You are on page 1of 13

1

เฉลยคำถามบทที่ 4
หลักการของรีเลย์ป้องกัน

1. จงเขียนวงจรแสดงส่วนประกอบของระบบป้ องกัน
ตอบ
ส่วนประกอบของระบบป้องกันแสดงได้ดงั รูป

2. การตรวจจับการเกิ ด Fault ของรีเลย์มีกี่แบบ จงอธิ บาย


ตอบ
เนื่องจากขณะเกิด Fault ปริมาณกระแสจะเพิม่ ขึน้ และแรงดันจะมีขนาดลดลง การเปลีย่ นแปลง
ของกระแสและแรงดันจะส่งผลให้ปริมาณอื่นเปลีย่ นแปลงตามมา เช่น มุมเฟสของกระแสและแรงดัน ,
ส่วนประกอบฮาร์โมนิค , กำลังไฟฟ้าจริง ( Active Power ) , กำลังไฟฟ้ารีแอคตีฟ ( Reactive Power
) และความถีข่ องระบบเป็นต้น การทำงานของรีเลย์ป้ องกันจะใช้ปริมาณทางไฟฟ้าเหล่านี้เป็ นตัว
กระตุน้ ให้ทำงาน สามารถจำแนกได้ดงั นี้
1. การตรวจวัดระดับ ( Level Detection )
2. การเปรียบเทียบขนาด ( Magnitude Comparison )
3. การเปรียบเทียบความแตกต่างของกระแส ( Differential Current Comparison )
4. การเปรียบเทียบมุมเฟส ( Phase Angle Comparison )
5. ไพลอทรีเลย์ ( Pilot Relaying )
6. การตรวจจับฮาร์โมนิ ค ( Harmonic Content )
7. การตรวจจับความถี่ ( Frequency Sensing )
3. จงอธิ บายการตรวจวัดระดับ ( Level Detection ) ของรีเลย์ป้องกัน
ตอบ
2

รีเลย์ชนิดทีใ่ ช้ระดับของปริมาณต่างๆ ของระบบไฟฟ้า เช่น กระแส หรือ แรงดัน เป็ นตัว


กระตุน้ ให้ทำงาน ค่าทีเ่ ริม่ ให้รเี ลย์ทำงานเรียกว่า Pick up Value เช่น รีเลย์กระแสเกิน ( Overcurrent
Relay ) เมือ่ กระแสมีคา่ มากกว่าค่า Pick up รีเลย์จะทำงาน หรือรีเลย์แรงดันต่ำ ( Undervoltage
Relay ) เมือ่ แรงดันต่ำกว่าค่า Pick up รีเลย์จะทำงาน แต่ถา้ แรงดันสูงกว่าค่า Pick up รีเลย์จะไม่
ทำงาน

4. รีเลย์ป้องกันที่มีใช้ในปัจจุบนั มีกี่ชนิ ด
ตอบ
รีเลย์ทม่ี ใี ช้กนั อยู่ในปจั จุบนั สามารถแบ่งเป็ นชนิดต่างๆ ตามหลักการทำงานได้ 3 ชนิดคือ
- Electromechanical Relay คือ รีเลย์ทใ่ี ช้กระแสไฟฟ้า สร้างแรงดึงดูดหรือแรงบิดทางแม่
เหล็กทำให้เกิดการเคลื่อนทีท่ างกลของหน้าสัมผัส
- Solid State Relay คือ รีเลย์ทใ่ี ช้วงจร Electronics ของสารกึง่ ตัวนำมาจำลอง
- Digital Relay คือ รีเลย์ทอ่ี าศัย Digital Electronic มาใช้

5. จงอธิ บายหลักการของ Electromechanical Relay แบบ Induction


ตอบ
เป็ นรีเลย์แบบอาศัยการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าใช้มากในระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ( D.C.ใช้ไม่
ได้ ) รีเลย์แบบนี้ทำงานได้โดยใช้หลักการเดียวกับมอเตอร์เหนี่ยวนำ ( Induction Motor ) แรงบิดจะ
เกิด ขึน้ ในตัว นำซึง่ หมุน ได้ ตัว หมุน ( Rotor ) อาจเป็ น Disc หรือ Cup และต้อ งทำด้ว ย Non-
magnetic Material ซึง่ ส่วนมากจะเป็นอะลูมเิ นียมหรือ ทองแดง แรงบิด ทีเ่ กิดขึน้ จะแปรผันโดยตรง
ระหว่างสนามแม่เหล็กไฟฟ้าและ Eddy Current ซึง่ เกิดจากการเหนี่ยวนำบนตัวหมุนดังรูปที่ 4.7

6. ค่า Pick up ของ Relay คืออะไร จงอธิ บาย


ตอบ
ค่าทีป่ รับตัง้ (Setting) ให้ Relay เริม่ ทำงาน หมายความว่า ถ้ามีคา่ ต่ำกว่านี้ Relay จะยังไม่
ทำงานและถ้ามีคา่ สูงกว่านี้ Relay จะเริม่ ทำงาน ซึง่ อาจทำงานทันที่ Instantaneous หรือ มีการหน่วง
เวลา Time Delayed

7. จงอธิ บาย Solid State Relay


ตอบ
Solid State Relays หรือ Static Relays หน้าทีก่ ารทำงานและลักษณะสมบัตทิ ุกอย่างของรีเลย์
ไฟฟ้ า กลสามารถทำได้โ ดย Static Relays รีเ ลย์แ บบใหม่น ้ีใ ช้ว งจรอิเ ล็ก ทรอนิก ส์ซ ง่ึ อาจใช้
Discrete Components หรือ Integrated Circuits ( IC )
3

Static Relays ต้องการ Independent Power Supplies เนื่องจากไม่มพี ลังงานจากสปริงหรือ


แรงบิดจากกระแสผิดพร่อง จึงทำให้เกิดปญั หาเรือ่ ง Reliability
ลักษณะสมบัตขิ อง Static Relays สามารถปรับปรุงได้โดย Adjustable Logic Elements ผิดกับ
ลักษณะสมบัตทิ แ่ี น่นอน ( Fixed ) ของรีเลย์ไฟฟ้ากล

8. จงเขียนแผนภาพแสดงส่วนประกอบของ Digital Relay


ตอบ
จากการสังเกตพบว่ารีเลย์ป้ องกันมีลกั ษณะเหมือนกับ Analog Computer ซึง่ รับสัญญาณเข้า
ประมวลสัญญาณเหล่านัน้ แล้วสร้างเป็นแรงบิด หรือ Logic Output ซึง่ คือ System Quantity และ
ทำการตัดสินใจเพือ่ ให้ Contact ปิดหรือให้ Output Signal เมือ่ ได้มกี ารพัฒนา Microprocessors
ขึน้ จะเห็นได้วา่ Digital Computer ก็สามารถทำงานเป็ นรีเลย์ป้องกันได้ รีเลย์แบบใหม่น้ีจงึ เรียกว่า
Computer Relay หรือ Digital Relay

รูปที่ 4.14 แสดงแผนภาพ Digital Relay


แผนภาพของ Digital Relay โดยทัวไปแสดงดั
่ งรูปที่ 4.16 ซึง่ ประกอบด้วย
- Isolation Transformer
- Anti - Alias Filter
- Sample and Hold
- Multiplexer ( MUX )
- Analog to Digital Converter ( ADC )
- Microprocessor
4

- Memory Unit
- Keyboard and Display
- Data Communication Hardware

9. Anti - Alias Filter คืออะไร จงอธิ บาย


ตอบ
- เนื่องจากค่าทีไ่ ด้รบั จาก Isolation Transformer อาจมีสญ
ั ญาณรบกวน ( Noise ) อยู่ จึง
ต้องกรองสัญญาณรบกวนออกจากสัญญาณทีต่ อ้ งการ
- มีทงั ้ เป็นแบบ Analog และแบบ Digital
- อัตราการสุ่มสัญญาณ ( Sampling ) จะต้องไม่น้อยกว่า 2 เท่าของความถีส่ ญ ั ญาณทีถ่ กู
สุม่

10. Memory Unit ที่ใช้ใน Digital Relay มีแบบใดบ้าง จงอธิ บาย


ตอบ
ในการออกแบบ Hardware อาจใช้หน่วยความจำหลายแบบ แต่ละแบบจะมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี้
- RAM ( Random Access Memory ) หน่ว ยความจำแบบนี้จ ะจำ Input Sample Data
ก่อนและหลังการเกิด Fault เพือ่ การวิเคราะห์ภายหลัง แต่ Data ทีเ่ ก็บไว้ RAM จะหาย
ไปหมดเมือ่ ไฟดับ
- ROM ( Read Only Memory ) , PROM ( Programmable Read Only Memory ) ,
EPROM ( Erasable Programmable Read Only Memory ) หน่วยความจำเหล่านี้จะ
ใช้สำ หรับเก็บ Program อย่างถาวร EPROM ถูก ใช้ม ากทีส่ ดุ เพราะเป็ นแบบ User
Programmable กล่าวคือ ผูใ้ ช้สามารถ Set Program ได้
- EEPROM ( Electrical Erasable Programmable Read Only Memory ) หร อื Flash
Memory ข้อมูลทีถ่ ูกเก็บใน EEPROM สามารถเปลีย่ นแปลงได้โ ดยผูใ้ ช้ แต่เมือ่ Set
แล้วมันจะยังคงอยูแ่ ม้ไฟดับ

11. RS 232 และ RS 485 ที่ใช้ใน Digital Relay คืออะไร จงอธิ บาย
ตอบ
สายส่งระบบสือ่ สารทีใ่ ช้มากทีส่ ดุ ใน Digital Relay คือ RS 232 และ RS 485
- RS 232 ใช้กบั Series Port โดยความเร็วในการส่งข้อมูลจะน้อยกว่า 10 kbits/sec และ
ระยะทางของการใช้งานค่อนข้างสัน้
- RS 485 ใช้กบั Parallel Port ความเร็วในการส่งข้อมูลมีถงึ 10 Mbits/sec โดยระยะทาง
ไปได้ไกลและสามารถต่อกันได้ถงึ 32 Devices

12. วงจร Trip แบบ Series Sealing คืออะไร จงอธิ บาย


ตอบ
5

Series Sealing
ขดลวดของ Contactor ซึง่ ต่ออนุกรมกับ Contactor ของรีเลย์ป้องกัน จะรับกระแสเมือ่ Contact
ของรีเลย์ป้องกันปิด และ Contactor จะปิ ด Contact ของตัวเองขนานกับ Contact ของรีเลย์ การปิ ด
ของ Contactor นี้จะลดภาระของ Contact ของรีเลย์ไม่ให้ตอ้ งรับกระแสสูง ( กระแสจะผ่าน Contact
ของ Contactor แทน ) และจะทำให้ปิดวงจร Trip นี้อย่างมันคง ่ ถึงแม้ Contact ของรีเลย์จะไม่คอ่ ย
แน่น เวลาในการ Trip ทัง้ หมดจะไม่เพิม่ ขึน้ และตัวชีบ้ อกจะไม่ทำงานจนกว่ากระแสไหลผ่านขดลวด
Trip แล้วเท่านัน้
ข้อเสียของวิธนี ้คี อื ส่วนทีต่ ่ออนุกรมจะต้องมีขดลวดซึง่ พอเหมาะ ( Matched ) กันกับวงจร Trip
ทีต่ ่ออยูด่ ว้ ย
ขดลวดของ Contactor ประเภทนี้ตอ้ งมี Impedance ต่ำ คือจะต้องมีแรงดันตกคร่อมขดลวด
ประมาณ 5% ของแรงดันในวงจร
เมือ่ ใช้รว่ มกับรีเลย์ทม่ี คี วามเร็วสูง ( High Speed Trip Relay ) ซึง่ ตามปกติจะปิ ด Contact ครู่
หนึ่งแล้วจะตัดกระแสของตัวเอง Contactor จะต้องเร็วพอทีจ่ ะทำงาน ( ปิ ด Contact ของตัว ) และ
บังคับตัวชีบ้ อกให้ทำงานก่อนทีก่ ระแสในขดลวดของตัวจะถูกตัด ลักษณะเช่นนี้อาจทำให้เกิดปญั หาใน
การออกแบบถ้าในกรณีท่ี Contactor หลายตัวต้องทำงานขนานกันเพือ่ บังคับรีเลย์ Trip ตัวเดียวกัน

PR 52A
+ TC -

ก .แ บ บ S ir ie s S e a lin g

รูปที่ 1 วงจร Trip ของรีเลย์


PR 52A
13. จงเขี
+
ยน Supervision ของ Trip Circuit ของ Circuit Breaker -
TC
ตอบ
วงจรทริพนี้จะต่อผ่านอุปกรณ์หลายชิน้ คือ นอกจากตัวรีเลย์เองแล้วยังอาจจะต่อผ่านฟิวส์ , สาย
, Contact, สวิตช์ และอื่นๆ และในบางกรณีวงจรจะใช้สายยาวมาก โดยมีจุดเชือ่ มหลายแห่ง ด้วยเหตุ
เหล่านี้ประกอบกับความสำคัญของวงจรทริ พ จึงต้องมีการควบคุมดูแลวงจรนี้ให้ทำงานเป็ นปกติ โดย
ข . แ บ บ S h u n t R e a in f o r c in g
การควบคุมดูแลมี 3 แบบคือ

แบบที่ 1. การควบคุมดูแล ขณะที่ Circuit Breaker ปิดอยู่


การควบคุมแบบนีP ้จR ดั เป็นการควบคุมดูแลทีง่ า่ ยทีส่ ดุ ทำโดยติ5ด2หลอดไฟเข้
A าไปหลอดหนึ่ง ดังรูป

ที่ 2.1 +ความต้านทานทีต่ ่ออนุกรมกับหลอดไฟมีไว้เพือ่ ปองกันไม่ให้ CB ทริพเมือ่ มีT กC ารลัดวงจรภายใน
-
เนื่องจากเหตุขดั ข้องของหลอดวิธนี ้ีใช้ได้เมือ่ CB ปิดอยู่

ค . แ บ บ S h u n t R e in f o r c in g W it h s e r ie s S e a lin g
6

รูปที่ 2.1 การควบคุมดูแลขณะ CB ปิดอยู่

แบบที่ 2. การควบคุมดูแล ขณะที่ Circuit Breaker ปิดหรือเปิ ดอยู่


จากรูปที่ 2.2 จะเพิม่ สวิทช์ชว่ ยแบบปิ ดเข้าไปอีกตัวหนึ่งพร้อมความต้านทานเพือ่ ควบคุมได้ทงั ้
เวลาที่ CB ปิดหรือเปิด

รูปที่ 2.2 การควบคุมดูแลขณะที่ CB ปิดหรือเปิ ดอยู่

โดยทัง้ แบบที่ 1 และ 2 จะเพิม่ สวิท ช์แบบปุม่ กด โดยต่ออนุ กรมกับหลอดไฟเพือ่ กดดูเ ฉพาะเวลา
ต้องการเท่านัน้ และทัง้ 2 แบบนี้ใช้ได้เฉพาะกรณีทอ่ี ยูใ่ นสถานีจา่ ยไฟย่อยหรือจุดทีม่ กี ารควบคุมดูแล
โดยตรง ในกรณีทส่ี งการมาจากที
ั่ ั ญาณส่งไปโดยใช้รเี ลย์ แทนทีจ่ ะเป็ นหลอดไฟ ดังรูปที่
อ่ ่นื ต้องมีสญ
2.3
แบบที่ 3. การควบคุมดูแล ขณะที่ Circuit Breaker ปิดหรือเปิ ดอยู่ โดยมีส ญ ั ญาณเตือนภัย
ระยะไกล
7

เมือ่ วงจรยังอยู่ในสภาพใช้งาน รีเลย์ A หรือ B หรือทัง้ สองจะไปหล่อเลีย้ งรีเลย์ C และสัญญาณ


เตือนภัยจะไม่มสี ญ ั ญาณนี้จะมีได้เมือ่ รีเลย์ A และ B ไม่ทำงาน ปกติรเี ลย์ A และ C จะถ่วงเวลาไว้
ต่างกัน เพือ่ ไม่ให้เกิดสัญญาณเตือนภัยผิดในระหว่างการเปิ ด หรือปิ ดวงจร

รูปที่ 2.3 การควบคุมดูแลขณะที่ CB ปิ ดหรือเปิ ดอยูโ่ ดยมีสญ


ั ญาณเตือนภัยระยะไกล

14. จงยกตัวอย่างรีเลย์ที่นิยมใช้มา 5 อย่าง


ตอบ
- Overcurrent Relay ( 50,51 )
รีเลย์กระแสเกินเป็นรีเลย์ป้องกันกระแสเกินทีเ่ กิดจากการลัดวงจรในระบบไฟฟ้ากำลังในสถาน
ประกอบ การทุกแบบ เช่น สถานีไฟฟ้าย่อย โรงงานอุตสาหกรรมและอาคารขนาดใหญ่ มีทงั ้ ชนิด
Electromechanical Relay และ Static Relay รีเลย์ชนิดนี้จะทำงานเมือ่ มีกระแสเกินค่าทีกำ
่ หนดไว้
คือค่า Pick up โดยในเวลาการทำงานอาจจะทำงานทันทีในเวลา 10ms-40ms เรียกว่า แบบ
Instantaneous Overcurrent Relay ( 50 ) หรือทำงานโดยมีการหน่ วงเวลา เรียกว่า Time Delay
Overcurrent Relay ( 51 )

- Overcurrent Ground Relay ( 50N,51N )


ในระบบไฟฟ้าทัวไปเพื
่ อ่ ความปลอดภัยแล้วจะมีการต่อลงดินเพือ่ จำกัดกระแสผิดพร่องลงดิน
โดยเฉพาะการต่อลงดินผ่านความต้านทานจะทำให้กระแสผิดพร่องลงดินมีขนาดลดลง ดังนัน้ รีเลย์
กระแสเกินปกติจะไม่สามารถตรวจจับกระแสผิดพร่องลงดินได้ เราจึงต้องมีรเี ลย์ป้ องกันกระแสลงดิน
ซึง่ จะต้องมีความไวสูง สามารถตรวจจับกระแสผิดพร่องขนาดเล็กได้

- Directional O/C Relay ( 67,67N )


8

ในระบบไฟฟ้ า ทีม่ แี หล่ง จ่า ยไฟมากกว่า หนึ่ง แหล่ง (Multiple Sources) หรือ ทีม่ วี งจรเป็ น
Loop เมือ่ เกิดผิดพร่องขึน้ ณ จุดใดๆ จะมีกระแสผิดพร่องมากกว่าหนึ่ง ทาง การใช้รเี ลย์กระแสเกิน
แบบธรรมดา (ไม่มที ศิ ทาง) จะไม่สามารถจัดให้ทำ งานประสานกันได้ จำเป็ นจะต้องใช้รเี ลย์แบบที่
สามารถตรวจจับทิศทางของกระแสผิดพร่องได้

- Reverse Power Relay ( 32 )


รีเลย์แบบนี้จะสามารถตรวจจับทิศทางการไหลของกำลังไฟฟ้าได้ เช่น ใช้ป้องกันกำลังไฟฟ้า
ไหลออกมาจากระบบไฟฟ้ าของสถานประกอบการทีม่ เี ครือ่ งกำเนิดไฟฟ้ าต่อขนานกับระบบของ
ทางการไฟฟ้า เข้าสูร่ ะบบของการไฟฟ้ าฯ หรือบางครัง้ อาจใช้ประโยชน์เป็ นรีเลย์ป้ องกันกำลังตก
( Underpower Relay ) คือถ้าเกิดกำลังตกถึงค่าๆ หนึ่ง ทีกำ
่ หนดไว้จะสังให้
่ แยกระบบ 2 ระบบออก
จากกัน

- Distance Power Relay ( 21 )


คือรีเลย์ทส่ี ามารถวัดค่า Impedance ของจุดทีเ่ กิดการผิดพร่องจนถึงจุดทีต่ ดิ ตัง้ CT และ VT
โดยจะต้องวัดค่ากระแสและแรงดันแล้ว นำมาหาอัตราส่วน เพือ่ หาค่า Impedance ถ้าค่า Impedance
ของสายส่งต่อความยาวมีคา่ สม่ำเสมอแล้ว ค่า Impedance จะเป็ นสัดส่วนกับระยะทาง ดังนัน้ รีเลย์
ชนิดนี้จงึ เรียกว่ารีเลย์ระยะทาง โดยจะทำงานเมือ่ การผิดพร่องทีเ่ กิดขึน้ อยู่ในระยะทางทีกำ
่ หนดไว้

15. จงอธิ บายการใช้งานของรีเลย์ต่อไปนี้


- Phase Directional Overcurrent Relay ( 67 )
- Distance Relay ( 21 )
- Differential Relay ( 87 )
- Synchronism Check and Synchronizing Relay ( 25 )
- Undervoltage Relay ( 27 )
ตอบ
- Phase Directional Overcurrent Relay ( 67 )
ในระบบไฟฟ้ า ทีม่ แี หล่ง จ่า ยไฟมากกว่า หนึ่ง แหล่ง (Multiple Sources) หรือ ทีม่ วี งจรเป็ น
Loop เมือ่ เกิดผิดพร่องขึน้ ณ จุดใดๆ จะมีกระแสผิดพร่องมากกว่าหนึ่ง ทาง การใช้รเี ลย์กระแสเกิน
แบบธรรมดา (ไม่มที ศิ ทาง) จะไม่สามารถจัดให้ทำ งานประสานกันได้ จำเป็ นจะต้องใช้รเี ลย์แบบที่
สามารถตรวจจับทิศทางของกระแสผิดพร่องได้ ซึง่ คือ
Phase Directional Overcurrent Relay ( 67 )

- Distance Relay ( 21 )
คือรีเลย์ทส่ี ามารถวัดค่า Impedance ของจุดทีเ่ กิดการผิดพร่องจนถึงจุดทีต่ ดิ ตัง้ CT และ VT
โดยจะต้องวัดค่ากระแสและแรงดันแล้ว นำมาหาอัตราส่วน เพือ่ หาค่า Impedance ถ้าค่า Impedance
ของสายส่งต่อความยาวมีคา่ สม่ำเสมอแล้ว ค่า Impedance จะเป็ นสัดส่วนกับระยะทาง ดังนัน้ รีเลย์
ชนิดนี้จงึ เรียกว่ารีเลย์ระยะทาง โดยจะทำงานเมือ่ การผิดพร่องทีเ่ กิดขึน้ อยู่ในระยะทางทีกำ
่ หนดไว้
9

- Differential Relay ( 87 )
เป็ นรีเลย์ทม่ี คี วามไวมากทีส่ ดุ สามารถตรวจจับกระแสผิดพร่องได้ แม้จะมีขนาดเล็ก เราใช้รเี ลย์
ประเภทนี้ในการป้องกันการผิดพร่องภายในอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ได้แก่ มอเตอร์ , เครือ่ งกำเนิดไฟฟ้า
และ หม้อแปลงไฟฟ้า การทำงานของรีเลย์ประเภทนี้จะใช้ CT ต่อทีว่ งจรด้านหน้าและด้านหลังของ
อุปกรณ์ไฟฟ้า การต่อขัว้ ของ CT จะต้องถูกต้องเพือ่ ให้มกี ระแสผลต่างผ่านรีเลย์ ในภาวะปกติ หรือ
เกิดการผิดพร่องนอกเขตป้องกัน จะไม่มคี า่ กระแสผลต่าง แต่ถา้ เกิดการผิดพร่องในเขตป้ องกัน จะมี
ค่ากระแสผลต่างเกิดขึน้ ดังนัน้ การตัง้ ค่า Pick up จึงสามารถตัง้ ค่าต่ำๆ ได้ ทำให้รเี ลย์ประเภทนี้ม ี
ความไวสูง

- Synchronism Check and Synchronizing Relay ( 25 )


Synchronism Check Relay ใช้เพือ่ ตรวจสอบวงจรสองวงจรมีความถีแ่ ละมุมเฟสของแรงดัน
ตามทีกำ
่ หนดให้หรือไม่ เพือ่ ทีจ่ ะนำสองวงจรมาต่อขนานกัน รีเลย์พวกนี้จะใช้ในการสวิตช์ชงิ่ ระบบที่
จะนำมาขนานกัน โดยจะเป็นตัวคอยตรวจว่าแหล่งจ่ายไฟสองแหล่งมีความแตกต่างของแรงดันหรือ
ความแตกต่างของมุมเฟสมากเกินไป จนไม่สามารถยอมรับได้หรือไม่
Synchronizing Relay ใช้ในระบบสองระบบทีจ่ ะนำมาต่อกันอย่างอัตโนมัต ิ โดยจะเป็ นตัว
ตรวจดูความต่าง เฟส , ความต่อของความถี่ , ความต่างของแรงดัน อยูใ่ นเกณฑ์ทจ่ี ะต่อกันได้หรือไม่
เช่น โรงงานแห่งหนึ่งสามารถผลิตไฟฟ้าใช้เองได้ตอ้ งการนำมาต่อขนาดเข้ากับระบบของการไฟฟ้าที่
ปลายสายของ Tie Line ของการไฟฟ้ าจะต้องมีSynchronizing Relay ซึง่ จะตรวจเงือ่ นไขและจะ
ทำการต่อกันในเงือ่ นไขทีเ่ หมาะสม

- Undervoltage Relay ( 27 )
- ควบคุมการทำงานของ Capacitor
- ป้องกันการเกิดแรงดันเกินของเครือ่ งกำเนิดไฟฟ้า
- ส่งผ่านแหล่งจ่ายกำลังโดยอัตโนมัติ
- มีการตัด Load เมือ่ แรงดันตก
- ป้องกันการเกิดแรงดันตกสำหรับ Motor

คำถามเพิ ม่ เติ ม

1. จงอธิ บายหลักการของ Electromechanical Relay แบบ Electromagnetic Attraction


ตอบ
เป็ น รีเ ลย์ท อ่ี าศัย แรงดูด แม่เ หล็ก ไฟฟ้ า โดยแรงบิด ทีด่ ดู ส่ว นเคลื่อ นทีข่ องรีเ ลย์จ ะเป็ น
แปรผันโดยตรงกับกระแสทีไ่ หลผ่านขดลวดกำลังสอง ถ้ากระแสไหลผ่านขดลวดมากกว่าทีกำ ่ หนด จะ
ทำให้เกิดแรงมากกว่าแรงกลทีเ่ หนี่ยวรัง้ โดยสปริง ส่งผลให้รเี ลย์เปลีย่ นสถานะ

2. สัญลักษณ์ของรีเลย์ตามมาตรฐานของ ANSI คืออะไร


ตอบ
10

มาตรฐาน ANSI จะใช้ Device Number


- O/C Relay ( Overcurrent Relay ) ใช้สญ ั ลักษณ์เป็ น 50 ( Instantaneous Overcurrent
Relay ) และ 51 ( AC Time Overcurrent Relay )
- Directional Phase and Earth Relay ใช้สญ ั ลักษณ์เป็ น 67N
- Differential Relay ใช้สญ
ั ลักษณ์เป็ น 87
- UV Relay ( Undervoltage Relay ) ใช้สญ ั ลักษณ์เป็ น 27
- OV Relay ( Overvoltage Relay ) ใช้สญ ั ลักษณ์เป็ น 59

I>

I

IN >

Ii >

I
3. มาตรฐาน IEC ให้ชื่อรีเลย์อย่างไร จงอธิ บาย
ตอบ
ใIห้ชอ่ื รีเลย์ตามสัญลักษณ์ ดังนี้
มาตรฐาน IEC ได้

IN
Overcurrent Protection
U<
Current Directional Protection
>f > Zero Sequence Overcurrnet Protection

U> Negative Phase Sequence Component Protection

P Thermal Image

Differential Protection
Q
Earth Fault Differential Protection
UN >
11

Undervoltage Protection

Maximum and Minimum Frequency Protection

Overvoltage Protection

Active Reverse Power Protection

Reactive Reverse Power Protection

Zero Sequence Overvoltage

Buchholz

4. จงอธิ บายหลักการทำงานของ
- Current Differential Relay
ตอบ
โดยหลักการจะอาศัยการเปรียบเทียบความแตกต่างของกระแสสามารถอธิบายได้ดงั ในรูป ที่ 3
เป็ นขดลวดของอุปกรณ์ไฟฟ้า มี CT แปลงกระแสทางเข้าและออกของขดลวด โดยจัดขัว้ ของ CT ให้
ได้กระแสผลต่าง ( I 1  I 2 ) ผ่านเข้าไปยังรีเลย์ ในการทำงานปกติกระแสเข้าและออกจากขดลวดจะ
เท่ากัน ทำให้กระแสผลต่างผ่านรีเลย์มคี า่ เป็ นศูนย์ รีเลย์จะไม่ทำงาน แต่ถา้ มีการผิดพร่องเกิดขึน้ ทีข่ ด
ลวด จะทำให้กระแสเข้าไม่เท่ากับกระแสออก เกิดกระแสผลต่างขึน้ ทำให้รเี ลย์ทำงาน รีเลย์ทใ่ี ช้น้ีจะ
สามารถตัง้ ค่ากระแส Pick up ต่ำ ๆ ได้ ทำให้มคี วามไวสูง การป้องกันแบบนี้มกั ใช้กบั อุปกรณ์ไฟฟ้ า
ต่างๆ เช่น เครือ่ งกำเนิดไฟฟ้า , มอเตอร์ , บัส และหม้อแปลงไฟฟ้า เป็ นต้น
12

รูปที่ 3 การเปรียบเทียบกระแสผลต่าง ( Differential Current Comparison )

- Percentage Differential Relay


ตอบ
รีเ ลย์ช นิด นี้จ ะมีข ดลวด 2 ชุด คือ Operating Coil และ Restraining Coil ดัง รูป ที่ 4.1 โดย
กระแสทีผ่ ่าน Operating Coil คือ ผลต่างกระแส I 2  I 1 ส่วนกระแสทีไ่ หลผ่าน Restraining Coil
I1  I 2
คือ กระแส โดยจะส่งผลให้มคี วามไวสูงเมือ่ การผิดพร่องอยูใ่ น Zone of Protection และมี
2
ความไวต่ำเมือ่ การผิดพร่องอยูน่ อก Zone of Protection ดังนัน้ จึงป้องกันการทำงานผิดพลาดของ
CT ได้ โดยลักษณะสมบัตแิ สดงดังรูปที่ 4.2 และ 4.3

รูปที่ 4.1 Percentage Differential Relay

รูปที่ 4.2 ลักษณะสมบัติ Fixed Percentage Relay


13

รูปที่ 4.3 ลักษณะสมบัติ Variable Percentage Relay

I I
จากรูปที่ 4.2 เมือ่ เกิดการผิดพร่องนอก Zone of Protection ค่า 1 2 จะมีคา่ สูงจากกราฟ
2
I 
เห็นว่าค่า 2 1 จะมีคา่ สูงด้วย ดังนัน้ รีเลย์จงึ มีความไวต่ำ โดยจะสามารถปรับค่า Percentage ได้
I
ซึง่ ก็คอื การปรับค่าความชันของเส้นกราฟนันเอง ่ ค่า Percentage สูง ก็คอื กราฟทีม่ คี วามชันสูง จะ
ทำให้บริเวณทำงาน ( Operating Zone ) น้อยลงนันคื ่ อรีเลย์จะมีความไวน้อยลงนันเอง ่ โดยลักษณะ
การทำงานเป็นแบบเส้นตรงในรูป ที่ 4.2 เรียกว่า Fixed Percentage Relay ส่วนรูป ที่ 4.3 เรียกว่า
I I
Variable Percentage Relay ซึง่ จะเห็นได้วา่ มีคณ ุ สมบัต ทิ ด่ี กี ว่า คือเมือ่ 1 2 มีคา่ สูง รีเลย์จะมี
2
I 1  I2
ความไวต่ำกว่า และเมือ่ มีคา่ ต่ำ รีเลย์จะมีความไวสูง
2

You might also like