You are on page 1of 6

1

หน่วยปฏิบัตรการที่ 2

การกระจายแสงของดวงโคมไฟฟ้าและจำลองผลระบบแสงสว่างด้วยโปรแกรม DIALux

2.1 วัตถุประสงค์

ศึกษาหลักการทำงานของวงจรจุดหลอดประเภทต่าง ๆ พร้อมทั้งคุณลักษณะสมบัติการกระจายของดวงโคม ชนิด


ต่าง ๆ และการจำลองผลระบบแสงสว่างด้วยโปรแกรม DIALux

2.2 อุปกรณ์ทดลอง

1. แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 50 Hz 220/380 V

2. หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาด 18 วัตต์ 220 V พร้อมชุดจุดหลอด (ballast + starter)

3. หลอดแสงจันทร์ (Mercury lamp) ขนาด 250 วัตต์ 220 V

4. หลอดไส้ขนาด 25 วัตต์ 220 V พร้อมขั้วต่อ

5. หลอดประหยัดไฟขนาด 9 วัตต์ 220 V พร้อมขั้วต่อ

6. โคมสำหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์

7. โคมไฮเบย์

8. โคมดาวน์ไลน์

9. ห้องทดลองการกระจายแสง

10. ดิจิตอลมัลติมิเตอร์

11. Lux meter

12. Computer Notebook ติดตั้งโปรแกรม DIALux

13. ชุดสีดำสนิท หมวก และถุงมือสีดำ

529434 ELECTRICAL POWER ENGINEERING LABORATORY


2

2.3 การทดลอง

ตอนที่ 1 การทดสอบการกระจายแสงของดวงโคมชนิดต่าง ๆ

1. ติดตั้งชุดดวงโคมไฟฟ้าในห้องทดสอบ

2. ปรับตั้งระนาบวัดแสงและมุมในแนวดิ่งตามค่าในตารางบันทึกผล

3. เปลี่ยนชุดดวงโคมทดสอบ ทำซ้ำข้อ 2-3

รูปที่ 2.1 ตัวแปรการวัดระยะทางที่สอดคล้องกับมุม 

ตารางที่ 2.1 คุณลักษณะสมบัติการกระจายแสงของโคมไฟฟ้า

โคมที่ใช้ในการทดสอบ___________________________________________________________________________

หลอดไฟที่ใช้ทดสอบ__________________________ ขนาด___________W__________lm ยี่ห้อ/รุ่น_____________

Illuminance (lx)
(degree) C0 C22.5 C45 C67.5 C90 X(cm) Y(cm)
0
5
15
25
35
45
55
65
75
85
90

529434 ELECTRICAL POWER ENGINEERING LABORATORY


3

โคมที่ใช้ในการทดสอบ___________________________________________________________________________

หลอดไฟที่ใช้ทดสอบ__________________________ ขนาด___________W__________lm ยี่ห้อ/รุ่น_____________

Illuminance (lx)
(degree) C0 C22.5 C45 C67.5 C90 X(cm) Y(cm)
0
5
15
25
35
45
55
65
75
85
90

โคมที่ใช้ในการทดสอบ___________________________________________________________________________

หลอดไฟที่ใช้ทดสอบ__________________________ ขนาด___________W__________lm ยี่ห้อ/รุ่น_____________

Illuminance (lx)
(degree) C0 C22.5 C45 C67.5 C90 X(cm) Y(cm)
0
5
15
25
35
45
55
65
75
85
90

529434 ELECTRICAL POWER ENGINEERING LABORATORY


4

ตอนที่ 2 การจำลองผลระบบแสงสว่างด้วยโปรแกรม DIAlux

การจำลองผลระบบแสงสว่างภายใน

1. เปิดใช้งานโปรแกรม DIALux

2. สร้างห้องจำลองขนาด กว้าง 12 เมตร ยาว 16 เมตร สูง 4 เมตร

3. กำหนดระนาบทำงาน (Working plane :WP) ที่ความสูง 0.85 เมตรจากพื้นห้อง

4. กำหนดการสะท้อนแสงของพื้นผิวต่าง ๆ เป็นดังนี้ เพดาน 75 % ผนัง 45 % พื้น 18 %

5. เลือกโคมดาวน์ไลน์ชนิดฝังเพดาน

6. ติดตั้งโคมไฟที่ตำแหน่งกึ่งกลางระนาบพอดี

7. จำลองผลการส่องสว่างด้วยโปรแกรม บันทึกค่าเป็นไฟล์นามสกุล PDF

8. กำหนดค่าความส่องสว่างเฉลีย่ ที่ 550 lx บนระนาบทำงานที่กำหนด และติดตั้งโคมไฟแบบกระจายเต็มพื้นที่

9. จำลองผลการส่องสว่างด้วยโปรแกรม บันทึกค่าเป็นไฟล์นามสกุล PDF

10. จดบันทึกค่าความส่องสว่างเฉลี่ย ค่าความส่องสว่างสูงสุด ค่าความส่องสว่างต่ำสุด และค่าความสม่ำเสมอ

ของแสงลงในตารางที่ 2.4

ตารางที่ 2.4 ผลค่าความส่องสว่างของการจำลองระบบแสงสว่างภายใน

รูปแบบการติดตั้ง Eav [lx] Emax [lx] Emin [lx] U0


ตำแหน่งกึ่งกลาง
ระนาบพอดี
ติดตั้งโคมไฟแบบ
กระจายเต็มพื้นที่

529434 ELECTRICAL POWER ENGINEERING LABORATORY


5

การจำลองผลระบบแสงสว่างไฟถนน

1. เปิดใช้งานโปรแกรม DIALux

2. ถนนสองช่องจราจร กว้าง 10 เมตร ถ้าใช้ไฟถนนสูง 4 เมตร ให้ตดิ ตั้งด้านเดียว สองด้าน และ สลับฟันปลา

3. จำลองผลการส่องสว่างด้วยโปรแกรม บันทึกค่าเป็นไฟล์นามสกุล PDF

ตอนที่ 3 ออกแบบระบบการส่องสว่างภายใน

1. ให้นักศึกษาเลือกออกแบบห้องภายในมหาวิทยาลัย หรือรอบ ๆ มหาวิทยาลัยพร้อมระบุที่ตั้ง โดยการประมาณ


ขนาดห้องให้ประมาณจากขนาดจริง พร้อมจำลองค่าด้วยโปรแกรม DIALux

2. กำหนดให้การออกแบบใส่วัตถุภายในห้องเสมือนจริงตามวัตถุที่โปรแกรมมีให้

3. กำหนดให้การออกแบบไม่ต้องใส่สีของวัตถุ และไม่ต้องกำหนดช่วงเวลาของแสงแดด

4. กรณีที่ 1 ติดตั้งแสงสว่างตามจริงของห้องตัวอย่าง

กรณีที่ 2 กำหนดค่าความส่องสว่างตามมาตรฐานของชนิดห้องตามตาราง

พื้นที่ ความสว่าง(lx)
ห้องครัว 500
ห้องอาหาร/ร้านอาหาร 300
ห้องนั่งเล่น/ห้องรับรอง 300
ห้องทำงาน 300
ห้องน้ำ 250
ห้องนอน 300
ทางเดิน 150
ห้องประชุม 500
ห้องสมุด 500
ห้องเก็บของ 150

5. จำลองผลการส่องสว่างด้วยโปรแกรมทั้งสองกรณี บันทึกค่าเป็นไฟล์นามสกุล PDF และบันทึกรูป 3D

529434 ELECTRICAL POWER ENGINEERING LABORATORY


6

2.4 วิเคราะห์และอภิปรายผลการทดลอง

1. จากการทดสอบคุ ณ สมบั ต ิ ก ารกระจายแสงของดวงโคมที ่ ท ำการทดสอบ ให้ ค ำนวณความเข้ ม ส่ อ งสว่ า ง


(luminous intensity: cd) ที่สอดคล้องกับค่า illuminance

2. ให้วาดกราฟการกระจายความเข้มส่องสว่างดวงโคมชนิดต่าง ๆ ที่ทำการทดสอบ

3. วิเคราะห์และอภิปรายผลการสะท้อนแสงจากพื้นผิวห้องต่อค่าความส่องสว่างบนระนาบทำงานจากผลการ จำลอง
ระบบแสงสว่างภายใน

4. วิเคราะห์และอภิปรายผลของ uniformity(ความสม่ำเสมอ) ที่ได้จากการจำลองผลระบบแสงสว่างภายใน

5. วิเคราะห์และอภิปรายผลของการว่างตำแหน่งไฟถนนรูปแบบต่าง ๆ

6. เปรียบเทียบค่าความส่องสว่างจากหลอดไฟจริงกรณีที่ 1 และ ค่าความสว่างตามมาตรฐานกรณีที่ 2

2.5 สรุปการทดลอง

ตามวัตถุประสงค์การทดลอง (สรุปแยกแต่ละตอน)

2.6 คำถามท้ายการทดลอง

1. จงอธิ บ ายความหมาย และความแตกต่ า งระหว่ า งการให้ ก ำเนิ ด แสงด้ ว ยปรากฏการณ์ incandescence,


luminescence และ gas discharge

2. บัลลาสต์มีความสำคัญอย่างไรสำหรับการจุดหลอดไฟฟ้า

3. อิกนิเตอร์ (ignitor) คืออะไร ทำหน้าที่อะไร และใช้งานควบคู่กับหลอดชนิดใด

4. โคมไฮเบย์คืออะไร มีความสำคัญอย่างไรกับระบบแสงสว่าง

5. จงอธิบายหลักการออกแบบระบบสงสว่างภายในด้วยวิธีโซนอลคาวิต

6. จงอภิปรายข้อดีและข้อด้อยของการใช้หลอดไส้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดประหยัดไฟ หลอดโซเดียมความดัน


สูง หลอดแสงจันทร์ และหลอดเมทัลฮาไลด์มาใช้ให้แสงสว่างไฟถนน

529434 ELECTRICAL POWER ENGINEERING LABORATORY

You might also like