You are on page 1of 4

บทความวิจยั

การประชุมวิชาการ งานวิจยั และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 9


9thECTI-CARD 2017, Chiang khan Thailand
การออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคารโดยโปรแกรมไดอะลักซ์
Interior Illumination Designs by Dialux Program

จักรดุลย์ สุ ขสายออ มัณฑนา เพ็ชรตะกัว่ ธีรยุทธ เสริฐสู งเนิน ทวีศักดิ์ แสงจันทร์


จิตรภาณุ ศิลาเงิน นพณัฐ จิตกรียาน วิชัย สายคติกรณ์ และ กฤติเดช บัวใหญ่
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์
744 ถนนสุรนารายณ์ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสี มา 30000 โทรศัพท์ 044-233000 E-mail: krittidet.bu@rmuti.ac.th

บทคัดย่อ functions help us easy to design the illumination in the building. In the
project overview we can see all the objects used in the project, listed
บทความนี้ เ สนอวิธีก ารคานวณและออกแบบระบบส่ องสว่าง
according the room. Also we can see the luminous intensity in maximum,
ภายในอาคาร เพื่อให้ได้ความเหมาะสมและมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดโดยใช้
minimum and average value, simulate in 3D model. Therefore this
โปรแกรมไดอะลักซ์ ข้อมูลนาเข้าได้แก่ค่าความส่องสว่างของห้อง ขนาด
program can be used for illumination engineering studying. Which is
ของห้อง องค์ประกอบภายในห้อง เช่น โต๊ะทางาน ตู ้ อื่นๆ รวมถึ งสี ของ
important tool to apply for illumination design.
ห้อง และชนิดของดวงโคม เพื่อหาตาแหน่งการติดตั้งดวงโคมและจานวน
ของดวงโคม ทดสอบกับ ห้ อ งประชุ ม โดยใช้ โ ปรแกรมไดอะลัก ซ์ Keywords: Dialux, Lumen method, Illumination design
เปรี ยบเทียบกับการคานวณด้วยวิธีลูเมน ผลการทดสอบพบว่าวิธีการทั้ง
สองวิธีได้จานวนดวงโคมเท่ากัน ทั้งนี้ โปรแกรมไดอะลักซ์ยงั สามารถ 1.บทนา
แสดงผลของความเข้มการส่ องสว่างเป็ นค่าต่าสุ ด ค่าสู งสุ ด และค่าเฉลี่ ย
การออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคารที่ดีตอ้ งมีความเข้ม
การจาลองภาพในรู ปแบบสามมิติ การคานวณเพื่อจัดหาตาแหน่ งการจัด
การส่ องสว่างเป็ นไปตามมาตรฐานของกฎกระทรวง (ประกาศราชกิจจา
วางดวงโคมเพื่ อ ให้ ไ ด้ แ สงตามที่ ต้อ งการได้ อ ย่า งแม่ น ย า ดัง นั้น จึ ง
นุเบกษาเล่ม 123 ตอนที่ 23 ก. 6 มีนาคม 2549) [1] ที่กาหนดมาตรฐานใน
สามารถนามาใช้ประกอบในการเรี ยนในรายวิช าวิศวกรรมแสงสว่า ง
การบริ หารและการจั ด การด้ า นความปลอดภัย อาชี ว ะ - อนามั ย
รวมถึ งเป็ นเครื่ องมื อในการออกแบบระบบไฟฟ้ าส่ องสว่างได้อย่างมี
สภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ ยวกับความร้ อน แสงสว่างและเสี ยง พ.ศ.
ประสิ ทธิภาพ
2549 นอกจากนั้นยังต้องค านึ งถึ งความเหมาะสมกับการใช้งาน และมี
คาสาคัญ ; ไดอะลักซ์,วิธีลูเมน,ออกแบบแสงสว่าง
ความสวยงามตามหลักสถาปัตยกรรม
Abstract
โปรแกรมไดอะลั ก ซ์ (DIALUX) [2] คื อ โปรแกรมที่ ส ามารถ
This paper presents an interior illumination design for the most
ออกแบบและค านวณระบบไฟฟ้ าแสงสว่ า งได้ อ ย่ า งชัด เจน เป็ น
appropriate and efficiency lighting by DIALUX Program. The input data
ประโยชน์ต่อการเรี ยนการสอนในวิชาวิศวกรรมแสงสว่าง รวมถึ งใช้ใน
for DIALUX program are luminous intensity, room dimension, room
การคานวณและออกแบบงานไฟฟ้ าส่ องสว่างในงานจริ ง โปรแกรมจะมี
environment such as table, cupboard, furniture, room color and type of
ส่วนของ Plug – in ซึ่ งเป็ นข้อมูลของโคมไฟฟ้ า และหลอดไฟแต่ละแบบ
luminaire. The program will be automatically to find nuๆฟผmber of
ให้สามารถนามาใส่ ในแบบจาลองที่สร้ างขึ้นมาได้ โปรแกรมสามารถ
luminaire and configuration of luminaire within the room. We used the
แสดงผลของความส่ องสว่างจากโคมไฟฟ้ าที่ใช้ออกมาได้อย่างสมจริ ง
meeting room is a simple example to use the DIALUX program for
เป็ นประโยชน์ในการจาลองการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างก่อนที่จะ
interior illumination design. It compares with the calculated by lumen
นาไปสร้างจริ ง
method. Test result show that, the number of luminaire as same as by
lumen method. The advantage of DIALUX program have too many ในบทความนี้ นาเสนอการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างโดยการ
ประยุกต์ใช้โปรแกรม DIALUX เพื่อหาจานวนดวงโคม และตาแหน่งการ

9thECTI-CARD 2017 “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อตอบสนองท้องถิ่นและภาคอุตสาหกรรม”


บทความวิจยั
การประชุมวิชาการ งานวิจยั และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 9
9thECTI-CARD 2017, Chiang khan Thailand
จัดวางดวงโคม เนื้ อหาจะประกอบไปด้วยทฤษฎี การออกแบบและการ 2.2.2. คานวณวิธีลูเมน (Lumen Method)
ค านวณส่ อ งสว่ า ง การออกแบบแสงสว่ า งโดยโปรแกรม DIALUX
สาหรับบทความนี้ ใช้การคานวณด้วยวิธีลูเมนเพื่อหาจานวนดวง
ทดสอบการออกแบบแสงสว่างสาหรับห้องประชุ ม ผลการทดสอบและ
โคม สู ตรการค านวณดัง สมการที่ (2) [2] เพื่อ ใช้ เ ปรี ย บเที ยบกับ การ
สรุ ปผล
ออกแบบด้วยโปรแกรมไดอลักซ์
2. ทฤษฏีการออกแบบและคานวณการส่ องสว่าง
𝐸𝑥A
การให้แ สงสว่างภายในอาคารนั้นสิ่ งที่ ตอ้ งพิจารณาคื อ ระดับ N = 𝑙𝑚 𝑥 CU 𝑥 (2)
MF
ความเข้มการส่องสว่างที่ตกลงบนพื้นที่ทางาน การเลือกชนิ ดการกระจาย
แสงของดวงโคม สี ของหลอดไฟ รวมถึ งความสม่าเสมอของแสงสว่าง N คือ จานวนดวงโคม
และความถูกต้องของสี ของแสง อายุการใช้งาน และการประหยัดพลังงาน E คือ ความส่ องสว่างที่ตอ้ งการ
A คือ พื้นที่ของห้อง
2.1 ชนิดการกระจายแสงของดวงโคม lm คือ จานวนลูเมนต่อดวงโคม
CU คือ สัมประสิ ทธิ์การใช้ประโยชน์ (Coefficient of utilization factor)
สามารถจาแนกได้เป็ น 6 แบบได้แก่ [3]
MF คือ ค่าการบารุ งรักษา (maintenance factor)
1. แบบโดยตรง (direct)
2. แบบกึ่งโดยตรง (semi-direct) 2.3 ความสม่าเสมอของแสงสว่าง (uniformity of lighting)
3. แบบโดยตรง-โดยอ้อม (direct-indirect)
การออกแบบที่ ดีแ สงสว่างจะต้องมี ความสม่ าเสมอทัว่ ทั้งห้อง
4. แบบกระจายทุกทิศทาง (general diffuse)
โดยทัว่ ไปจะกาหนดอัตราส่ วนระยะห่ างระหว่างดวงโคม (S) และความ
5. แบบกึ่งอ้อม (semi-indirect)
6. แบบโดยอ้อม (indirect) สูงของดวงโคมหรื อพื้นที่ทางาน (MH) อยูร่ ะหว่าง 0.9-1.1 โดยขึ้นอยูก่ บั
การกระจายแสงของโคม [3]
2.2 การออกแบบแสงสว่าง 2.4 ผลการสะท้ อนแสงของสีและวัสดุ
ทฤษฎีการออกแบบแสงสว่างแบ่งได้ 2 วิธีคือ
ผลการสะท้อนแสงของเพดาน ผนัง และพื้นมี ผลกระทบต่อค่า
2.2.1. คานวณวิธีจุดต่ อจุด (Point By Point Method) [3] สัม ประสิ ทธิ์ การใช้ป ระโยชน์ (CU) เนื่ องจากค่ าสั ม ประสิ ท ธิ์ การใช้
ประโยชน์เป็ นประสิ ทธิ ผลของแสงเนื่ องจาดแสงบางส่ วนถูกกลื นไปกับ
เป็ นการคานวณเฉพาะจุด เหมาะกับกรณี ที่ตอ้ งการคานวณเฉพาะพื้นที่
สภาพแวดล้อม เช่น การสะท้อนแสงของสี ที่ใช้ทาผนังห้อง การสะท้อน
แสงของวัสดุต่างๆ
θ
h 3. การออกแบบแสงสว่างด้วยโปรแกรมไดอะลักซ์ (DIALUX)

E โปรแกรมไดอะลักซ์ (DIALUX) คือโปรแกรมที่สามารถคานวณ


และออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างได้อย่างชัดเจน สามารถจาลองการ
รูปที่ 1ใช้ในการคานวณวิธีจุดต่อจุด (Point By Point Method)
ส่องสว่างในอาคารที่สร้ างขึ้นได้ และโปรแกรมสามารถแสดงผลของการ
𝐸 =
𝐼
𝐷2
𝑐𝑜𝑠𝜃 (1) ส่ อ งสว่ า งจากโคมได้ อ ย่ า งสมจริ งเป็ นประโยชน์ ใ นการจ าลองการ
ออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างก่ อนที่จะนาไปสร้ างจริ งโดยโปรแกรม
E = ความส่องสว่างที่งาน (Lux)
DIALUX จะแสดงผลลักษณะห้องในรู ปแบบของสามมิติในรู ปแบบไฟล์
I = ความเข้มแสง (Candela)
D = ระยะห่างจากแหล่งกาเนิ ดแสงถึงงาน (m) pdf และรู ปแบบไฟล์ Video ขั้นตอนการดาเนิ นงานดังรู ปที่ 2

9thECTI-CARD 2017 “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อตอบสนองท้องถิ่นและภาคอุตสาหกรรม”


บทความวิจยั
การประชุมวิชาการ งานวิจยั และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 9
9thECTI-CARD 2017, Chiang khan Thailand
4.1 การคานวณด้วยมือ
ขั้นตอนที่ 1. คานวณหาจานวนดวงโคม ระดับความสว่าง 500 Luxจาก
สมการ (2) ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 2x28 วัตต์ แบบ TL5
โดยกาหนดค่าต่างๆ ดังนี้
E (Lux) A (m2) Lm CU MF
500 (8 x 12) 5250 0.91 0.75

ผลการคานวณได้จานวนดวงโคม 12 ดวงโคม
ขั้นตอนที่ 2. จัดวางดวงโคมภายในพื้นที่ของห้อง

รู ปที่ 3 การจัดวางดวงโคมจากการคานวณด้วยมือ
รูปที่ 2 ขั้นตอนการดาเนิ นงาน 4.2 การคานวณด้วยโปรแกรม DIALUX
ขั้นตอนที่ 1 สร้ างแบบจาลองห้องขนาด กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร
ขั้นตอนที่ 1 เริ่ มต้นการสร้างห้องโดยการวางแบบและหลังจากนั้น จึงทา สู ง 2.8 เมตรพร้ อมองค์ประกอบต่างๆภายในห้องให้ใกล้เคี ยงกับสภาพ
การสร้ างห้องตามแบบที่วาง เช่ น ความกว้าง ความยาวความสู งรวมถึ ง จริ งกาหนดองค์ประกอบต่างๆภายในห้องเพื่อให้โปรแกรมคานวณหาค่า
องค์ประกอบอื่นๆที่จะต้องจัดวางภายในห้องหรื ออาคารนั้นๆ สัมประสิ ทธิ์การสะท้อนแสง
ขั้นตอนที่ 2 ทาการเลื อกดวงโคมให้เหมาะสมกับการใช้งานในแต่ ล ะ
พื้ น ที่ ข องอาคารและความเข้ม ของการส่ อ งสว่ า งจะต้อ งเป็ นไปตาม
มาตรฐานของกฎกระทรวง [3] โดยการเลือกดวงโคมจะต้องเป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์ของการใช้งานรวมถึงจะต้องคานึงถึงความสวยงาม

ขั้นตอนที่ 3 ทาการค านวณตาแหน่ งการติ ดตั้งดวงโคมโดยโปรแกรม


DIALUX สามารถจัดวางตาแหน่งดวงโคมด้วยตนเองหรื อผ่านโปรแกรม
รู ปที่ 4 แบบจาลองแปลนห้องประชุม
โดยการกาหนดค่าเพื่อให้ได้ค่าความส่ องสว่างตามที่ตอ้ งการ
ขั้นตอนที่ 2 ใช้ดวงโคม PHILIPS TCS165 2xTL5-28W HFP C3_827
ขั้นตอนที่ 4 จาลองผลการทดลองออกมาในรู ปแบบสามมิติ และทาการ
เป็ นหลอดฟลู ออเรสเซนต์ ขนาด2x28วัตต์ แบบTL5 [5] ซึ่ งเป็ นหลอด
เลือกสิ่ งที่ตอ้ งการให้โปรแกรมแสดงผลออกทาง pdf
ประหยัดพลังงาน
4. ผลการทดลอง (กรณีศึกษา)
กรณี ศึก ษาได้ทาการทดลองการออกแบบแสงสว่างภายใน
ห้ อ งประชุ ม อาคาร18 (วิ ศ วกรรมไฟฟ้ า) ห้ อ ง18203 มหาวิ ท ยาลั ย
เทคโนโลยีร าชมงคลอี ส าน โดยได้ดาเนิ นการออกแบบตามวิธีลู เ มน
เปรี ยบเทียบกับโปรแกรม DIALUX รายละเอียดดังนี้
รู ปที่ 5 โคมและหลอดที่ใช้

9thECTI-CARD 2017 “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อตอบสนองท้องถิ่นและภาคอุตสาหกรรม”


บทความวิจยั
การประชุมวิชาการ งานวิจยั และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 9
9thECTI-CARD 2017, Chiang khan Thailand
จากรู ปที่ 5 เป็ นการบอกถึงค่าความกระจายแสงของดวงโคม
และปริ มาณเส้นแรงการส่องสว่าง
ขั้นตอนที่ 3 กาหนดค่าความเข้มแสง 500 Lux สาหรับห้องประชุ ม
โดยให้โปรแกรมทาการคานวณและจัดวางตาแหน่ งการติดตั้งดวงโคม
แบบอัตโนมัติเพื่อให้ความเข้มการส่ องสว่างในแต่ละพื้นที่ของห้องมีค่า
ใกล้เคียงกันมากที่สุด รู ปที่ 9 สเปกตรัมของแสงภายในห้องแบบสามมิติ

จากรู ปที่ 8 และ 9 แสดงห้องเป็ น 3 มิติและบอกถึงองศาการกระจาย


แสงของดวงโคมโดยที่ แบ่งค่าความเข้มของแสงสว่างที่แตกต่างกันด้วย
โทนสี จากค่าตาสุดจนถึงค่าสู งสุ ดมีหน่วยเป็ นลักซ์

5. สรุป
การออกแบบระบบไฟฟ้ าส่ อ งสว่ า งโดยใช้ โ ปรแกรม DIALUX
แสดงองค์ป ระกอบต่ างๆ เช่ น ค่ า ความส่ องสว่างในบริ เ วณที่ ต้องการ
รูปที่ 6 ตาแหน่งการติดตั้งดวงโคม ออกแบบหรื อเฉพาะจุด ตาแหน่ งการติ ดตั้งดวงโคม จะบอกถึ งจานวน
ของดวงโคมของพื้นที่ที่ได้กาหนด บอกถึงลักษณะการกระจายแสงของ
ดวงโคม และแสดงให้เห็ นคอนทัวร์ การกระจายแสง เป็ นการแสดงให้
เห็ นถึ งค่ าความส่ องสว่างในบริ เวณต่างๆของห้อง เพื่ อให้ง่ายต่อความ
เข้าใจในการออกแบบมากยิ่งขึ้ น ซึ่ ง DIALUX เป็ นโปรแกรมที่เ หมาะ
สาหรับการออกแบบเพื่อนาไปใช้งานจริ ง รวมถึ งการนาไปประยุกต์ใช้
เพื่อการศึกษาให้มีความสะดวก รวดเร็ ว และแม่นยา

6. กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณสาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า มหาวิทยาลับเทคโนโลยีราชมงคล
รูปที่ 7 คอนทัวร์ การกระจายแสง
อีสาน นครราชสี มา ที่สนับสนุนการทาวิจยั

จากรู ปที่ 7 เป็ นการแสดงค่าความส่ องสว่างบนพื้นที่ใช้งานจริ ง 7. เอกสารอ้ างอิง


ซึ่งกาหนดให้พ้นื ที่ใช้งานมีความสูงจากพื้น 0.75 เมตร
ขั้นตอนที่ 4 จาลองผลการทดลอง [1] www.bsa.or.th/กฎหมาย/กฎกระทรวง-การท างานเกี่ยวกับความร้ อน-
แสงสว่าง-และเสียง-พศ-๒๕๔๙.html
[2] http://www.dial.de/CMS/English/Articles/DIALux/Download/
Download_d_e_fr_it_es_cn.html.
[3] ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช. การออกแบบระบบแสงสว่าง, หน้า 99-135;
บริ ษทั ซีเอ็ด ยูเคชัน่ จากัด (มหาชน),พ.ศ.2521.
[4] Kārlis Zālītis, Kristīna Bērziņa, “Effective and Optimal
Simulation of Light Design in Riga Technical University’s Lighting
Laboratory from the Point of View of Energy Efficiency,” IEEE 4th
Workshop on Advances in Information, Electronic and Electrical
รูปที่ 8 รู ปแบบห้องแบบสามมิติ Engineering, pp. 5-7, 2016.
[5] Philips lighting , “Lighting manual,” 5th edition,1993.

9thECTI-CARD 2017 “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อตอบสนองท้องถิ่นและภาคอุตสาหกรรม”

You might also like