You are on page 1of 35

1

ชุดทดลองสวิตช์แสง LDR

(04-212-201)
อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม
Engineering Electronics

เสนอ
อาจารย์ ธีระพล เหมือนขาว

จัดทำโดย
นาย รติชาติ มณีพรหม รหัสนักศึกษา 116430421052-2
กลุ่ม 64342 EPE2
นาย คณิสสร ทองเชื้อ รหัสนักศึกษา 116430421080-3
กลุ่ม 64342 EPE2
2

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำนำ

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม
(Engineering Electronics) รหัส 04-212-201 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้
ศึกษาความรู้ในเรื่องของการการแปลงแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ า การต่อวงจร
การกัดลายปริน
้ ท์แผ่น PCB และกระบวนการขัน
้ ตอนการทำต่างๆ ทัง้ นีใ้ น
รายงานฉบับมีเนื้อหาซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์และขัน
้ ตอนการต่อวงจรซึ่ง
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อการเรียน
รายงานฉบับนีส
้ ามารถสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลือของ
อาจารย์ ธีระพล เหมือนขาว ซึ่งได้ให้เกียรติเป็ นอาจาร์ยที่ปรึกษาและคอย
ให้คำแนะนำต่าง ๆ จนทำให้รายงานเล่มนีส
้ ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัด
ทำจึงขอขอบคุณท่านอาจาร์ยมา ณ ที่นด
ี ้ ้วย
ท้ายนีค
้ ณะผู้จัดทำหวังอย่างยิ่งว่าบทความเรื่องชุดทดลองสวิตช์แสง
LDR จะเป็ นประโยชน์ให้แก่ผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ หรือ ผู้ที่ต้องการค้นคว้าเกี่ยว
กับเรื่องนี ้ หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทำขอน้อมรับไว้ และ
ขออภัยมา ณ ที่นด
ี ้ ้วย
3

นาย รติชาติ
มณีพรหม
นาย คณิสสร ทองเชื้อ
4

สารบัญ
เรื่อง หน้า
5
6

บทที่ 1

บทนำ
1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญ
เซนเซอร์ (Sensors) เป็ นอุปกรณ์ตัวหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งใน
งานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ เพราะเซนเซอร์จะ
ทำหน้าที่เป็ นตัวตรวจสอบ ตรวจวัดเงื่อนไขต่างๆ ที่เกิดขึน
้ ในกระบวนการ
ผลิต เช่น กำหนดตำแหน่ง ควบคุมปริมาณ คัดแยกชิน
้ งาน หรืออื่นๆ เพื่อให้
ระบบดำเนินการผลิตได้อย่างต่อเนื่องและมีคณ
ุ ภาพ ดังนัน
้ หากเลือกใช้
เซนเซอร์ที่มีประสิทธิภาพดีแม่นยำ ก็จะส่งผลให้กระบวนการผลิตมีคณ
ุ ภาพ
ที่ดีเยี่ยมตามไปด้วย
แอลดีอาร์ (LDR) หรือชื่อเต็ม ๆ คือ Light Dependent Resistor หรือ
ตัวต้านทานที่แปรค่าตามแสง คือ ตัวต้านทานชนิดที่เปลี่ยนสภาพความนำ
ไฟฟ้ า (Conductance) ได้เมื่อมีแสงมาตกกระทบ ทำจากวัสดุสารกึ่งตัวนำ
ที่ไวต่อแสง บางครัง้ เราเรียก LDR เซนเซอร์ชนิดนีว้ ่าโฟโตรีซีสเตอร์
(Photoresistor) หรือ โฟโตคอนดัคเตอร์ (Photoconductor)
และเนื่องจากชุดทดลองเกี่ยวกับเซ็นเซอร์ในวิชาแล็ปอิเล็กทรอนิกส์นน
ั้
มีจำนวนไม่เพียงพอต่อนักศึกษาที่ต้องการจะทดลองทำให้เสียเวลาในการ
ทดลองใบงานอื่นๆเป็ นอย่างมากจากปั ญหาดังกล่าวข้างต้นจึงทำให้คณะผู้
จัดทำได้ทำการจัดทำชุดทดลองสวิตช์แสง LDR เพิ่ม เพื่อนำไปใช้ประกอบ
การเรียนการสอนในรายวิชาแล็ปอิเล็กทรอนิกส์

1.2 วัตถุประสงค์
7

1.2.1 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของสวิตช์แสง LDR


1.2.2 เพื่อจัดสร้างชุดทดลองที่นำไปใช้ในรายวิชาแล็ปอิเล็กทรอนิกส์
1.2.3 เพื่อศึกษาในการนำสวิตช์แสง LDR ไปใช้ประยุกต์กับวงจรต่างๆ
1.3 ขอบเขตการศึกษา
1.3.1 ระยะเวลาในการทำตัง้ แต่วันที่ 14 ตุลาคม 2565 ถึง 21 ตุลาคม
2565
1.3.2 ใช้โปรแกรม circuit wizard ในการออกแบบวงจร
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.4.1 ได้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องของเซนเซอร์
1.4.2 เรียนรู้การใช้โปรแกรม circuit wizard เพื่อสร้างวงจรของชุด
ทดลอง
1.4.3 นำชุดทดลองไปใช้งานในรายวิชาแล็ปอิเล็กทรอนิกส์
8

บทที่ 2

ทฤษฎีและเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
จากการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับชุดทดลองสวิตช์แสง LDR คณะผู้จัดทำมี
วัตถุประสงค์เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้เพื่อเป็ นสื่อประกอบการสอนในรายวิชา
อิเล็กทรอนิกส์ โดยศึกษาทฤษฎีและเนื้อหาที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี ้

2.1 เครื่องขยายสัญญาณการดำเนินงาน 741 IC (op-amp 741


IC)

2.2 ไดโอด (Diode)

2.3 ตัวต้านทานปรับค่าตามแสง (Light Dependent


Resistor : LDR)

2.1 เครื่องขยายสัญญาณการดำเนินงาน 741 IC (op-amp 741 IC)

ออปแอมป์ (Op-Amp) หรือชื่อเต็ม โอเปอเรชั่นแอมป์ พลิฟายร์เออร์


(operational Amplifier)เป็ นวงจรรวมโซลิดสเตตประเภทเดียว ในปี พ.ศ.
1963 op-amp ตัวแรกผลิตโดย "Fairchild Semiconductors" op-amp
เป็ นส่วนประกอบพื้นฐานของวงจรอิเล็กทรอนิกส์แบบแอนะล็อกที่ทำหน้าที่
ประมวลผลสัญญาณแอนะล็อกประเภทต่างๆ ออปแอมป์ ใช้ฟีดแบ็คจาก
ภายนอกเพื่อควบคุมการทำงาน และนี่คืออุปกรณ์อเนกประสงค์ในอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ทงั ้ หมด Op-Amp มีสองอินพุตและเอาต์พุตหนึ่งรายการเรียก
ว่า inverting และ noninverting IC 741 op-amp เป็ น op-amp ทั่วไปที่
9

ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ หน้าที่หลักของ op-amp คือการขยาย


สัญญาณ AC และ DC และสำหรับการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ เช่น การ
บวก การคูณ การลบ เป็ นต้น op-amps เหล่านีถ
้ ูกใช้ในแอพพลิเคชั่นมา
กมาย เช่น ออสซิลเลเตอร์ เครื่องเปรียบเทียบ ฟิ ลเตอร์ เครื่องกำเนิดพัลส์
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ออปแอมป์ IC 741 ดูเหมือนชิปและเป็ นออปแอมป์
สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไป
รูปที่ 1. แสดงวงจรภายในของ op-amp ไว้ด้านล่างซึ่งประกอบด้วย 8 พิน
พินที่สำคัญที่สุดคือพิน 2, พิน 3 และพิน-6 เนื่องจากพิน 2 และ 3 เป็ น
ตัวแทนของเทอร์มินัลกลับเฟสและไม่กลับเฟสโดยที่พิน 6 แสดงถึงแรงดัน
ไฟฟ้ าเอาต์พุต IC 741 ส่วนใหญ่ดำเนินการทางคณิตศาสตร์เช่นนอกจากนี ้
การลบการหารการคูณการรวมการแยกความแตกต่างเป็ นต้น IC 741 มีสาม
ขัน
้ ตอนเช่นอินพุตที่ต่างกันกำไรและเอาต์พุตพุชพูล Pin 1 และ 5 คือ
ขัว้ “offset null” หรือ“ balance” ออปแอมป์ ไม่มีอะไรนอกจากความ
แตกต่างเครื่องขยายสัญญาณ เมื่อเราใช้แรงดันไฟฟ้ าเดียวกันที่เทอร์มินัล
กลับเฟส (พิน 2) และเทอร์มินัลที่ไม่กลับเฟส (พิน 3) ไม่ควรมีแรงดันไฟฟ้ า
ใด ๆ เงื่อนไขนีเ้ หมาะอย่างยิ่ง จวนจะมีแรงดันไฟฟ้ าขนาดเล็ก (แรงดันออฟ
เซ็ต) ปรากฏขึน
้ ที่ขา 6 เสมอแม้แรงดันไฟฟ้ าที่ใช้กับขา 2 และ 3 จะเท่ากัน
ทุกประการ แรงดันไฟฟ้ าออฟเซ็ตปรากฏที่เอาท์พุทเพราะเราไม่สามารถ
สร้างพารามิเตอร์ของทรานซิสเตอร์และค่าความต้านทานการไบอัสของแอม
พลิฟายเออร์ที่แตกต่างกันได้อย่างสมบูรณ์แบบ
10

รูปที่ 1. วงจรภายในของ op-amp

ทว่าเรายังสามารถสร้างแรงดันขาออกได้เป็ นศูนย์ถ้าเราใช้แรงดันออฟ
เซ็ตกับอินพุตเพื่อปรับสมดุลแรงดันออฟเซ็ตเอาต์พุต เราเรียกสิ่งนีว้ ่าแรงดัน
ออฟเซ็ตอินพุตเราสามารถเพิ่มวงจรภายนอกบางตัวเพื่อลดความไม่ตรงกัน
ใน IC 741 วงจรเหล่านีส
้ มดุลแรงดันไฟฟ้ าออฟเซ็ต IC 741 มีสองขัว้ (Pin 1
และ Pin 5) ที่อินพุตเวทีสำหรับจุดประสงค์ที่เราสามารถเพิ่มวงจรภายนอก
เพื่อปรับสมดุลแรงดันไฟฟ้ าออฟเซ็ต การปรับค่าออฟเซ็ตเป็ นโมฆะมักต้อง
ใช้โพเทนชิออมิเตอร์ที่มีแถบเลื่อนเชื่อมต่อกับแหล่งจ่ายไฟเชิงลบ Pin 4 ใช้
สำหรับแหล่งจ่ายไฟเชิงลบและ pin 7 ใช้สำหรับแหล่งจ่ายไฟเชิงบวก
ขาของออปแอมป์ มีดังนี ้

1. ขา 1 คือ pin balance (offset null)

2. ขา 2 กำลังย้อนกลับอินพุต

3. ขา 3 เป็ นอินพุตที่ไม่มีการย้อนกลับ

4. ขา 4 เป็ นขาของแหล่งจ่ายไฟเชิงลบ

5. ขา 5 คือ pin balance (offset null)


11

6. ขา 6 คือขาออก

7. ขา 7 เป็ นขาของแหล่งจ่ายไฟบวก

8. ขา 8 ไม่มีการเชื่อมต่อใดๆ

2.2 ไดโอด (Diode)

ไดโอด (diode) เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีสองขัว้ คือขัว้ A (Anode)


และขัว้ K (cathode) มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้ าไหลในจากขัว้ A ไป
หาขัว้ K เท่านัน
้ และ ไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้ าไหลจากขัว้ K ไปยังขัว้ A เมื่อ
กล่าวถึงไดโอด มักจะหมายถึงไดโอดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ
(Semiconductor diode) ซึ่งก็คือผลึกของสารกึ่งตัวนำที่ต่อกันได้ขว
ั ้ ทาง
ไฟฟ้ าสองขัว้ ส่วนไดโอดแบบหลอดสุญญากาศ (Vacuum tube diode) ถูก
ใช้เฉพาะทางในเทคโนโลยีไฟฟ้ าแรงสูงบางประเภท เป็ นหลอดสุญญากาศที่
ประกอบด้วยขัว้ อิเล็ดโทรดสองขัว้ ซึง่ จะคือแผ่นตัวนำ (plate) และแคโทด
(cathode)
12

รูปที่ 2. ไดโอด

ส่วนใหญ่เราจะใช้ไดโอดในการยอมให้กระแสไปในทิศทางเดียว โดย
ยอมให้กระแสไฟในทางใดทางหนึ่ง ส่วนกระแสที่ไหลทิศทางตรงข้ามกันจะ
ถูกกัน
้ ดังนัน
้ จึงอาจถือว่าไดโอดเป็ นวาล์วตรวจสอบแบบอิเล็กทรอนิกส์อย่าง
หนึ่ง ซึ่งนับเป็ นประโยชน์อย่างมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ใช้เป็ นตัว
เรียงกระแสไฟฟ้ าในวงจรแหล่งจ่ายไฟ เป็ นต้น โดยปกติแล้วขาของขัว้ P จะ
ต่อเข้ากับไฟบวก และ ขาขัว้ N จะถูกต่อเข้ากับไฟลบ การต่อแบบนีเ้ รียกว่า
ไบอัสตรง (Forward Bias) แต่ถ้าเราสลับนำขัว้ P ต่อเข้ากับไฟลบ และขัว้
N ต่อกับไฟบวก จะเรียกการต่อแบบนี่ว่้ า ไบอัสกลับ (Reverse Bias)

- ไบอัสตรง (Forward Bias) กระแสของวงจรจะไหลผ่านตัวไดโอดปกติ


เทียบได้กับค่าความต้านทานเป็ น 0 ทางทฤษฎี หรือในอุดมคติ (Ideal)

- ไบอัสกลับ (Reverse Bias) ไดโอดจะทำหน้าที่ Block กระแสและแรง


ดันของวงจร เทียบได้กัับมีความต้านทานมหาศาล หรือวงจรเปิ ด ทางทฤษฎี
หรือในอุดมคติ (Ideal)
13

รูปที่ 3. ไบอัสตรง
รูปที่ 4. ไบอัสกลับ

2.2.1 ไดโอดในทางอุดมคติ

ไดโอดในอุดมคติ (Ideal Diode) มีลก


ั ษณะเหมือนสวิตช์ที่สามารถนำ
กระแสไหลผ่านได้ในทิศทางเดียว ถ้าต่อขัว้ แบตเตอรี่ให้เป็ นแบบไบอัสตรงได
โอดจะเปรียบเป็ นเสมือนกับสวิตช์ที่ปิด (Close Switch) หรือไดโอดลัดวงจร
(Short Circuit) Id ไหลผ่านไดโอดได้ แต่ถ้าต่อขัว้ แบตเตอรี่แบบไบอัสกลับ
ไดโอดจะเปรียบเป็ นเสมือนสวิตช์เปิ ด (Open Switch) หรือเปิ ดวงจร
(Open Circuit) ทำให้ Id เท่ากับศูนย์

รูปที่ 5 ไดโอดในทางอุดมคติ
14

2.2.2 ไดโอดในทางปฏิบัติ

ไดโอดในทางปฏิบัติ (Practical Diode) มีการแพร่กระจายของพาหะ


ส่วนน้อยที่บริเวณรอยต่ออยู่จำนวนหนึ่ง ดังนัน
้ ถ้าต่อไบอัสตรงให้กับไดโอด
ในทางปฏิบัติก็จะเกิด แรงดันเสมือน (Ge >= 0.3V ; Si >= 0.7V) ซึง่ ต้าน
แรงดันไฟฟ้ าที่จ่ายเพื่อการไบอัสตรง ขนาดของแรงดันเสมือนจึงเป็ นตัวบอก
จุดทำงาน ดังนัน
้ จึงเรียก "แรงดันเสมือน" อีกอย่างหนึง่ ว่า "แรงดันในการ
เปิ ด" (Turn-on Voltage ; Vt)

กรณีไบอัสกลับ เราทราบว่า Depletion Region จะขยายกว้างขึน


้ แต่
ก็ยังมีพาหะข้างน้อยแพร่กระจายที่รอยต่ออยู่จำนวนหนึ่ง แต่ก็ยังมีกระแสรั่ว
ไหลอยู่จำนวนหนึ่ง เรียกว่า กระแสรั่วไหล (Leakage Current) เมื่อเพิ่มแรง
ดันไฟฟ้ าขึน
้ เรื่อย ๆ กระแสรั่วไหลจะเพิ่มขึน
้ จนถึงจุดทีไดโอดนำกระแสเพิ่ม
ขึน
้ มาก ระดับกระแสที่จุดนี ้ เรียกว่า "กระแสอิ่มตัวย้อนกลับ" (Reverse
Saturation Current ; Is) แรงดันไฟฟ้ าที่จุดนี ้ เรียกว่า แรงดันพังทลาย
(Breakdown Voltage) และถ้าแรงดันไบอัสสูงขึน
้ จนถึงจุดสูงสุดที่ไดโอด
ทนได้ เราเรียกว่า "แรงดันพังทลายซีเนอร์" (Zener Breakdown Voltage ;
Vz) ถ้าแรงดันไบอัสกลับสูงกว่า Vz จะเกิดความร้อนอย่างมากที่รอยต่อของ
ไดโอด ส่งผลให้ไดโอดเสียหายหรือพังได้ แรงดันไฟฟ้ าที่จุดนีเ้ ราเรียกว่า แรง
ดันพังทลายอวาแลนซ์ (Avalance Breakdown Voltage) ดังนัน
้ การนำได
โอดไปใช้งานจึงใช้กับการไบอัสตรงเท่านัน

15

รูปที่ 6 ไดโอดในทางปฏิบัติ

2.3 ตัวต้านทานปรับค่าตามแสง (Light Dependent


Resistor : LDR)

LDR (Light Dependent Resistor) คือตัวต้านทานปรับค่าตามแสง


ตัวต้านทานชนิดนีส
้ ามารถเปลี่ยนความนําไฟฟ้ าได้เมื่อมีแสงมาตกกระทบ
โฟโตรีซีสเตอร์ (Photo Resistor) หรือ โฟโตคอนดัคเตอร์ (Photo
Conductor) เป็ นตัวต้านทานที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ (Semiconductor)
ประเภทแคดเมี่ยมซัลไฟด์ ( Cds : Cadmium Sulfide) หรือแคดเมี่ยมซิลิ
นายส์ (CdSe : Cadmium Selenide) ซึง่ ทัง้ สองตัวนีก
้ ็เป็ นสารประเภทกึ่ง
16

ตัวนำ เอามาฉาบลงบนแผ่นเซรามิกที่ใช้เป็ นฐานรองแล้วต่อขาจากสารที่


ฉาบ ไว้ออกมา โครงสร้างของ LDR

รูปที่ 7. สัญลักษณ์ทางไฟฟ้ าของ LDR

หลักการการทำงานของ Photoresistor คือ เป็ นตัวต้านทานชนิดหนึ่ง


ที่ค่าความต้านทานจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณแสงที่ตกกระทบลงบนฐาน
รองรับ โดยระหว่างขัว้ ไฟฟ้ าทัง้ สองมีสารกึ่งตัวนำ (บริเวณแคดเมียมซัลไฟด์
Cds) เมื่อสารกึ่งตัวนำไม่ติด ค่าความต้านทานของมันสูงถึงหลายเมกะโอห์ม
เมื่อบริเวณนีส
้ ว่างขึน
้ ทำให้ “ความต้านทานทางไฟฟ้ าลดลง ส่งผลให้มี
กระแสไฟฟ้ าไหลเพิ่มขึน
้ ในวงจรไฟฟ้ า”
17

รูปที่ 8 โครงสร้างของ LDR

บทที่ 3

วิธีการดำเนินโครงงาน
3. วิธีการดำเนินโครงงาน
ในการดำเนินโครงงานชุดทดลองสวิตช์แสง LDR มีรายละเอียดและวิธี
การดังนี ้
3.1 การออกแบบโครงงาน
3.2 เตรียมอุปกรณ์
3.3 วิธีการดำเนินโครงงาน
3.1 การออกแบบโครงงาน
18

3.2 เตรียมอุปกรณ์
ลำดับอุปกรณ์มีดังนี ้
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ จำนวน
1 ออปแอมป์ 741 IC 1
ตัวต้านทานปรับค่าได้
2 1
50kΩ
3 LDR 10 mm 1
4 ไดโอดเบอร์ 1N4007 3
5 ไดโอดเบอร์ 1N4148 4
ตัวเก็บประจุ
6 1
470μF/16 V
7 ตัวเก็บประจุ 0.01 μF 1
8 Socket ใส่ IC 1
9 รีเลย์ 12 V dc 1
10 ตัวต้านทาน 100 kΩ 2
11 ตัวต้านทาน 4.7 kΩ 1
12 ตัวต้านทาน 330 kΩ 1
13 กล่องพลาสติก 1
14 สายไฟอ่อน N/A
15 ซัพพลาย dc 9V 1A 1
19

3.3 วิธีการดำเนินโครงงาน
20
21

บทที่ 4

ผลการทดลอง

4.1 ผลการทดลอง
22

บทที่ 5

สรุปผลโครงงานและอภิปรายผล

โครงงานชุดทดลองสวิตช์แสง LDR มี วัตถุประสงค์เพื่อ


1) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของสวิตช์แสง LDR
2) เพื่อจัดสร้างชุดทดลองที่นำไปใช้ในรายวิชาแล็ปอิเล็กทรอนิกส์
3) เพื่อศึกษาในการนำสวิตช์แสง LDR ไปใช้ประยุกต์กับวงจรต่างๆ

5.1 สรุปผล

1. สามารถเข้าใจโครงสร้างของตัวต้านทานปรับค่าตามแสงและสามารถ
อธิบายลักษณะการทำงานของตัว อุปกรณ์ได้

2. สามารถทำชุดทดลองสวิตช์แสง LDR เพื่อนำไปใช้เป็ นสื่อการเรียน


การสอนในรายวิชาแล็ปอิเล็กทรอนิกส์ได้ ช่วยให้นักศึกษาได้มีอุปกรณ์ใน
การทดลองมากขึน

3. สามารถนำตัวต้านทานปรับค่าตามแสงนีไ้ ปประยุกต์ใช้กับวงจรต่างๆ
เพื่อใช้งานได้หลากหลายยิ่งขึน

5.2 อภิปรายผล

จากการสร้างชุดทดลองสวิตซ์แสง LDR นัน


้ ทำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับ
เรื่องของเซนเซอร์และการทำงานของออปแอมป์ เพื่อที่จะนำมาจัดทำเป็ น
23

สื่อการเรียนการสอนให้นักศึกษาในรายวิชา แล็ปอิเล็กทรอนิกส์ โดยผลจาก


การทดลองคือเมื่อมีแสงมาตกกระทบ จะทำให้เกิดสภาพนำไฟฟ้ าขึน
้ โดยค่า
ความต้านทานและแสงสว่างจะแปรผกผันกัน หากค่าความต้านทานจะต่ำลง
เมื่อมีแสงสว่างมากขึน
้ ทำให้กระแสสามารถไหลผ่านไปยังรีเลย์เพื่อสั่งการ
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆได้ แต่ในทางกลับกันนัน
้ เมื่อแสงสว่างน้อยลงค่า
ความต้านทานจะเพิ่มขึน
้ ทำให้ไม่นำกระแส ทำให้รีเลย์ไม่สามารถทำงานได้

5.3 ข้อเสนอแนะ

1. ควรออกแบบวงจรให้สามารถซ่อมแซมและปรับปรุงชุดทดลองได้
สะดวกเหมาะสมยิ่งขึน

2. ควรมีการพัฒนาชุดทดลองสวิตช์แสง LDR ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่ง


ขึน
้ เช่น สามารถนำไปใช้ขับโหลด

ประเภทมอเตอร์ได้ เป็ นต้น


24
25

อธิบายวงจรวงจรปิ ด-เปิ ดไฟด้วยระบบเซ็นเซอร์อิน


ฟาเรต

หลักการทำงาน
หลักการทำงานคือ เมื่อเมื่อจ่ายไฟแรงดัน 5V เข้ามาในวงจรแล้วกดที่สวิทช์
เพื่อให้วงจรพร้อมทำงานโดยจะมีไฟ LED โชว์สถานะไว้ว่าวงจรพร้อมทำงาน
แรงดัน ไฟฟ้ าเข้า ที่LM7805 เพื่อ ทำให้แ รงดัน คงที่ และส่ง ไปให้LEDs
Infrared Emitter และเมื่อ นำ LEDs Infrared Emitter ให้อ ยู่ร ะนาบเดีย ว
กับ IR Receiver Diode จะทำให้LM358D ทำงานและขยายแรงดัน รีเลย์จะ
ทำงานส่งไฟไปที่เทอร์มินอล output
26

ออกแบบวงจร ด้วยโปรแกรม Easy Eda


27

จำนว
ลำดับ รายการ

1 ตัวต้านทาน 470 Ω 3
2 ตัวต้านทาน ปรับค่าได้ 10 kΩ 1
3 ทรานซิสเตอร์ BC182L 1
4 พาวเวอร์ ทรานซิสเตอร์ MJE3055 1
5 ไดโอด 1N4001 1
6 Relay 5V 5 ขา 1
7 LED สีแดง 1 รายการอุปกรณ์
8 ตัวต้านทาน 10 k Ω 1
9 Terminal Block 2 pin 4
10 ตัวต้านทาน 220 Ω 1
11 LED สีเขียว 1
12 สวิตซ์ เปิ ด-ปิ ด 1
13 LEDs Infrared Emitter 1
เครื่องมือ
14 IR Receiver Diode 1
15 คาปาซิเตอร์ 580𝜇𝐹 1
16 บล็อกใส่อป
ุ กรณ์ 1
17 แผ่นปริน
้ ท์PCB 4*4 1
18 สกรูยึดบล็อก 4
19 สายไฟอ่อน N/A
20 Adapter 5v 1A 1
21 ท่อหด N/A
22 ขัว
้ ไบริ่งโฟสตัวเมียแดง 1
23 ขัว
้ ไบริ่งโฟสตัวเมียดำ 1
28

ลำดับ อุปกรณ์
1 มัลติมิเตอร์
2 หัวแร้ง
3 ตะกั่ว
4 ที่ดูดตะกั่ว
5 ไขควง
6 ครีมตัดสายไฟ
7 ครีมปากแหลม
8 คัตเตอร์
9 สว่าน
10 ดอกสว่าน
11 ปากกาเมจิก
12 กะละมัง
13 น้ำยากัดแผ่นปริน
้ ท์
14 เตารีด
15 ทินเนอร์
16 ดินสอ
17 ไม้บรรทัด
18 สำลี
19 ผ้าแห้ง
20 น้ำยาผสาน
21 ครีมปอกสายไฟ
22 แผ่นยางรองตัด
29

ขัน
้ ตอนการทำ

1) ออกแบบวงจรและลายปริน
้ ท์ โดยใช้ โปรแกรม Easy Eda

2) นำแผ่น PCB มาวัดขนาดกับลายวงจรและตัดแผ่น PCB ตามขนาด


30

3) นำเตารีดมารีดเพื่อทำการลอกลาย

4) นำแผ่น PCB ไปแช่ในน้ำยากัดลายปริน


้ ท์ และทำการเขย่าไปเรื่อย
เพื่อให้น้ำยากัดทองแดงที่ไม่ต้องการออกให้หมด
31

5) สว่านเจาะรู แผ่น PCB ตามลายวงจร


32

6) นำอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ มาบัดกรีเข้ากับวงจร
33

7) อุปกรณ์ลงกล่อง พร้อมเดินสายไฟเชื่อมต่อระหว่างแผงวงจรกับกล่อง
ให้เรียบร้อย
34

แบบสำเร็จชุดจำลองก๊อกน้ำอัตโนมัติ
35

You might also like