาว


ขนาดของ ตาแหน่งศูนย์กลางของจุดวัดที่
สัญลักษณ์ องค์ประกอบภาพ (เซนติเมตร)
(เซนติเมตร) 1 2 3 4 5 6
ลูกศร 10 x 5 1.5 5 8 5 -
y 2 5 5 5 8
15 x 7.5 2.25 7.5 12 7.5 -
y 3 7.5 7.5 7.5 12
20 x 10 3 10 16 10 -
y 4 10 10 10 16
คนวิ่งผ่าน 10 x 2.5 7.5 2.5 7.5 2.5 7.5
ประตู y 1 3 5 5 9 9
15 x 3.75 11.25 3.75 11.25 3.75 11.25
y 1.5 4.5 7.5 7.5 13.5 13.5
20 x 5 15 5 15 5 15
y 2 6 10 10 18 18
หมายเหตุ : 1) กรณีที่สัญลักษณ์ชี้หรือหันไปในทิศทางที่ต่างไปจากรูปที่ 3-7 ให้วัดค่าความสว่าง ณ จุดวัดที่สมนัยกัน
2) ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ 0.1 เซนติเมตร
3) กรณีที่องค์ประกอบภาพมีขนาดใหญ่กว่า 20 เซนติเมตร ให้วัดค่าความสว่าง ณ จุดวัดที่ สมนัยกัน และเป็น
สัดส่วนโดยตรงกับค่าที่ระบุในตารางที่ 3-5

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 45


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

ก. ตาแหน่งจุดวัดค่าความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีขาวสัญลักษณ์ลูกศรชี้ไปทางขวามือ

ข. ตาแหน่งจุดวัดค่าความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีขาวสัญลักษณ์คนวิ่งผ่านประตูไปทางขวามือ
รูปที่ 3.7 ตาแหน่งจุดวัดค่าความสว่างบนองค์ประกอบภาพสีขาว

3.3.3 ข้อกาหนดในการทางาน
3.3.3.1 ชนิดของแบตเตอรี่
แบตเตอรี่ ที่ใช้ต้องเป็น แบตเตอรี่แบบหุ้ มปิดมิดชิดและไม่ต้องมีการบารุงรักษา เช่น แบตเตอรี่ชนิด
นิกเกิลเมทัลไฮไดรด์แบบหุ้มปิดมิดชิด (sealed nickel-metal hydride) หรือแบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรด
แบบหุ้มปิดมิดชิด (sealed lead acid) เป็นต้น
3.3.3.2 ความจุของแบตเตอรี่
แบตเตอรี่ต้องจ่ายไฟได้นานไม่น้อยกว่า 120 นาที โดยมีแรงดันไฟฟ้าต่าสุดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ
แรงดันพิกัดปกติ และมีระยะเวลาอัดประจุ (recharge time) นานไม่เกิน 24 ชั่วโมง

46 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

3.3.3.3 สัญญาณแสดงความล้มเหลวของแบตเตอรี่
โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ต้องมีอุปกรณ์เพื่อจาลองความล้มเหลวของแหล่งจ่ายไฟปกติ โคมไฟฟ้า
ป้ายทางออกฉุกเฉินต้องส่องสว่างนานไม่น้อยกว่า 60 นาที และกลับสู่สภาพปกติโดยอัตโนมัติ ในกรณีที่
แบตเตอรี่ไม่สามารถจ่ายไฟได้นานถึง 60 นาที ในระหว่างการทดสอบ ระบบต้องมีสัญญาณแสดงความ
ล้มเหลวของแบตเตอรี่
3.4 สภาวะทั่วไปสาหรับการทดสอบ
3.4.1 ข้อกาหนดทั่วไปในการทดสอบ
การทดสอบให้ทาในห้องที่มีอุณหภูมิโดยรอบ 25 องศาเซลเซียส + 5 องศาเซลเซียส
3.4.2 การทดสอบด้านการส่องสว่าง
ก่อนทาการทดสอบด้านการส่องสว่างให้ทาการอัดประจุและคลายประจุแบตเตอรี่ของโคมไฟฟ้าป้าย
ทางออกฉุกเฉิน จานวน 3 รอบ ในการอัดประจุและคลายประจุแบตเตอรี่แต่ละรอบให้มีเวลาพักระหว่าง
รอบได้ไม่เกินครั้งละ 12 ชั่วโมง
ในการคลายประจุแบตเตอรี่รอบที่ 3 ให้ตรวจวัดแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่อย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มต้น
คลายประจุและบันทึกค่าที่วัดได้ ณ นาทีที่ 120
การตรวจวัดความสว่างให้ใช้แหล่งจ่ายไฟตรงแรงดันเท่ากับแรงดันของแบตเตอรี่ ณ นาทีที่ 120 + ร้อย
ละ 0.5 แทนแบตเตอรี่
การวัดความสว่างบนระนาบ C60 ณ จุดวัดแต่ละจุด ต้องวัดทั้ง 2 ด้าน คือด้านซ้ายและด้านขวา ให้ใช้
ค่าต่าสุดที่วัดได้เป็นค่าความสว่างที่วัดได้ ณ จุดดังกล่าว
การวัดความสว่างให้ใช้เครื่องวัดความสว่าง (luminance meter) ที่มีชั้นความแม่นยา (accuracy
class) ไม่ด้อยกว่า + ร้อยละ 2
3.5 การติดตั้งโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน และระยะห่าง
3.5.1 ความสูงของการติดตั้ง
โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินให้ติดตั้งด้านบนเพื่อสังเกตเห็นได้ง่าย กรณีที่คาดว่าควันมีปัญหาทาให้
มองเห็นป้ายทางออกไม่ชัดเจน อาจเพิ่มโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินติดตั้งที่ด้านล่างกรณีติดตั้งตามที่
กาหนดไม่ได้ให้ปรึกษาร่วมกันกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
(1) ป้ายทางออกด้านบน ขอบล่างของป้ายสูงจากพื้นประมาณ 2 เมตร – 2.7 เมตร
ความสูงนอกเหนือจากนี้ สามารถทาได้ตามที่กาหนดในแผนและคู่มือการ
ป้องกันเพลิงไหม้ (fire procedure)
(2) ป้ายทางออกด้านล่าง ป้ายทางออกด้านล่างให้ใช้เป็นป้ายเสริมเท่านั้ น โดยขอบล่างของป้ายสูง
จากพื้นระหว่าง 15 เซนติเมตร กับ 20 เซนติเมตร และขอบของป้ายอยู่
ห่างจากขอบประตูไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร
(3) ป้ายทางออกฝังพื้น ป้ายทางออกฝังพื้นให้ใช้เป็นป้ายเสริมเท่านั้น ต้องเป็นชนิดกันน้าที่มีความ
แข็งแรง เหมาะสาหรับใช้ในเส้ นทางหนี ภัย โดยไม่ก่อให้เกิดการสะดุด
หรือเป็นอุปสรรคในขณะหนีภัย

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 47


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

3.5.2 ระยะห่างระหว่างป้ายทางออก
ระยะห่างระหว่างป้ายทางออกด้านบนสาหรับสัญลักษณ์ที่มีความสูง 10 เซนติเมตร ต้องมีระยะไม่เกิน
24 เมตร โดยติดตั้งตามเส้นทางที่นาไปสู่ทางออก และให้ติดตั้งป้ายทางออกด้านบนเพิ่มเติมที่จุดทาง
เลี้ยว ทางแยก และเหนือประตูทางออกสุดท้าย (final exit) ด้วย
กรณีที่ใช้ระยะห่างระหว่างป้ายมากกว่า 24 เมตร สามารถทาได้โดยใช้ป้ายทางออกที่มีสัญลักษณ์ที่มี
ความสูงไม่น้อยกว่าระยะทาง (หน่วยเป็นเซนติเมตร) หารด้วย 240

ก. การติดตั้งป้ายทางออกในทางตรง

ข. การติดตั้งป้ายทางออกในบริเวณทางเลี้ยวและทางแยก

ค. สัญลักษณ์ป้ายทางออก
รูปที่ 3.8 การติดตั้งป้ายทางออก

48 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

3.5.3 ระยะห่างระหว่างป้ายสูงสุด
ระยะห่างระหว่างป้ายสูงสุดของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินให้เป็นไปตามที่ระบุในตารางที่ 3.6

ตารางที่ 3.6 ระยะห่างระหว่างป้ายสูงสุดของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ขนาดขององค์ประกอบภาพ (a) ระยะห่างระหว่างป้ายสูงสุด
(เซนติเมตร) (เมตร)
10 24
15 36
20 48
a >20 2.4a

รูปที่ 3.9 การติดตั้งป้ายทางออกใกล้พื้นเสริมกับป้ายทางออกด้านบน

3.5.4 การเดินสายและข้อกาหนดของอุปกรณ์โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต่อพ่วง
3.5.4.1 ทั่วไป
การเดินสายและการติดตั้งโคมไฟฟ้า ต้องเป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย
ของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ฉบับล่าสุด และเพิ่มเติมตามข้อต่อไปนี้
3.5.4.2 การเดินสายไฟฟ้าสาหรับโคมไฟฟ้าต่อพ่วง
(1) ชนิดของสายไฟฟ้า
สายไฟฟ้าที่ใช้สาหรับเดินจากโคมไฟฟ้าต่อพ่วงไปยังแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินส่วนกลางต้องเป็นชนิด
ทนไฟ และต้องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ เช่น ร้อยในท่อหรือช่องเดินสายอื่น ยกเว้น
ในส่ ว นปิ ด ล้ อ มทนไฟไม่ น้ อ ยกว่ า 1 ชั่ ว โมง หรื อ ใช้ ร ะบบการเดิ น สายอื่ น ที่ ใ ห้ ผ ลการป้ อ งกั น
เทียบเท่ากัน
(2) ขนาดสายไฟฟ้า
สายไฟฟ้าต้องมีขนาดเพีย งพอที่จะรับกระแสที่ไหลในวงจรได้ แต่ต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า 2.5
ตารางมิลลิเมตร และแรงดันตกไม่เกินร้อยละ 5

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 49


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

(3) การเดินสายแยกจากระบบอื่น
การเดินสายระบบสาหรับโคมไฟฟ้าต่อพ่วง ต้องแยกจากการเดินสายวงจรอื่น โดยการติดตั้งท่อ
หรือช่องเดินสายแยกจากกันหรือแยกตัวนาจากตัวนาอื่นโดยมีที่กั้นต่อเนื่องที่ทาด้วยวัสดุที่ไม่ติดไฟ
ช่องเดินสายหรือเครื่องหมายอื่น ๆ ต้องมีเครื่องหมายกากับที่ถาวรและเห็นได้ชัดเจน
(4) จุดต่อสาย
จุดต่อสายต้องอยู่ในกล่องต่อสายที่มีเครื่องหมายกากับที่ถาวรและชัดเจน จุดต่อสายดังกล่าวต้องไม่
ทาให้ความทนไฟของสายลดลง ยกเว้นในโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน หรือชุดควบคุม
3.6 การตรวจสอบ
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้าแสงสว่างปกติอาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลา ดังนั้นต้ องมีการตรวจสอบและการ
ทดสอบโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินตามระยะเวลาที่กาหนด ดังนี้
3.6.1 การติดตั้งใหม่
(1) โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต้องได้รับการตรวจสอบและทดสอบ โดยการจาลองความล้มเหลว
ของแหล่ งจ่ ายไฟฟ้าปกติ โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินในระบบ ต้องส่ องสว่างได้ตามพิกัด ข้อ
3.3.2 ไม่น้อยกว่า 120 นาที
(2) ถ้าโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินมีสวิตช์ถ่ายโอน เมื่อโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินติดตั้งใช้งานใน
ระบบแล้ว ต้องทดสอบโดยการตัดหรือยกเลิกการทางานของสวิตช์ไฟฟ้าดังกล่าว เพื่อแสดงว่าโคม
ไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินยังคงส่องสว่างได้
3.6.2 การตรวจสอบราย 3 เดือน
ต้องทาทุก 3 เดือน ตามตารางตัวอย่างที่แสดงไว้ในภาคผนวก ง
โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต้องได้รับการตรวจสอบและทดสอบ โดยการจาลองความล้มเหลวของ
แหล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า ปกติ โคมไฟฟ้ า ป้ า ยทางออกฉุ ก เฉิ น ในระบบ ต้ อ งส่ อ งสว่ า งได้ ต ามพิ กั ด ข้ อ 3.3.2
ไม่น้อยกว่า 60 นาที
กรณีที่แบตเตอรี่ไม่สามารถจ่ายไฟได้นานถึง 60 นาที ในระหว่างการทดสอบ ระบบต้องมีสัญญาณแสดง
ความล้มเหลวของแบตเตอรี่
3.6.3 การตรวจสอบรายปี
ต้องทาทุก 1 ปี ตามตารางตัวอย่างที่แสดงไว้ในภาคผนวก ง
โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินต้องได้รับการตรวจสอบและทดสอบ โดยการจาลองความล้มเหลวของ
แหล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า ปกติ โคมไฟฟ้ า ป้ า ยทางออกฉุ ก เฉิ น ในระบบ ต้ อ งส่ อ งสว่ า งได้ ต ามพิ กั ด ข้ อ 3.3.2
ไม่น้อยกว่า 90 นาที
3.7 ใบรับรองและสมุดบันทึก
3.7.1 ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ
สาหรับอาคารที่ต้องจัดให้มีการตรวจสอบด้านวิศวกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ใ ห้ เ ป็ น
ดังนี้
(1) สาหรับการติดตั้งใหม่
ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ ต้องรับรองโดยวิศวกรหรือผู้ได้รับอนุญาตพิเศษว่า ผู้ควบคุมการ
ติดตั้งทางานเป็นไปตามมาตรฐาน

50 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคที่ 3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินชนิดส่องสว่างจากภายในสาหรับอาคาร

(2) สาหรับการเปลี่ยนแปลงภายหลังการเปิดใช้อาคาร
ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จที่จะให้กั บเจ้าของอาคาร ต้องรับรองโดยวิศวกรหรือผู้ได้รับอนุญาต
พิเศษว่า ผู้ควบคุมการเปลี่ยนแปลงทางานเป็นไปตามมาตรฐาน
(3) สาหรับการตรวจสอบ
การตรวจสอบและทดสอบตามกาหนดระยะเวลา ต้องรับรองโดยวิศวกรหรือผู้ได้รับอนุญาตพิเศษ
ว่า ผู้ตรวจสอบและทดสอบทางานเป็นไปตามมาตรฐาน
3.7.2 สมุดบันทึก
สมุดบันทึกอย่างน้อยต้องมีรายละเอียด ดังนี้
(1) วันที่ออกใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ ของการติดตั้งใหม่ และการเปลี่ยนแปลงแต่ละครั้ง
(2) วันที่ออกใบรับรองการตรวจสอบตามระยะเวลาที่กาหนดแต่ละครั้ง
(3) วันที่และรายละเอียดของการบริการ และการตรวจสอบแต่ละครั้ง
(4) วันที่และรายละเอียดของข้อบกพร่องและการแก้ไขที่ได้ดาเนินการ
(5) วันที่และรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงการติดตั้งโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
(6) คาแนะนาและรายละเอียดของอุปกรณ์ของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่ต้องเปลี่ยน เช่น ชนิด
หลอด แบตเตอรี่ และฟิวส์
หมายเหตุ : สมุดบันทึกต้องจัดเก็บไว้ภายใต้การควบคุมดูแลของผู้รับผิดชอบที่แต่งตั้งโดยเจ้าของ
อาคาร และพร้อมสาหรับการตรวจสอบ
3.8 สถานที่และการจัดเก็บเอกสารของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
การเก็บเอกสารของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ให้จัดเก็บไว้ที่หน่วยรับผิดชอบ เช่น ศูนย์สั่งการดับเพลิง
(fire command centre) เป็นต้น โดยมีเอกสารอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) แบบติดตั้งจริงของโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ที่แสดงรายละเอียดดังนี้
(1.1) ตาแหน่งที่ติดตั้ง โดยแสดงหมายเลขโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินกากับ
(1.2) วงจรการเดินสายไฟฟ้าของระบบ
(1.3) ทางเข้าไปยังพื้นที่ปิด ที่ทาการติดตั้งอุปกรณ์ไว้
(2) ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ สาหรับงานติดตั้งใหม่ (ดูตัวอย่างในภาคผนวก ง.1 และ ง.4)
(3) ใบรั บ รองการท างานแล้ ว เสร็ จ ส าหรั บ งานเปลี่ ย นแปลงภายหลั ง การเปิ ด ใช้ ง าน (ดู ตั ว อย่ า งใน
ภาคผนวก ง.2 และ ง.4)
(4) ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบระหว่างใช้งาน (ดูตัวอย่างในภาคผนวก ง.3 และ ง.4)
(5) สมุดบันทึก

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 51


ภาคผนวก ก
การวัดความส่องสว่างในระบบแสงสว่างฉุกเฉิน

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 53


ภาคผนวก ก การวัดความส่องสว่างในระบบแสงสว่างฉุกเฉิน

ภาคผนวก ก การวัดความส่องสว่างในระบบแสงสว่างฉุกเฉิน
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขึ้นเพื่อใช้เป็นข้อมูลเท่านั้น)

การวัดความส่องสว่างของการติดตั้งแสงสว่างฉุกเฉินเป็นเรื่องจาเป็นและควรดาเนินการด้วยความระมัดระวัง และ
ด้วยเครื่องมือที่ดี ทุกงานที่ทดสอบควรดาเนินการโดยจาลองความล้มเหลวของการจ่ายไฟฟ้าปกติ
เครื่องมือที่วัดทางแสงที่ใช้ควรมีเซลล์รับแสงที่มีค่าการแก้โคไซน์ (cosine) เมื่อแสงที่ตกกระทบส่วนใหญ่มาจากมุม
เฉียงมาก เครื่องมือวัดที่เหมาะสมสาหรับการวัดที่ความส่องสว่างต่าควรมีย่านตั้งแต่ 10 มิลลิลักซ์ ถึง 100 ลักซ์ มี
ความไว 10 มิลลิลักซ์ ควรระวังเรื่องเงาที่ไปทาบที่เครื่องวัด ดังนั้นควรใช้เซลล์รับแสงอยู่ห่างจากเครื่องอ่านค่า
การวัดค่าความส่องสว่างต้องทาในระนาบที่ใช้ในการออกแบบ
ผลของแสงจันทร์ หรือแสงไฟถนน ทาให้มีการอ่านค่าผิดพลาดได้เนื่องจากไปรวมความส่องสว่างเนื่องจากแสง
จันทร์ หรือแสงไฟถนนด้วย ดังนั้นอาจแก้ไขได้โดยการอ่านค่าแสงดังกล่าวเมื่ อปิดไฟแสงสว่างฉุกเฉิน และเมื่อเปิด
ไฟแสงสว่างฉุกเฉินก็อ่านค่า และนาค่าความส่องสว่างเนื่องจากแสงจันทร์ หรือไฟแสงสว่างถนนที่อ่านได้ มาลบ
ออกก็ได้ความส่องสว่างเฉพาะของไฟแสงสว่างฉุกเฉิน
ปริมาณแสงที่ออกจากระบบแสงสว่างฉุกเฉินจะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา การทดสอบควรทาให้ เสร็จก่อนในพิกัด
ช่วงเวลาทางานฉุกเฉินของโคมไฟฟ้า เพราะแบตเตอรี่คายประจุตลอดเวลาที่จ่ายไฟฟ้าให้หลอดไฟฟ้า
สาหรับการวัดแสงสว่างฉุกเฉินในเส้นทางหนีภัย แนะนาให้เลือกจุดวัดจานวนหนึ่งของพื้นที่ที่มีความส่องสว่าง
ต่าสุด ซึ่งจุดแนะนาได้แก่
ก. ระหว่างโคมไฟฟ้าฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่องบันได
ข. พื้นที่ทางานวิกฤต
ค. ในพื้นที่ซึ่งมีการติดตั้งโคมไฟฟ้าฉุกเฉินที่ระดับสูงที่สุด
ง. ที่ซึ่งมีระยะห่างระหว่างโคมไฟฟ้าฉุกเฉินมากที่สุด
จ. จุดที่มีการเปลี่ยนทิศทาง
ฉ. ที่ธรณีประตูทางออก
สาหรับการวัดความส่องสว่างเฉลี่ยในพื้นที่ซึ่งไม่มีทางหนีภัยที่ชัดเจน การทดสอบให้วัดทั่วทั้งพื้นที่
ในทางปฏิบัติความส่องสว่างทั่วทั้งพื้นที่มีความสม่าเสมอน้อยมาก พื้นที่ภายในควรแบ่งเป็นโซนควรวัดความส่อง
สว่างในแต่ละโซน และคานวณค่าเฉลี่ย จานวนจุดที่วัดในพื้นที่ไม่ควรน้อยกว่าพื้นที่ตารางเมตรทั้งหมดหารด้วย 25
และไม่ว่ากรณีใดจานวนค่าที่วัดไม่ควรน้อยกว่า 4 ค่า ค่าที่วัดควรตรวจสอบกับข้อมูลที่ออกแบบไว้
ต้องตรวจสอบพิกัดช่วงเวลาทางานฉุกเฉินของโคมไฟฟ้าชุดเบ็ดเสร็จทุกชุด สาหรับระบบส่วนกลางจาเป็นที่ต้องวัด
ที่โคมไฟฟ้าที่มีแรงดันตกมากที่สุด
การวัดในพื้นที่ติดตั้งจริงเป็นการพิสูจน์ความถูกต้องระดับหนึ่งของข้อมูลออกแบบ และส่วนใหญ่ค่าความส่องสว่าง
ที่วัดได้จะสูงกว่าค่าต่าสุดที่ออกแบบไว้

54 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ข
รายละเอียดและข้อแนะนาเรือ่ งระบบแบตเตอรี่

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 55


ภาคผนวก ข รายละเอียดและข้อแนะนาเรื่องระบบแบตเตอรี่

ภาคผนวก ข รายละเอียดและข้อแนะนาเรื่องระบบแบตเตอรี่
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขึ้นเพื่อใช้เป็นข้อมูลเท่านั้น)

ข.1 ระบบแบตเตอรี่ส่วนกลาง (central battery system)


ข.1.1 สถานที่ติดตั้ง
(1) ที่ติดตั้ง แหล่งกาเนิดและอุปกรณ์อื่นที่เกี่ยวข้อง จะต้องตั้งอยู่ในห้องหรือพื้นที่ล้อมรอบที่สามารถ
ทนไฟได้ไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
(2) การเข้าถึงได้ ที่ประตูหรือบริเวณประตูห้องที่ตั้งระบบแบตเตอรี่ส่วนกลางต้องมีป้ายบอกที่ชัดเจน
ว่าเป็ น ห้ อ งแหล่ งจ่ ายไฟฟ้า แสงสว่า งฉุก เฉิน ตาแหน่ง ติดตั้ งแบตเตอรี่ส่ ว นกลางต้องเข้า ถึงได้
โดยสะดวก
(3) การระบายอากาศ ห้องหรือพื้นที่ล้อมรอบที่ตั้งระบบแบตเตอรี่ ส่วนกลางต้องระบายอากาศหรือ
ปรับอากาศให้เหมาะกับแบตเตอรี่ชนิดปิดผนึก
ข.1.2 แบตเตอรี่และการติดตั้ง
(1) ชนิดของแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ควรเป็นชนิดต่อไปนี้
(1.1) แบตเตอรี่ชนิดนิกเกิลแบบปิดผนึก (sealed nickel)
(1.2) แบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรดแบบปิดผนึก (sealed lead acid)
(1.3) แบตเตอรี่ชนิดนิกเกิลเมเทิลไฮไดรด์แบบปิดผนึก (sealed nickel metal hydride)
(1.4) แบตเตอรี่แบบปิดผนึกและไม่ต้องมีการบารุงรักษา
(2) การปลดแบตเตอรี่ ออกจากระบบ ระบบต้อ งสามารถปลดแบตเตอรี่อ อกจากภาระเชื่อ มต่ อ
ระหว่ า งแบตเตอรี่ กั บ ภาระ เมื่ อ เกิ ด ภาวะแรงดั น แบตเตอรี่ ต่ ากว่ า แรงดั น ไฟฟ้ า ต่ าสุ ด (end
voltage) ตามคุณลักษณะเฉพาะทางของแบตเตอรี่แต่ละประเภท
(3) ข้อบ่งชี้และการจัดแบตเตอรี่ แต่ละเซลล์ในแบตเตอรี่ควรมีเครื่องหมายที่ชัดเจนและทนทาน
ระบุหมายเลขเพื่ออานวยความสะดวกในการบันทึกการบารุงรักษาเซลล์ควรจัดเรียงเพื่อให้สามารถ
ทาการบารุงรักษาได้สะดวก
(4) การเชื่อมต่อกันของแบตเตอรี่ การเชื่อมต่อระหว่างแบตเตอรี่ต้องใช้อุปกรณ์เฉพาะที่เหมาะกับขั้ว
แบตเตอรี่เท่านั้น
ข.1.3 เครื่องประจุแบตเตอรี่
(1) ทั่วไป เครื่องประจุแบตเตอรี่ต้องสามารถประจุจนแบตเตอรี่เต็มและหยุดการประจุโดยอัตโนมัติ
(2) การควบคุมแรงดัน เครื่องประจุแบตเตอรี่ต้องมีการควบคุมการประจุให้แบตเตอรี่มีแรงดันไฟฟ้า
สูงสุดต่อเซลล์ไม่เกินแรงดันไฟฟ้าสูงสุดตามคุณลักษณะเฉพาะของแบตเตอรี่แต่ละประเภท
(3) พิกัดของเครื่องประจุ เมื่อแบตเตอรี่มีการคายประจุจากสถานะประจุเต็ม โดยจ่ายให้แก่ไฟฟ้า
แสงสว่างฉุกเฉินทั้งหมดในพิกัดช่วงเวลาทางานฉุกเฉินแล้ว ต้องประจุกลับเข้าโดยใช้เวลาไม่เกิน 24
ชั่วโมง และแบตเตอรี่ต้องสามารถจ่ายไฟได้ตามพิกัดช่วงเวลาทางานฉุกเฉิน
(4) เครื่ อ งวั ด และอุ ป กรณ์ ค วบคุ ม เครื่ อ งประจุ แ บตเตอรี่ ต้ อ งมี เ ครื่ อ งวั ด และอุ ป กรณ์ ค วบคุ ม
ดังต่อไปนี้

56 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ข รายละเอียดและข้อแนะนาเรื่องระบบแบตเตอรี่

(4.1) เครื่องปลดวงจร และเครื่องป้องกันกระแสเกินด้านไฟเข้า


(4.2) หลอดไฟแสดงการจ่ายไฟเข้า
(4.3) โวลต์มิเตอร์กระแสตรง ซึ่งมีตัวบ่งชี้ว่าทางานในอัตราแรงดันประจุคงที่ หรือมีการเพิ่ม
อัตราแรงดันการประจุ
(4.4) แอมป์มิเตอร์กระแสตรง สาหรับวัดค่ากระแสที่ใช้ในการประจุ
(4.5) ฟิวส์หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ด้านจ่ายไฟไปยังแสงสว่างฉุกเฉิน
ข.1.4 อินเวอร์เตอร์
(1) ทั่วไป กรณีที่ระบบแบตเตอรี่ส่วนกลางต้องการจ่ายไฟให้แก่ภาระไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ที่สามารถ
รั บ แรงดั น ไฟฟ้ า กระแสสลั บ เท่ า กั บ แรงดั น ของแหล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า ปกติ โดยมี ก ารป้ อ งกั น ความ
ปลอดภัยจากช็อกไฟฟ้า (electric shock) ระบบแบตเตอรี่ส่วนกลางต้องมีชุดอินเวอร์เตอร์เพิ่ม
ขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่เปลี่ยนแรงดันจากไฟฟ้ากระแสตรงจากแบตเตอรี่เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
เพื่อจ่ายไฟให้แก่ภาระไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
(2) การทางานของอินเวอร์เตอร์ ขณะที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติทางาน ชุดอินเวอร์เตอร์จะยังไม่ทางาน
และเมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติล้มเหลว แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงจากแบตเตอรี่จะเชื่อมต่อเข้ากับชุด
อินเวอร์เตอร์ และชุดอินเวอร์เตอร์จะทาหน้าที่เปลี่ยนแรงดันจากไฟฟ้ากระแสตรงจากแบตเตอรี่
เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเพื่อจ่ายไฟให้แก่ภาระไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและเมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้า
ปกติสามารถจ่ายไฟได้ ชุดอินเวอร์เตอร์จะถูกปลดออกจากแบตเตอรี่ และพร้อมที่จะทางานอีกครั้ง
เมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติล้มเหลว
(3) พิกัดอินเวอร์เตอร์ อินเวอร์เตอร์ต้องสามารถจ่ายไฟให้แก่ภาระไฟฟ้าแสงสว่างฉุ กเฉินที่ต่ออยู่ได้
อย่างต่อเนื่อง และต้องทางานตามข้อกาหนดต่าง ๆ ดังนี้
(3.1) ความถี่ออก : + ร้อยละ 5 ของความถี่พิกัด
(3.2) แรงดันออก : + ร้อยละ 5 ของแรงดันพิกัด
(4) เครื่องวัด ต้องมีโวลต์มิเตอร์กระแสสลับขาออกเพิ่มจากที่กาหนดในข้อ ข.1.3 (4)
ข.2 ระบบแบตเตอรี่ในตัว (self-contained system)
ข.2.1 ทั่วไป
ระบบแบตเตอรี่ในตัวใช้สาหรับโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จรวมถึงโคมไฟฟ้าป้ายทางออก
ฉุกเฉิน
ข.2.2 แบตเตอรี่และการติดตั้ง
(1) ชนิดของแบตเตอรี่ให้เป็นไปตามข้อ ข.1.2 (1)
(2) การเปลี่ยนแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ต้องมีการติดตั้งอย่างมั่นคงอยู่ภายในโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
หรือโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน และสามารถที่จะถอดเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ได้ โดยไม่ต้องรื้อ
ส่วนประกอบอื่นๆ ของโคมไฟฟ้าออก

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 57


ภาคผนวก ค
ข้อแนะนาการติดตัง้
โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 59


ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขึ้นเพื่อใช้เป็นข้อมูลเท่านั้น)

ค.1 พื้นที่โล่งภายในอาคารที่ไม่มีทางหนีภัยที่ชัดเจน
ติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ ที่มีค่าฟลักซ์ส่ องสว่าง 630 ลูเมนต่อหลอด ที่ความสูง 3 เมตร
จานวน 2 หลอดต่อชุด ทั้งหมด 4 ชุด ในพื้นที่โล่งขนาด 30x30 เมตร โดยกาหนดจุดเล็งไปที่ตาแหน่ง (x,y)
ตามลาดับดังนี้ คือ (0,16), (15,16), (15,16), (30,16), (0,14), (15,14), (15,14), (30,14)

รูปที่ ค.1 การติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จในพื้นที่โล่ง


ผลการคานวณและรายละเอียดของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่เลือกใช้ตามเงื่อนไขข้างต้นดังนี้

60 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 61


ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

62 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 63


ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

64 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

จากรายการคานวณ หากต้องการระดับความส่องสว่างในแนวระดับสาหรับพื้นที่ที่ไม่มีสิ่งกีด ขวาง ต้องไม่


น้อยกว่า 0.5 ลักซ์ ยกเว้นพื้นที่ที่ห่างจากผนังในระยะ 0.5 เมตร โดยรอบ ดังนั้นจึงติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่าง
ฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ ห่างกันสูงสุดในระนาบเดียวกันไม่เกิน 15 เมตร และห่างกันสูงสุดในระนาบตั้งฉากได้ไม่
เกิน 30 เมตร ดังแสดงในรูปที่ ค.1
หมายเหตุ : รายการคานวณนี้เป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น ผลการคานวณที่ได้ ใช้ได้เฉพาะโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุด
เบ็ดเสร็จนี้เท่านั้น หากเป็นโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จชุดอื่น จะต้องทาการคานวณใหม่ทุกครั้ง

ค.2 ทางหนีภัยกว้างไม่เกิน 2 เมตร


ติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ ที่มีค่าฟลักซ์ส่องสว่าง 630 ลูเมนต่อหลอด ที่ความสูง 2 เมตร
จานวน 2 หลอด ทั้งหมด 2 ชุด ในทางหนีภัยกว้าง 2 เมตร ยาว 40 เมตร โดยกาหนดจุดเล็งไปที่ตาแหน่ง
(x,y) ตามลาดับดังนี้ คือ (0,1) , (21,1), (19,1), (40,1)

รูปที่ ค.2 การติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ


ผลการคานวณและรายละเอียดของโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่เลือกใช้ตามเงื่อนไขข้างต้นดังนี้

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 65


ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

66 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 67


ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

68 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ค ข้อแนะนาการติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ

จากรายการคานวณ หากต้องการระดับความส่องสว่างในแนวระดับที่พื้นที่เส้ นกึ่งกลางของทางหนีภัย ต้อง


ไม่น้อยกว่า 1 ลักซ์ และระดับความส่องสว่างที่จุดใดๆ ในระยะไม่เกิน 0.5 เมตร จากเส้นกึ่งกลางของทาง
หนี ภัย ต้องไม่น้ อยกว่า 0.5 ลักซ์ ดังนั้นจึงติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จห่ างกันสู งสุดใน
ระนาบเดียวกันได้ไม่เกิน 19 เมตร ดังแสดงในรูปที่ ค.2
หมายเหตุ : รายการคานวณนี้เป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น ผลการคานวณที่ได้ ใช้ได้เฉพาะโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุด
เบ็ดเสร็จนี้เท่านั้น หากเป็นโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จชุดอื่น จะต้องทาการคานวณใหม่ทุกครั้ง

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 69


ภาคผนวก ง
ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและ
ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 71


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

ภาคผนวก ง.1
ตัวอย่างใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ
สาหรับงานติดตั้งใหม่

72 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ สาหรับงานติดตั้งใหม่

ส่วนผู้ครอบครอง/เจ้าของ
ผู้ครอบครอง/เจ้าของ..........................................................................................................................................
ชื่อโครงการ/อาคาร …………………………………………………………………………………................................................
ขนาดของโครงการ ………………………………………………………………………………….................................................
(ตัวอย่างเช่น อาคาร 20 ชั้น 25,000 ตารางเมตร หรือ อาคารโรงแรม 300 ห้อง)
ประเภทของการใช้สอย ……………………………………………………………………………...............................................
ที่อยู่........................................................................................................................................... .........................
................................................................................... โทรศัพท์ ........................................................................
โทรสาร .................................................................... อีเมล .........................................................................

ส่วนวิศวกรผู้ออกแบบ (ถ้ามีความต้องการ)
ชื่อวิศวกรผู้ออกแบบ...........................................................................................................................................
ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม เลขที่....................................................................................................................
หน่วยงาน/บริษัท (ถ้ามี)……………………………………………………………………………...............................................
ที่อยู่...................................................................................................................................................................
................................................................................... โทรศัพท์ .......................................................................
โทรสาร .................................................................... อีเมล ........................................................................
งานออกแบบของโครงการ/อาคารที่รับรองนี้ได้กระทาตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
และโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท. ตามที่ข้าพเจ้าได้ลงนามรับรองจริงในแบบรูปที่ได้ออกแบบไว้เมื่อ
วันที่ ...........................................................

ลงชื่อวิศวกรผู้ออกแบบ...................................................................
วันที่ ....................................................................

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 73


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

ส่วนวิศวกรผู้ควบคุมการติดตั้ง
ชื่อวิศวกรผู้ควบคุมการติดตัง้ ..............................................................................................................................
ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม เลขที่....................................................................................................................
หน่วยงาน/บริษัท (ถ้ามี)……………………………………………………………………………................................................
ที่อยู่.....................................................................................................................................................................
................................................................................... โทรศัพท์ ........................................................................
โทรสาร .................................................................... อีเมล .........................................................................

งานติดตั้งของโครงการ/อาคารที่รับรองนี้ได้กระทาตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและ
โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท. ตามที่ข้าพเจ้าได้ลงนามรับรองจริงในแบบติดตั้งจริง (as built
drawing) เมื่อวันที่ ..........................................................

ลงชื่อวิศวกรผู้ควบคุมการติดตั้ง........................................................................
วันที่ ....................................................................

74 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

ส่วนวิศวกรผู้ตรวจสอบ

ชื่อวิศวกรผู้ตรวจสอบการติดตั้ง.........................................................................................................
ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม เลขที่...................................................................................................
หน่วยงาน/บริษัท (ถ้ามี)……………………………………………………………………………...............................
ที่อยู่....................................................................................................................................................
................................................................................... โทรศัพท์ ........................................................
โทรสาร .................................................................... อีเมล .........................................................

งานตรวจสอบการติดตั้งของโครงการ/อาคารที่รับรองนี้ได้กระทาตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
ฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท. เป็นดังนี้

เป็นไปตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท.

ไม่เป็นไปตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท. ตาม


รายการดังนี้

1. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...........................
2. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...........................
3. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...........................
4. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...........................
5. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...........................

ลงชื่อวิศวกรผู้ตรวจสอบ..................................................................
วันที่ ....................................................................

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 75


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

ภาคผนวก ง.2
ตัวอย่างใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ
สาหรับงานเปลี่ยนแปลงภายหลังการเปิดใช้อาคาร

76 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จ สาหรับงานเปลี่ยนแปลงภายหลังการเปิดใช้อาคาร

ส่วนผู้ครอบครอง/เจ้าของ
ผู้ครอบครอง/เจ้าของ..........................................................................................................................................
ชื่อโครงการ/อาคาร …………………………………………………………………………………................................................
ขนาดของโครงการ ………………………………………………………………………………….................................................
(ตัวอย่างเช่น อาคาร 20 ชั้น 25,000 ตารางเมตร หรือ อาคารโรงแรม 300 ห้อง)
ประเภทของการใช้สอย ……………………………………………………………………………................................................
ที่อยู่.............................................................................................................................................. .......................
................................................................................... โทรศัพท์ .........................................................................
โทรสาร .................................................................... อีเมล ..........................................................................

ส่วนวิศวกรผู้ควบคุมการเปลี่ยนแปลงให้กบั เจ้าของสถานที่
ชื่อวิศวกร............................................................................................................................. ................................
ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม เลขที่.....................................................................................................................
หน่วยงาน/บริษัท (ถ้ามี)……………………………………………………………………………................................................
ที่อยู่.....................................................................................................................................................................
................................................................................... โทรศัพท์ ........................................................................
โทรสาร .................................................................... อีเมล ........................................................................

งานเปลี่ยนแปลงโครงการ/อาคาร ที่รับรองนี้ได้กระทาตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
และโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท. ตามที่ข้าพเจ้าได้ลงนามรับรองจริงในแบบที่เปลี่ยนแปลง เมื่อวันที่
................................................

ลงชื่อวิศวกรผู้ควบคุมการเปลี่ยนแปลงให้กับเจ้าของสถานที่..............................................................................
วันที่ ...............................................................

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 77


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

ส่วนวิศวกรผู้ตรวจสอบ

ชื่อวิศวกรผู้ตรวจสอบการติดตั้ง.........................................................................................................
ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม เลขที่...................................................................................................
หน่วยงาน/บริษัท (ถ้ามี)………………………………………………………………………….................................
ที่อยู่...................................................................................................................................................
................................................................................... โทรศัพท์ ......................................................
โทรสาร .................................................................... อีเมล .......................................................
งานตรวจสอบการติดตั้งของโครงการ/อาคารที่รับรองนี้ได้กระทาตามมาตรฐานมาตรฐานระบบ
ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท. เป็นดังนี้

เป็นไปตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท.

ไม่เป็นไปตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท. ตาม


รายการดังนี้

1. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...........................
2. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...........................
3. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...........................
4. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...........................
5. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...........................

ลงชื่อวิศวกรผู้ตรวจสอบ.................................................................
วันที่ ....................................................................

78 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

ภาคผนวก ง.3
ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบระหว่างใช้งาน

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 79


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบระหว่างใช้งาน
การตรวจสอบและทดสอบระหว่างการใช้งาน 3 เดือน
การตรวจสอบและทดสอบระหว่างการใช้งาน 1 ปี

ผู้ครอบครอง/เจ้าของ....................................................................................................................... ....................
ชื่อโครงการ/อาคาร ……………………………………………………………………………….....................................................
ขนาดของโครงการ ……………………………………………………………………………….......................................................
(ตัวอย่างเช่น อาคาร 20 ชั้น 25,000 ตารางเมตร หรือ อาคารโรงแรม 300 ห้อง)
ประเภทของการใช้สอย ………………………………………………………………………….....................................................
ที่อยู่.......................................................................................................................................................................
................................................................................ โทรศัพท์ .............................................................................
โทรสาร .................................................. อีเมล .............................................................................................

ชื่อผู้ตรวจสอบและทดสอบการใช้งาน....................................................................................................................
ใบประกอบวิชาชีพ เลขที่.......................................................................................................................................
หน่วยงาน/บริษัท (ถ้ามี)…………………………………………………………………………......................................................
ที่อยู่.......................................................................................................................................................................
................................................................................. โทรศัพท์ .............................................................................
โทรสาร .................................................................... อีเมล ............................................................................
งานตรวจสอบและทดสอบระหว่างการใช้งานโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินและระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
ฉุกเฉินของโครงการ/อาคารที่รับรองนี้ได้กระทาตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้าย
ทางออกฉุกเฉินของ วสท. เป็นดังนี้

เป็นไปตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท.

ไม่เป็นไปตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท. ตาม


รายการดังนี้

80 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

1. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...............................................
2. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...............................................
3. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...............................................
4. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...............................................
5. ............................................................................................ แสดงในแบบเลขที่...............................................

ข้าพเจ้า ขอรับรองว่าระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินที่ใช้งานในสถานที่
ดังกล่าวข้างต้นได้ถูกตรวจสอบและทดสอบตามตารางที่แนบ โดยข้าพเจ้าได้กระทาตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐาน
ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท.

ลงชื่อวิศวกรผู้ตรวจสอบและทดสอบ............................................................ ................................
(....................................................................)
วันที่ ....................................................................

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 81


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

ภาคผนวก ง.4
ตัวอย่างรายการตรวจสอบและทดสอบ
สาหรับงานติดตั้งใหม่, งานเปลี่ยนแปลง และระหว่างใช้งาน

82 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

รายการตรวจสอบและทดสอบ งานติดตั้งใหม่, งานเปลี่ยนแปลง และระหว่างใช้งาน


เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย
/เป็นไปตาม /ไม่เป็นไปตาม
รายการ มาตรฐาน มาตรฐาน หมายเหตุ
/มี/ใช่ /ไม่ม/ี ไม่ใช่
1.ตาแหน่งการติดตั้งถูกต้องตามมาตรฐานกาหนด
1.1 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
1.2 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
2.ระบบการเดินสายและข้อกาหนดของวงจร
2.1 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
2.2 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
3.ใบรับรองและสมุดบันทึก
3.1 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
3.2 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
4.การตรวจสอบและทดสอบ
4.1 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
4.1.1 สภาวะฉุกเฉิน
ก. เปลี่ยนจากแหล่งจ่ายไฟปกติมาเป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน
1. โคมไฟฟ้าต้องติดสว่างทุกดวง (ใช้ไฟจากแบตเตอรี่)
2. ช่วงเวลาในการทดสอบได้ไม่ต่ากว่า 60 นาที (ราย 3 เดือน) ดูแบบฟอร์ม
3. ช่วงเวลาในการทดสอบได้ไม่ต่ากว่า 90 นาที (ราย 1 ปี ) ดูแบบฟอร์ม
4.1.2 เมื่อระบบกลับสู่สภาวะปกติ
ก. เครื่องประจุแบตเตอรีต่ อ้ งทางานได้
ข. โคมไฟฟ้าต้องดับทุกดวง
4.2 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
4.2.1 ป้าย
ก. ขนาดตาแหน่งติดตั้งและระยะห่างของป้ายถูกต้องตามมาตรฐาน
ข. แสดงสัญลักษณ์ และบอกทิศทางได้ถูกต้องตามมาตรฐาน
4.2.2 สภาวะฉุกเฉิน
ก. เปลี่ยนจากแหล่งจ่ายไฟปกติมาเป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน
1. โคมไฟฟ้าต้องติดสว่างทุกดวง (ใช้ไฟจากแบตเตอรี่)
2. ช่วงเวลาในการทดสอบได้ไม่ต่ากว่า 60 นาที (ราย 3 เดือน) ดูแบบฟอร์ม
3. ช่วงเวลาในการทดสอบได้ไม่ต่ากว่า 90 นาที (ราย 1 ปี ) ดูแบบฟอร์ม
4.2.3 เมื่อระบบกลับสู่สภาวะปกติ
ก. เครื่องประจุแบตเตอรีต่ อ้ งทางานได้
ข. โคมไฟฟ้าต้องติดสว่างทุกดวง (ใช้ไฟจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติ)
ออกไว้ ณ วันที่ ....................................................................

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 83


ภาคผนวก ง ใบรับรองการทางานแล้วเสร็จและใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ

แบบฟอร์มการตรวจสอบ งานติดตั้งใหม่, งานเปลี่ยนแปลง และระหว่างใช้งาน


O ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
วัน/เดือน/ปี : ......................................................................... O โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
O ราย 3 เดือน - แบตเตอรี่จ่ายไฟต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 60
บริษัท : …...................................................................................................
นาที
โครงการ : ....................................................................... O ราย 1 ปี - แบตเตอรี่จ่ายไฟต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 90 นาที
พื้นที่ตรวจสอบ : ....................................................................................................................................................
จ่ายไฟได้ แบตเตอรี่
บริเวณที่
ชั้น หมายเลข รุ่น นาน วันที่ติดตั้ง หมายเหตุ
ติดตัง้ ชนิ ด
ผ่าน/ไม่ผ่าน แบตเตอรี่

รหัส : Y (yes) = ผ่าน, N (no) = ไม่ผ่าน


บันทึกเพิ่มเติม :

ผู้ทดสอบ........................................................................... ผู้ตรวจสอบ..................................................................
(….......................................................................) (…................................................................)
วันที.่ .................................................................. วันที.่ ............................................................

84 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก จ
ระยะเวลาจ่ายไฟฟ้าภาวะฉุกเฉินสาหรับ
ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
ในพื้นที่ต่างๆ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 85


ภาคผนวก จ ระยะเวลาจ่ายไฟฟ้าภาวะฉุกเฉินสาหรับไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินในพื้นที่ต่าง ๆ

ภาคผนวก จ ระยะเวลาจ่ายไฟฟ้าภาวะฉุกเฉินสาหรับไฟฟ้าแสงสว่าง
ฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินในพื้นที่ต่างๆ
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขึ้นเพื่อใช้เป็นข้อมูลเท่านั้น)

จ.1 การเลือกระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
พิกัดช่วงเวลาทางานฉุกเฉิน
เวลาที่ใช้ในการหนีภัยขึ้นอยู่กับความยุ่งยากในการหนีภัย แต่โดยทั่วไปควรสามารถหนีภัยให้ได้ภายใน 60
นาที แม้ว่าจะเป็นอาคารขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตามในกรณีฉุกเฉิน เวลาที่ใช้ในการหนีภัยอาจมากขึ้น เช่น
ทางหนี ภัยบางแห่งอาจปิด หรืออาจพบคนเจ็บและต้องเสียเวลาทาการปฐมพยาบาล ดังนั้น แสงสว่าง
สาหรับการหนีภัยต้องทางานได้นานกว่าค่าต่าสุดที่ต้องการในการหนีภัยทั่วไปอย่างน้อย 120 นาที ตามที่
กาหนดในมาตรฐานนี้ นอกจากนี้การให้แสงสว่างเพื่อการหนีภัยโดยเฉพาะในอาคารขนาดใหญ่ต้องทางาน
ต่อหลังจากที่ได้มีการอพยพคนออกจากอาคารแล้ว ทั้งนี้เพื่อให้สามารถกลับไปค้นหาคนที่อาจหลงเหลืออยู่
ภายในได้ง่ายและสะดวก
ในบางอาคารอาจมีความจาเป็นต้องทางานบางอย่างในเวลาจากัดหลังจากที่แหล่งจ่ายไฟปกติล้มเหลว ใน
กรณีนั้นช่วงเวลาต่าสุดของแสงสว่างฉุกเฉินควรเท่ากับ 120 นาที บวกกับเวลาที่ต้องใช้ในการทางานที่
จาเป็นบางอย่างที่กล่าวไว้นั้น
ระบบแสงสว่างฉุกเฉินที่ออกแบบ ติดตั้ง และต้องตรวจสอบประจาตามที่แนะนาไว้ ควรให้มีไฟแสงสว่าง
และพิกัดช่วงเวลาทางานฉุกเฉินเมื่อต้องการใช้งาน อย่างไรก็ตามการพิจารณาสมรรถนะที่ลดลงของระบบ
ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินเนื่องจากสิ่งที่คาดไม่ถึง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องไฟแสงสว่างหรือช่วงเวลาที่อาจลดลงทาให้
ต้องเพิ่มองศ์ประกอบด้านความปลอดภัยมากขึ้นเพื่อให้ครอบคลุมปัญหาดังกล่าวที่อาจทาให้ไฟแสงสว่าง
และช่วงเวลาลดลงต่ากว่าพิกัดของอุปกรณ์
เมื่อพิจารณาองศ์ประกอบต่าง ๆ ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องแล้ว ทาให้พิจารณาได้ว่าค่าต่าสุดของพิกัดช่วงเวลา
ทางานฉุกเฉินของระบบแสงสว่างควรออกแบบให้นานอย่างน้อย 120 นาที แม้จะเป็นอาคารขนาดเล็ก
จ.2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินในสถานที่ต่างๆ
จ.2.1 ทั่วไป
สถานที่ต่างๆ ที่พิจารณาอาจแบ่งออกได้กว้างๆ ตามข้อ จ.2.2 ถึง จ.2.8 ตัวอย่างของสถานที่คล้ายคลึง
กัน หรือมีลักษณะการทางานที่เหมือนกันได้แสดงไว้ในกลุ่มเดียวกัน ถ้ามีข้อสงสัยใดเกี่ยวกับการแบ่ง
ชนิดของสถานที่ก็อาจทาความตกลงกับเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องว่าจะจัดสถานที่ที่กาลัง
พิจารณานั้นไว้ในกลุ่มใด

86 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก จ ระยะเวลาจ่ายไฟฟ้าภาวะฉุกเฉินสาหรับไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน และโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินในพื้นที่ต่าง ๆ

จ.2.2 สถานที่หลับนอน
สถานที่ประเภทนี้รวมโรงพยาบาล สถานพยาบาล โรงแรม อพาร์ตเมนต์ หอพัก และอาคารที่พักอาศัย
ชนิดต่างๆ
คนที่ ใ ช้ ส ถานที่ ดั ง กล่ า วอาจไม่ คุ้ น เคยกั บ แผนผั ง ของสถานที่ ทั้ ง หมดและหรื อ อาจจะทุ พ พลภาพ
นอกจากนี้โดยเฉพาะในกรณีของโรงแรมขนาดใหญ่ โรงพยาบาลและสถานที่แบบเดียวกัน เป็นต้น อาจ
ต้องเข้าไปในสถานที่ทันทีหลังจากที่เ หตุการณ์ฉุกเฉินผ่านไปหรือชะลอการหนีภัยหลังจากที่แหล่งจ่าย
ไฟฟ้าปกติล้มเหลว
จากการพิจารณาดังกล่าวข้างต้นระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่จะติดตั้งในโรงพยาบาล สถานพยาบาล
และสถานที่อื่นที่คล้ายคลึงกัน ช่วงเวลาต่าสุดของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินควรเท่ากับ 180 นาที
ยกเว้นสถานที่เล็กๆ ที่อาจใช้เป็น 120 นาที
สถานที่ขนาดเล็ กในที่นี้หมายถึงสถานที่ที่มีขนาดไม่มากกว่า 10 ห้องนอน และไม่เกิน 2 ชั้น ซึ่งนับ
รวมทั้งชั้นใต้ดินด้วย
จ.2.3 สถานที่สาหรับการรักษาพยาบาลและไม่ใช่สถานที่อยู่อาศัย
สถานที่ในกลุ่มนี้รวมถึงสถานที่ประเภทโรงเรียนพิเศษ สถานพยาบาล และสถานที่คล้ายคลึงกัน เวลา
ปฏิบัติภารกิจฉุกเฉินในสถานที่กลุ่มนี้อาจต้องสั้นกว่าเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในช่วงกลางคืนในสถานที่อยู่
อาศัย และโดยปกติช่วงเวลาต่าสุดของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินเท่ากับ 120 นาที ก็ถือว่าเพียงพอ
จ.2.4 สถานที่สาหรับพักผ่อนและไม่ใช่สถานที่อยู่อาศัย
สถานที่กลุ่มนี้รวมถึงสถานที่ประเภทโรงภาพยนตร์ สถานบันเทิง โรงคอนเสิร์ต โถงแสดงสินค้า อาคาร
กีฬา สถานที่สาธารณะ ภัตตาคาร และศูนย์การค้า
คนที่ใช้สถานที่ประเภทนี้อาจไม่คุ้นเคยกับแผนผังและอาจต้องพิจารณาถึงผลเนื่องจากการดื่ม สารที่มี
แอลกอฮอล์ ดังนั้นช่วงเวลาต่าสุดของระบบไฟฟ้าแสงสว่าง 120 นาที โดยปกติถือว่าเพียงพอแม้จะเป็น
สถานที่ขนาดใหญ่ในกลุ่มนี้
จ.2.5 สถานที่สาหรับการสอน ฝึกอบรม หรือวิจัย และไม่ใช่สถานที่อยู่อาศัย
สถานที่ในกลุ่มนี้รวมโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย และห้องปฏิบั ติการโดยทั่วไปคนที่ใช้สถานที่นี้
คุ้นเคยกับแผนผังสถานที่และสิ่งอานวยความปลอดภัย มีขั้นตอนการหนีภัยเมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้น
ยกเว้นห้องปฏิบัติการบางอย่างที่ในเวลาปกติทั่วไปไม่ต้องมีการเข้าไปในสถานที่นั้น หลังจากที่เหตุการณ์
ฉุกเฉินผ่านไปช่วงเวลาของ แสงสว่างเพื่อการหนีภัยที่ต่าสุด 120 นาที ก็ถือว่าเพียงพอ
จ.2.6 สถานที่สาธารณะและไม่ใช่สถานที่อยู่อาศัย
กลุ่มนี้รวมถึงสถานที่ประเภท ศาลากลางจังหวัด ห้องสมุด สานักงาน ร้านค้า สถานที่แสดงงานศิลปะ
และพิพิธภัณฑ์

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 87


ภาคผนวก จ ระยะเวลาจ่ายไฟฟ้าภาวะฉุกเฉินสาหรับไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินในพื้นที่ต่าง ๆ

คนส่ ว นใหญ่ในสถานที่กลุ่มนี้ ไม่คุ้นเคยกับแผนผั ง และการหนีภัยเกี่ยวข้องกับคนจานวนมาก หรือ


เกี่ยวกับคนจานวนน้อยในพื้นที่ใหญ่ที่กระจัดกระจาย อย่างไรก็ตามโดยปกติไม่ต้องเข้าไปในสถานที่นั้น
หลังจากเหตุการณ์ฉุกเฉินผ่านไปช่วงเวลาต่าสุดของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินเท่ากับ 120 นาที ก็ถือ
ว่าเพียงพอ
จ.2.7 สถานที่อุตสาหกรรม
สถานที่กลุ่มนี้รวมถึงโรงงานอุตสาหกรรม โรงปฏิบัติการ คลังสินค้า และสถานที่ในลักษณะเดียวกัน
ช่วงเวลาต่าสุดของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินเท่ากับ 120 นาที ก็ถือว่าเพียงพอในการใช้สถานที่กลุ่มนี้
จ.2.8 ที่จอดรถในอาคาร
ทางหนี ภัย ของคนเดินเท้าทั่วไปจากที่จอดรถในอาคารควรมีป้ายที่บอกชัดเจน และควรมีแสงสว่าง
ฉุกเฉินที่มีมาตรฐานเดียวกับทางหนีภัยภายในสถานที่สาธารณะที่ไม่ใช่สถานที่อยู่อาศัย

88 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ฉ
การออกแบบและติดตั้ง
ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 89


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้ง ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคม


ไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขึ้นเพื่อใช้เป็นข้อมูลเท่านั้น)

ฉ.1 ข้อกาหนดที่ต้องการ ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ควรมีการปรึกษาร่วมกันกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และร่วมกันพิจารณาดาเนินการดังนี้
(1) แสดงทางหนีภัย
(2) กาหนดตาแหน่งอุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้
(3) กาหนดตาแหน่งอุปกรณ์ผจญเพลิง
(4) กาหนดป้ายที่เกี่ยวข้องกับอัคคีภัยและความปลอดภัย
(5) อันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ในทางหนีภัย
(6) กาหนดพื้นที่โล่ง
(7) กาหนดความต้องการ
(8) แสดงตาแหน่งบันไดเลื่อน และทางเดินเลื่อน
(9) แสดงห้องน้าทีม่ ีพื้นที่มากกว่า 8 ตารางเมตร
(10) แสดงห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ห้องควบคุมและห้องต้นกาลัง
ฉ.2 การออกแบบ ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
หลังจากหาตาแหน่งและพื้นที่ที่ต้องให้แสงสว่างจากระบบการให้แสงสว่างฉุกเฉิน รายละเอียดการออกแบบ
ให้ดาเนินการ ดังนี้
(1) ลงตาแหน่งโคมไฟฟ้าฉุกเฉินในแบบตามตาแหน่งอุปกรณ์ที่กาหนดในข้อ ฉ.1
(2) หาความสูงของโคมไฟฟ้าที่ติดตั้ง
(3) หาความเป็นไปได้ของการลดลงของแสงของโคมไฟฟ้าเนื่องจากฝุ่นและความสกปรก
(4) หาแรงดันและแรงดันไฟฟ้าตก
(5) หาช่วงเวลา
(6) หาชนิดระบบแสงสว่างฉุกเฉินที่จะใช้
(7) เลือกโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินที่จะใช้เพื่อกาหนดประเภทของโคมไฟฟ้า (เช่น A400)
(8) นาโคมไฟฟ้าที่ต้องการใช้มาเทียบกับตารางแสดงระดับความส่ องสว่างที่พื้นตามตารางที่ 2.2 ถึง
ตารางที่ 2.11 เพื่อกาหนดระยะห่างระหว่างโคมไฟฟ้า
(9) กรณีที่เลือกใช้เป็นโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ ให้คานวณความส่องสว่างให้ได้ตามที่กาหนด
ในมาตรฐาน
(10) ตรวจสอบความสม่าเสมอของแสง

90 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

ฉ.3 การออกแบบ โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


หลั ง จากหาต าแหน่ ง และพื้ น ที่ ที่ ต้ อ งให้ โ คมไฟฟ้ า ป้ า ยทางออกฉุ ก เฉิ น รายละเอี ย ดการออกแบบให้
ดาเนินการ ดังนี้
(1) ลงตาแหน่งโคมไฟฟ้าฉุกเฉินในแบบตามตาแหน่งอุปกรณ์ที่กาหนดในข้อ ฉ.1
(2) หาความสูงของโคมไฟฟ้าที่ติดตั้ง
(3) หาแรงดันและแรงดันไฟฟ้าตก
(4) หาช่วงเวลา
(5) หาความสูงและระยะห่าง
(6) ตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสม
ฉ.4 การออกแบบระบบ ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
การออกแบบระบบการติดตั้งระบบไฟฟ้าเกี่ยวข้องกับหลายองค์ประกอบ เช่น ราคาและการบารุงรักษา
ระบบเมื่อติดตั้งแล้ว ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ประกอบด้วย
(1) หาประเภทระบบแสงสว่างฉุกเฉิน เช่น ระบบแบตเตอรี่ส่ ว นกลาง โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุด
เบ็ดเสร็จ เป็นต้น
(2) เลือกระบบการเดินสาย
(3) หาแนวทางการติดตั้งสาย
(4) ต้องแน่ใจเรื่องการป้องกันไฟฟ้าของสาย
(5) ต้องแน่ใจว่ามีการเดินสายแยกต่างหากจากวงจรอื่น
(6) ต้องตรวจสอบความเหมาะสมของการเดินสายและอุปกรณ์ในวงจรที่ใช้สาหรับสถานที่ชื้น ทนการกัด
กร่อนและติดตั้งฝังดิน
(7) ตรวจสอบการป้องกันการเดินสายและอุปกรณ์ในวงจรเพื่อป้องกันความเสียหายทางกล
(8) หลีกเลี่ยงไม่ให้มีช่องเปิดไฟลาม
(9) ตรวจจุดต่อจุดของเคเบิ้ลและการทาเครื่องหมายกากับ (label)
(10) คานวณแรงดันตกในสาย
ฉ.5 การออกแบบการป้องกันและควบคุมวงจร ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้า
ป้ายทางออกฉุกเฉิน
การออกแบบการป้องกันและการควบคุมวงจรต้องมีการปรึกษากับผู้ที่ต้องรับผิดชอบเพื่อการทางานและ
บารุงรักษาระบบอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงจาเป็นต้องปฏิบัติดังนี้
(1) กาหนดตาแหน่งติดตั้งอุปกรณ์
(2) เลือกสวิตช์ตัดตอน สวิตซ์และอุปกรณ์ป้องกัน
(3) หาสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อทดสอบหน้างาน
(4) กาหนดขั้นตอนการทดสอบและการบารุงรักษา

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 91


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

ฉ.6 การทางานและการบารุงรักษาหลังการออกแบบและติดตั้ง ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน


และโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
ผู้ออกแบบควรรวบรวมวิธีการทางานและการบารุงรักษาของระบบในตารางการออกแบบ วิธีการปฏิบัติควร
ทาในรูปของคู่มือพร้อมทั้งสมุดบันทึก โดยทาตามรายละเอียดในหัวข้อ 2.9, 2.10, 3.6, 3.7 และภาคผนวก
ง.
ฉ.7 ตัวอย่างการออกแบบตาแหน่งติดตั้ง ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้าย
ทางออกฉุกเฉิน
ฉ.7.1 เส้นทางหนีภัย
ตรวจเช็คระดับความส่องสว่างขั้นต่า ตลอดเส้นทางหนีภัยที่กาหนดไว้ ให้มีระยะห่างระหว่างโคมไฟฟ้า
แสงสว่างฉุกเฉินที่ให้ระดับความส่องสว่างขั้นต่าไม่น้อยกว่าข้อกาหนดตามมาตรฐาน 1 ลักซ์ และมีโคม
ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินในพื้นที่อันตราย ให้ระดับความส่องสว่างขั้นต่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของความ
ส่องสว่างปกติและต้องไม่ต่ากว่า 15 ลักซ์

รูปที่ ฉ.7.1.1 ตาแหน่งเส้นทางหนีภัย

92 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

รูปที่ ฉ.7.1.2 ตาแหน่งติดตั้งโคมไฟฟ้าในเส้นทางหนีภัย


(สีของสัญลักษณ์ในรูป ทาเพื่อเข้าใจการออกแบบได้ง่ายขึ้น)

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 93


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

ฉ.7.2 จุดติดตั้งตามมาตรฐานกาหนด
ให้กาหนดตาแหน่งติดตั้งโคมไฟฟ้า ณ จุดติดตั้งตามข้อกาหนดของมาตรฐาน เช่น ทางออกสุ ดท้าย
ภายนอกอาคารหลังประตูทางออกสุดท้าย ทางแยก ทางเลี้ยว บริเวณที่มีการเปลี่ยนทิศทาง บริเวณที่มี
การเปลี่ยนระดับพื้น (ทั้งแบบขั้นบันไดหรือแบบทางลาด) บันได บริเวณที่มีการติดตั้งอุปกรณ์แจ้งเหตุ
เพลิงไหม้ อุปกรณ์ดับเพลิง เป็นต้น

รูปที่ ฉ.7.2 ตาแหน่งติดตั้งโคมไฟฟ้า ณ จุดติดตั้งตามข้อกาหนดของมาตรฐาน


(สีของสัญลักษณ์ในรูป ทาเพื่อเข้าใจการออกแบบได้ง่ายขึ้น)

94 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

ฉ.7.3 จุดติดตั้งอื่นๆ ตามมาตรฐานกาหนด


ให้พิจารณากาหนดตาแหน่งติดตั้งอื่น ๆ เช่น ภายในห้องน้าสาหรับคนพิการ ห้องน้าที่มีพื้ นที่ใหญ่กว่า 8
ตารางเมตร บันไดเลื่อน ห้องไฟฟ้า ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ห้องปฐมพยาบาล อาคารจอดรถ

รูปที่ ฉ.7.3 ตาแหน่งติดตั้งโคมไฟฟ้า ณ ตาแหน่งติดตั้งอื่นๆ


(สีของสัญลักษณ์ในรูป ทาเพื่อเข้าใจการออกแบบได้ง่ายขึ้น)

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 95


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

ฉ.7.4 พื้นที่โล่งใหญ่ที่ไม่มที างหนีภัยที่ชัดเจน


ให้กาหนดตาแหน่งติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินให้พื้นที่โล่งใหญ่ มีระดับความส่องสว่างขั้นต่า
ไม่น้อยกว่าข้อกาหนดตามมาตรฐาน 0.5 ลักซ์

รูปที่ ฉ.7.4 ตาแหน่งติดตั้งโคมไฟฟ้าในพื้นที่โล่งใหญ่ที่ไม่มีทางหนีภัยที่ชัดเจน


(สีของสัญลักษณ์ในรูป ทาเพื่อเข้าใจการออกแบบได้ง่ายขึ้น)

96 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

ฉ.8 ตัวอย่างตาแหน่งติดตั้งโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

ฉ-8-1 ทางเลี้ยว และจุดเปลี่ยนทิศทาง ฉ-8-2 ทางแยก

ฉ-8-3 จุดเปลีย่ นระดับพื้น ทั้งแบบขั้นบันไดและแบบลาดเอียง ฉ-8-4 จุดเปลีย่ นระดับพื้นแบบลาดเอียง

ฉ-8-5 ทุกบันได และจุดเปลี่ยนระดับพื้น ฉ-8-6 หากบันไดยาว ควรมีโคมไฟฟ้า 2 ชุด ใกล้ปลายบันได


ทั้ง 2 ด้าน เพื่อให้แสงทุกขั้นบันได ป้องกันอุบัติเหตุ

ฉ-8-7 บันไดเลื่อน (กรณีถูกกาหนดให้เป็นทางหนีภัย) ฉ-8-8 จุดติดตั้งอุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้

ฉ-8-9 จุดติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง ฉ-8-10 จุดปฐมพยาบาล และ พื้นที่เตรียมการ

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 97


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

ฉ-8-11 ทุกประตูทางออก ฉ-8-12 บริเวณพื้นที่หลังจากออกพ้นประตูทางออกสุดท้าย

ฉ-8-13 ภายในลิฟต์ ฉ-8-14 ภายนอกลิฟต์ บริเวณโถงหน้าลิฟต์

ฉ-8-15 ภายในห้องน้าที่มีขนาดใหญ่กว่า 8 ตร.ม. และห้องน้า ฉ-8-16 ภายในห้องเครื่อง และห้องควบคุมที่เกี่ยวข้องกับ


สาหรับผู้พิการ ความปลอดภัย หรือการหนีภยั

ฉ-8-17 พื้นที่อันตราย ฉ-8-18 เส้นทางหนีภัยในอาคารจอดรถ

98 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

ฉ.9 ตัวอย่างรูปอุปกรณ์

ฉ.9.1 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ชนิดติดลอย (บอก ฉ.9.2 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ชนิดฝังฝ้า (บอกทิศทาง - ไป


ทิศทาง - ไปทางซ้ายจากตรงจุดนี)้ ทางขวาจากตรงจุดนี)้

ฉ.9.3 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ชนิดกล่อง (บอก ฉ.9.4 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ชนิดกล่อง (ติดตั้งเฉพาะ


ทิศทาง - ตรงไปข้างหน้าจากตรงจุดนี)้ บริเวณประตูทางออก ไม่จาเป็นต้องมีสัญลักษณ์ลูกศร)

ฉ.9.5 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ ฉ.9.6 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต่อพ่วง ชนิด 1 หลอด

ฉ.9.7 โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต่อพ่วง ชนิด 2 หลอด ฉ.9.8 ระบบแบตเตอรี่ส่วนกลาง

ฉ.9.9 ระบบแบตเตอรี่ส่วนกลาง แบบมีชุดอินเวอร์เตอร์ ฉ.9.10 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ชนิดฝังกาแพง (ป้ายเสริม)

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 99


ภาคผนวก ฉ การออกแบบและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน

ฉ.9.11 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ชนิดฝังพื้น (ป้าย ฉ.9.12 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ชนิดฝังกาแพง (ป้าย


เสริม) เสริม) (บอกทิศทาง - ไปทางซ้ายจากตรงจุดนี)้

ฉ.9.13 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ชนิดฝังพื้น (ป้าย


เสริม) (บอกทิศทาง - ตรงไปข้างหน้าจากตรงจุดนี)้

100 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ช
ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงสาหรับภาวะฉุกเฉิน

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 101


ภาคผนวก ช ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงสาหรับภาวะฉุกเฉิน

ภาคผนวก ช ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงสาหรับภาวะฉุกเฉิน
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขึ้นเพื่อใช้เป็นข้อมูลเท่านั้น)

ช.1 แนะนา
ระบบนาทางติดตั้งต่ามีสองประเภทคือประเภทใช้ไฟฟ้าและประเภทไม่ใช้ไฟฟ้า ซึ่งระบบนาทางติดตั้งต่า
แบบเปล่งแสง (photoluminescent) ถือเป็นระบบนาทางติดตั้งต่าประเภทไม่ใช้ไฟฟ้า
ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงใช้เส้นเครื่องหมายที่มองเห็นการปล่อยแสงได้เพื่อแสดงตาแหน่งทางหนี
ภัยและทางออก ซึ่งต้องได้รับแสงอย่างเพียงพอมาก่อนจากแสงสว่างปกติ เมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าแสงสว่างปกติ
เกิดล้มเหลว ระบบเปล่งแสงจะปล่อยพลังงานที่เก็บไว้เป็นแสงที่มองเห็นได้ในช่วงที่แสงสว่างปกติลดลงจาก
การล้มเหลวดังกล่าว ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงสามารถนามาใช้เสริมในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
ฉุกเฉินได้
ช.2 การวางแผนและส่วนประกอบ
ช.2.1 การพิจารณา
ขั้นแรกควรพิจารณาระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงมาใช้ร่วมกับการให้แสงสว่างปกติเพื่อกระตุ้น
การเปล่งแสง และพิจารณาแหล่งกาเนิดแสงรวมทั้งความเข็มแสงในพื้นที่
การนาทางชนิดนี้เป็นการใช้เส้นและเครื่องหมายที่มองเห็นได้ตามทางหนีภัย โดยพิจารณารายละเอียด
ในแผนผังดังต่อไปนี้
(1) เส้นทางทั้งหมดที่เหมาะกับการกาหนดให้เป็นเส้นทางหนีภัยในภาวะฉุกเฉิน
(2) ทางออกทั้งหมดในทางหนีภัย เช่น ประตูระหว่างทาง, ทางออกของชั้น และทางออกสุดท้าย
(3) ประตูทั้งหมดในทางหนีภัยและที่ไม่ใช่ช่องทางหนีภัย
(4) เส้นทางข้ามพื้นที่โล่งและเครื่องหมายที่เหมาะสมในเส้นทางหนีภัย
(5) ตาแหน่งโคมไฟฟ้าปกติและชนิดของหลอดไฟรวมทั้งฝาครอบ และการคาดคะเนความเข้ มแสงที่
ตาแหน่งระบบเปล่งแสง
ช.2.2 ส่วนประกอบเครื่องหมาย
ระบบนาทางแบบเปล่งแสงที่ติดในเส้นทางหนีภัยต้องไม่ติดไฟหรือกระจายเปลวไฟ และจะต้องคานึงถึง
ผลกระทบจากแสงแดดหรื ออัล ตราไวโอเลตในพื้นที่ที่เปิดโล่งมากเกินไป โดยใช้ข้อแนะนาเกี่ยวกับ
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและการป้องกัน แสงแดดหรืออัตราไวโอเลตจากผู้ผลิต การติดตั้งในพื้นเปิด
โล่งควรทนฝุ่นและน้าได้
ส่วนประกอบเครื่องหมายที่ใช้ในระบบนาทางแบบเปล่งแสงคือ เส้นนาทาง (guidance line) และ
เครื่องหมายนาทาง (directional indicator) ดังรูปที่ ช.1

102 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ช ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงสาหรับภาวะฉุกเฉิน

รูปที่ ช.1 ส่วนประกอบเครื่องหมายในระบบนาทางแบบเปล่งแสง

ช.3 การออกแบบและติดตั้ง
ช.3.1 รายละเอียดทั่วไป
ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงนามาใช้ในระบบการให้แสงสว่างเพื่อการหนีภัยฉุกเฉินได้ดังรูปที่ 2.1
โดยใช้ร่วมกับกฎข้อบังคับต่างๆ และพื้นที่ในงานต่างๆ รวมทั้งงานที่มีความเสี่ยง
ระบบนาทางติดตั้งต่าสาหรับทางหนีภัยต้องมีเครื่องหมายที่ชัดเจนโดยเฉพาะเส้นนาทางที่มองเห็นได้ง่าย
ดังรูปที่ ช.2 ทางเดินหนีภัยควรมีเส้นนาทางทั้งสองด้านโดยเฉพาะทางหนีภัยที่กว้างกว่า 2 เมตร กรณี
ทางหนีภัยข้ามพื้นที่โล่งต้องมีเส้นนาทางขนานกันสองเส้นบนพื้น

รูปที่ ช.2 เส้นนาทางสาหรับทางหนีภัยบนผนังและบนพื้น

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 103


ภาคผนวก ช ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงสาหรับภาวะฉุกเฉิน

ทุกทางออกหนีภัยต้องมีเครื่องหมายทางออก และต่อเส้นนาทางไปถึงระดับความสูงของมือจับประตู
ทางออก
กรณีประตูซึ่งไม่ใช้เป็นทางหนีภัย เช่น ประตูตู้ หรือการข้ามทางเดินที่ ไม่ใช่ทางหนีภัย ให้เส้นนาทางที่
อยู่บนผนังต่อลงมาเป็นเส้นนาทางบนพื้นผ่านช่องประตูหรือข้ามทางเดินดังกล่าว ดังรูปที่ ช.3

รูปที่ ช.3 เส้นนาทางและเครื่องหมายนาทางบนผนังถึงทางออก และเส้นนาทางผ่านช่องประตู


การเปลี่ยนระดับ เช่น ทางยกระดับ , ทางลาด และบันได ควรมีส่วนประกอบเครื่องหมายบนผนังเป็น
เส้นนาทางตามการเปลี่ยนระดับอย่างชัดเจนดังรูปที่ ช.4 กรณีบันไดอาจทาเส้นนาทางตามขั้นบันไดและ
บนที่กั้นหรือราวบันไดซึ่งทาให้นาทางได้ดียิ่งขึ้น เครื่องหมายนาทางควรชี้ทิศทางให้ทราบว่าเป็นการเดิน
ขึ้นหรือเดินลงบันไดไปสู่ทางออก

รูปที่ ช.4 เส้นนาทางในพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนระดับ

104 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


ภาคผนวก ช ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงสาหรับภาวะฉุกเฉิน

ช.3.2 สีและการติดตั้ง
เครื่องหมายนาทางและเส้นนาทางควรเป็นสีขาวหรือสีเขียว
เส้นนาทางที่ติดบนผนังตามปกติไม่ควรสูงกว่า 0.4 เมตร จากระดับพื้น ส่วนเส้นนาทางที่ติดบนพื้น
ตามปกติไม่ควรเกิน 0.15 เมตร จากด้านข้างของทางหนีภัย ดังรูปที่ ช.2 โดยเส้นนาทางควรต่อเนื่องกัน
เท่าที่จะเป็นไปได้
เครื่องหมายนาทางควรติดทุกระยะไม่เกิน 5 เมตร และติดที่จุดที่มีการเปลี่ยนระดับหรือทางแยกไปตาม
แนวเส้น นาทาง โดยไม่ควรสูงกว่า 500 มม. มม. ยกเว้นเส้นนาทางมีทิศทางในตัว อยู่แล้วไม่ต้องติด
เครื่องหมายนาข้างเส้นนาทางได้
เครื่องหมายนาทางที่ใกล้ทางออกควรติดตั้งไม่สูงกว่า 1 เมตรเหนือพื้น โดยอยู่ในตาแหน่งที่มองเห็นได้ที่
ด้านหนึ่งของทางออก ดังรูปที่ ช.3
ช.3.3 ความกว้างขององค์ประกอบเครื่องหมาย
เส้นนาทางบนผนัง, ขั้นบันได และทางลาด ควรมีความกว้างไม่น้อยกว่า 50 มม.
เส้นที่จมูกบันได ควรมีความกว้างไม่น้อยกว่า 15 มม.
เครื่องหมายนาทางควรกว้างไม่น้อยกว่า 50 มม.
ประตูทางออกฉุกเฉินภายในทางหนีภัยควรมีเส้นกรอบประตูเรืองแสงกว้างไม่น้อยกว่า 25 มม.
ช.3.4 สมรรถนะความส่องสว่างและเวลาตอบสนอง
การให้แสงสว่างที่ติ ดตั้งปกติโดยกระตุ้นเป็นเวลา 15 นาที ระบบนาทางแบบเปล่งแสงควรมีสมรรถนะ
ความส่องสว่างตลอดอายุใช้งานไม่น้อยกว่าที่ระบุในตารางที่ ช.1
ตารางที่ ช.1 คุณลักษณะความส่องสว่างต่าสุดในช่วงเวลาที่สิ้นสุดการเปล่งแสง
ที่ 1 นาที ที่ 10 นาที ที่ 30 นาที ที่ 60 นาที ที่ 150 นาที
mcd / ตร.ม. mcd / ตร.ม. mcd / ตร.ม. mcd / ตร.ม. mcd / ตร.ม.
60 11.5 2.5 1.1 0.3
หมายเหตุ : วัดความส่องสว่างโดยใช้ฟังก์ชันแก้แบบเห็นในภาวะสว่าง (photopic correction function)

ส่วนประกอบเปล่งแสงต้องปล่อยแสงทันทีเมื่อเอาแสงสว่างออกไป
สมรรถนะความส่องสว่างข้างต้นเมื่อนามาใช้ในการทางานภาวะฉุกเฉินควรนานได้ถึง 2.5 ชั่วโมง

วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน | 105


ภาคผนวก ช ระบบนาทางติดตั้งต่าแบบเปล่งแสงสาหรับภาวะฉุกเฉิน

ช.4 การทดสอบเริ่มใช้งาน
สมรรถนะความส่องสว่างของระบบเปล่งแสงหลังจากติดตั้งแล้วควรวัดตามกาหนดดังนี้
การวัดคุณสมบัติความส่องสว่างของวัสดุเปล่งแสงควรกระทาหลังจากกระตุ้นโดยความส่องสว่างจากไฟฟ้า
แสงสว่างที่ติดตั้งไม่น้อยกว่าสามตาแหน่งเป็นเวลา 15 นาที
การวัดความส่องสว่างควรใช้มาตรวัดแสงที่แก้การตอบสนองการเห็นในภาวะสว่าง (photopic) โดยมีความ
เที่ยงตรงดีกว่า 3%, มีความไวขั้นต่า 10-5 cd/m2 และปรับเทียบความเที่ยงตรง +5% โดยวัดความส่อง
สว่างตามปกติบนระนาบของตัวปล่อยแสง
การวัดความส่องสว่างควรทาที่ 1, 10, 30, 60 นาทีตามการหยุดกระตุ้นการให้แสงสว่างซึ่งอาจใช้ฝาคลุม
(hood) เวลาที่แสงสลายตัวทาในช่วงหยุดกระตุ้นการให้แสงสว่างจนความส่องสว่างถึง 0.3 mcd/m2
การวัดความส่องสว่างควรทาที่จุดความเข็ม แสงต่าสุดและสูงสุดแล้วคานวณค่าเฉลี่ย โดยผลลัพธ์ควรแสดง
ความส่องสว่างเป็น log เทียบกับเวลาเป็น log

106 | วสท.02-1004 V.4-2018 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
(ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4)
แบบฟอร์มข้อเสนอแนะ

เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงมาตรฐานนี้ กรุณากรอกข้อมูลที่ท่านเห็นว่าน่าจะมีการปรับปรุง แก้ไข/


เพิ่มเติม และส่งกลับมาที่ วสแบบท. Fax 0-2184-4662 หรือ E-mail มาที่ nattariya2015@gmail.com หรือ
eit@eit.or.th

ควรปรับปรุงในเรื่อง ............................................................................................................................. .......................


.....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................................
............................................................................................................................. ........................................................
.....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................................
ขอแก้เนื้อหา ............................................................................................................................. ..................................
............................................................................................................................................................................ .........
......................................................................................................................... ............................................................
............................................................................................................................. ........................................................
.......................................................................................................................................... ...........................................
............................................................................................................................. ........................................................
เพิ่มเติมเนื้อหา ...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................................
............................................................................................................................. ........................................................
............................................................................................................................. ........................................................
.....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................................

(กรณีที่กรอกข้อมูลไม่พอ ให้เพิ่มเติมได้ในกระดาษเปล่าแล้วแนบมาพร้อมกับเอกสารฉบับนี้)

จาก (นาย/นาง/นางสาว) ................................................................................................................... .........................


หน่วยงาน/บริษัท ........................................................................................................................................................
โทรศัพท์.................................................................................. โทรสาร.......................................................................
อีเมล์.........................................................................................

(คณะกรรมการมาตรฐานฯ ขอขอบพระคุณล่วงหน้า ณ ที่นี้)

You might also like