You are on page 1of 16

1

เฉลยคำถามบทที่ 9
การป้ องกันหม้อแปลง

1. ความผิ ดปกติ ที่อาจเกิ ดกับหม้อแปลงมีอะไรบ้าง จงอธิ บาย


ตอบ
ผลของความผิดพร่องในหม้อแปลงไฟฟ้า นอกจากจะถูกจำกัดโดย แหล่งจ่าย (Souse) และอิม
พีแดนซ์ทต่ี ่อจากจุดศูนย์ลงดิน แล้วยังขึน้ อยูก่ บั ค่าของรีแอคแตนซ์รวไหล
ั่ ของหม้อแปลง รวมทัง้ แรง
ดันทีจ่ ุดลัดวงจร ซึง่ ขึน้ อยูว่ า่ ความผิดพร่องเกิดขึน้ ในตำแหน่งใดของขดลวดตัวนำของหม้อแปลง
ลักษณะดังกล่าวจะแตกต่างกันออกไป แล้วแต่การต่อขอลวดตัวนำของหม้อแปลง ซึง่ พิจรณาได้ดงั นี้
( 1 ) หม้อแปลงต่อแบบ Y และต่อจุดกลาง ( Neutral ) ลงดินผ่านอิมพิแดนซ์
( 2 ) หม้อแปลงต่อแบบ Y และต่อจุดกลาง ( Neutral ) ลงดินโดยตรง
( 3 ) หม้อแปลงต่อแบบ 
( 4 ) การลัดวงจรระหว่างเฟส ( Phase-to-Phase Faults )
( 5 ) การลัดวงจรระหว่างรอบของขดลวด ( Interturn Faults )
( 6 ) การลัดวงจรทีแ่ กนเหล็กของหม้อแปลง ( Core Faults )
( 7 ) ความผิดปกติทถ่ี งั หม้อแปลง ( Tank Faults )
( 8 ) จากสาเหตุภายนอก
( 9 ) กระแสพุง่ เข้า ( Inrush Current )

2. Internal Fault ของหม้อแปลงมีอะไรบ้าง


ตอบ
ในหม้อแปลงแรงดันต่ำมักไม่คอ่ ยเกิดการชำรุดเสียหายของฉนวนระหว่างรอบของขดลวด
ตัวนำ เว้นแต่วา่ จะเกิดมีความเค้นทางกล ( Stress ) อย่างรุนแรงเนื่องจากการลัดวงจรภายนอกทำให้
ฉนวนแตกหรือแยกตัว ถ้ามีความชืน้ เข้าไปปนอยูใ่ นน้ำมันก็อาจจะทำให้การฉนวนเสือ่ มลงได้
สำหรับหม้อแปลงแรงดันสูงซึง่ ต่ออยูก่ บั สายส่งแรงดันสูงแบบขึงสายในอากาศจะมีโอกาสถูกแรง
ดันแบบอิมพัลซ์ ( Impulse Voltage ) ซึง่ สูงชัน แรงดันนี้มขี นาดค่ายอดเป็ นหลายเท่าของแรงดัน
กำหนดของระบบ ( Rated System Voltage ) แรงดันแบบอิมพัลซ์ทเ่ี กิดกับสายส่งจะมีผลมากต่อขด
ลวดทีอ่ ยูต่ รงปลายของชุดขดลวดตัวนำซึง่ เป็ นตำแหน่งแรกทีแ่ รงดันอิมพัลซ์เข้ามากระทบ การฉนวน
ของขดลวดส่วนทีอ่ ยูท่ างด้านปลายนี้จะมีการเสริมให้มากขึน้ แต่กไ็ ม่สามารถทำให้สงู เหมือนการฉนวน
กับดินซึง่ มีคา่ สูงได้ ดังนัน้ จึงมีโอกาสเกิดลัดวงจรบางส่วนในขดลวดตัวนำ ( Winding Partial Flash-
Over ) ได้มากกว่าทีจ่ ะเกิดการลัดวงจรลงดิน จากสถิตพิ บว่าความเสียหาย ( Failure ) ของหม้อแปลง
จะเกิดขึน้ จากการลัดวงจรระหว่างรอบของขดลวดเสียเป็ นส่วนใหญ่ประมาณ 70-80 % ในบางครัง้ เรา
ก็ไม่สามารถหาสาเหตุได้แน่นอนว่าเป็นการลัดวงจรระหว่างรอบของขดลวดเนื่องจากการลัดวงจรได้
ลุกลามไปมากแล้ว
การลัดวงจรระหว่างวงรอบของขดลวดไม่กร่ี อบจะทำให้เกิดกระแสสูงขึน้ ในวงรอบทีเ่ กิดการ
ลัดวงจรนัน้ แต่เนื่องจากอัตราการแปลงซึง่ มีคา่ สูง่ ระหว่างขดลวดตัวนำทัง้ ขดและขดทีเ่ กิดการลัดวงจร
ร ะ ห ว า่ ง ร อ บ ข น้ึ ทำ ใ ห ก้ ร ะ แ ส ท อ่ี อ ก จ า ก ข วั ้ ข อ ง ห ม อ้ แ ป ล ง จ ะ ม คี า่ น ้อ ย
2

รูปที่ 9.3 จะแสดงค่าของกระแสลัดวงจร และกระแสทางด้าน Primary ( I P ) ของหม้อแปลงซึง่


มีคา่ อิมพิแดนซ์ปกติ ( Normal Through Impedance ) 3.25 % โดยการลัดวงจรระหว่างรอบของขด
ลวดเกิดขึน้ ทีตำ่ แหน่งกลางของขดลวดตัวนำ

รูปที่ 9.3 กระแสลัดวงจรระหว่างวงรอบของขดลวด ( Interturn Fault Current )

3. External Fault ของหม้อแปลงมีอะไรบ้าง


ตอบ
สาเหตุทจ่ี ะทำให้เกิดความเค้นอย่างรุนแรงเนื่องมาจากเหตุภายนอกมีดงั นี้
(1) การจ่ายโหลดเกินขนาด
(2) การลัดวงจรในระบบ
(3) แรงดันสูงเกินไป
(4) ความถีข่ องระบบลดต่ำลง

4. การป้ องกันหม้อแปลงที่ สำคัญๆ มีอะไรบ้าง


ตอบ
- การป้องกันความร้อนสูงเกินไป ( Overheating Protection )
- การป้องกันฟลักซ์สงู เกินไป ( Overfluxing Protection )
- การป้องกันไฟรัวลงถั
่ งหม้อแปลง ( Leakage to Frame Protection )
- การป้องกันโดยการตรวจก๊าซ ( Gas Detection Protection )
- การป้องกันกระแสเกิน ( Overcurrent Protection )
- การป้องกันการลัดวงจรลงดิน ( Earth Fault Protection )
3

- การป้องกันแบบผลต่าง ( Differential Protection )

5. การป้ องกันความร้อนสูงเกิ นไปของหม้อแปลงทำได้อย่างไร


ตอบ
ความร้อนสูงในหม้อแปลงป้ องกันโดยวิธ ี Thermal Image Technique ซึง่ จะตรวจจับอุณหภูม ิ
ในขดลวดใช้งานร่วมกับ Alarm และ Trip Contacts อีกวิธคี อื การตรวจจับอุณหภูมแิ บบ Silistor
ทีไ่ ด้สญ
ั ญาณจากความไม่สมดุลของบริดจ์มาขับอุปกรณ์แสดงผล โดยใช้แรงดันตกคร่อม Silistor
ควบคุม Cooling Pumps , พัดลม , สัญญาณเตือนความร้อนเกิน และทริปหม้อแปลง

6. Overfluxing Protection ของหม้อแปลงทำได้อย่างไร


ตอบ
ป้องกันโดยการตรวจจับค่าแรงดันของระบบทีว่ ดั ผ่านหม้อแปลงแรงดัน แล้ว นำมาต่อคร่อม
ความต้านทาน จะทำให้มกี ระแส ซึง่ มีคา่ ขึน้ กับแรงดันนัน้ เมือ่ ให้กระแสนี้ผา่ นตัวเก็บประจุ จะทำให้
เกิดแรงดันไฟฟ้าตกซึง่ มีคา่ ขึน้ กับอัตราส่วน E/f ซึง่ ก็หมายถึงมีคา่ ขึน้ อยูก่ บั ฟลักซ์ในหม้อแปลง ส่วน
การจัดการกับความผิดปกติทเ่ี กิดขึน้ มักจะใช้หน่ วยทีใ่ ห้ผลตอบสนอง ซึง่ ถ่วงเวลาไว้ 2 หน่วย และมี
หลายคอนแทคเตอร์ ตัวควบคุมเวลาตัวแรกอาจตัง้ เวลาไว้ระหว่าง 2-5 วินาที เพือ่ ปิ ดคอนแทคควบคุม
ให้ไปแก้ไขสภาพผิดปกติดงั กล่าว เช่น ลดแรงดันลง ถ้าแรงดันสูงเกินไป ส่วนตัวควบคุมเวลาตัวทีส่ อง
จะเป็ นตัวทริพหม้อแปลงโดยถ่วงเวลาไว้ระหว่าง 5-30 วินาที ถ้าสภาพดังกล่าวยังคงมีอยูก่ จ็ ะสังตั ่ ด
หม้อแปลงออกจากระบบ

7. Gas Detection Protection ของหม้อแปลงทำได้อย่างไร


ตอบ
เนื่องจากการลัดวงจรในหม้อแปลงน้ำมันทำให้น้ำมันแยกตัวเป็ นก๊าซ ถ้ามีการอารค์อย่างรุนแรง
จะเกิดแรงดันของก๊าซสูง ซึง่ สามารถตรวจจับโดยใช้อุปกรณ์ดงั นี้
- บุคโฮลซ์รีเลย์ ( Buchholz Relays )
ใช้กบั หม้อแปลงทีม่ ถี งั เก็บน้ำมัน ( Conservator ) มีหลักการทำงานโดยเมื่อเกิดฟอลต์หรือการ
รัวของน้ำมั
่ น ปริมาณก๊าซมากขึน้ ทำให้ระดับน้ำมันลดลงถึง จุดทีกำ ่ หนด ลูกลอยน้ำมันจะสวิท ช์
สัญญาณเตือนในกรณีทเ่ี กิดฟอลต์รุนแรงน้ำมันทีถ่ กู ดันมาตามท่อจะดันแผ่นโค้งทีข่ วางทำให้สวิทช์ปิด
วงจรสังเบรกเกอร์
่ ทริพ
4

รูปที่ 1 หลักการทำงานของ Buchholz Relays

- รีเลย์วดั ความดันเปลี่ยนแปลงกระทันหัน ( Sudden Pressure Relays )


ใช้กบั หม้อแปลงทีไ่ ม่มถี งั เก็บน้ำมัน มีหลักการทำงานคือ ในภาวะปกติความดันทัง้ สองข้างเท่า
กันเมือ่ เกิดความผิดปกติ ความดันหม้อแปลงทีส่ งู กว่าจะดันไดอะแฟรมไปปิ ดคอนแทคเพือ่ ทริพวงจร

รูปที่ 2 หลักการทำงานของรีเลย์วดั ความดันเปลีย่ นแปลงกระทันหัน


8. Overcurrent Protection ของหม้อแปลงทำได้อย่างไร
ตอบ
การป้องกันกระแสเกินจะใช้ฟิวส์ป้องกันหม้อแปลงขนาดเล็ก ซึง่ ฟิวส์ทำงานเร็วเมือ่ กระแสสูง
แต่จะทำงานช้าถ้ากระแสต่ำกว่า 3 เท่าของกระแสทีกำ
่ หนด ในหม้อแปลงขนาดใหญ่จะใช้รเี ลย์กระแส
เกินเพราะสามารถทำงานได้เร็วในช่วงกระแสลัดวงจรต่ำ และป้องกันการจ่ายกระแสเกินขนาดได้ รีเลย์
กระแสเกินจะทำงานเมือ่ มีกระแสผ่านถึงค่าทีกำ
่ หนดไว้
5

รูปที่ 3 การป้องกันหม้อแปลงโดยใช้รเี ลย์กระแสเกินขนาด

9. การป้ องกันแรงดันเกิ นของหม้อแปลงทำได้อย่างไร


ตอบ
แรงดันสูงเกินขนาดมี 2 ประเภทได้แก่ แรงดันเซิจในช่วงเปลีย่ นแปลง และแรงดันสูงเกินขนาด
ทีม่ คี วามถีป่ กติ
การป้ องกันแรงดันเกินแบบเซิจ ทำได้โดยใช้อุปกรณ์เบีย่ งเบนแรงดันเซิจ หรืออุป กรณ์หยุด
ฟ้ า ผ่า ซึง่ ประกอบด้ว ยช่อ งว่า งเล็ก ๆ เรีย งกัน อยูเ่ ป็ น ชุด และต่อ กับ ความต้า นทานแบบมีค า่
เปลีย่ นแปลง ( Non-linear Resistor ) หรืออุปกรณ์เบีย่ งเบนลงดิน ขนานกับขดลวดตัวนำปฐมภูม ิ เมือ่
เกิดแรงดันสูงจะช่วยให้กระแสลัดลงดิน เป็ นการป้ องกันอันตรายไม่ให้เกิดกับขดลวดรอบแรกๆ ของ
หม้อแปลง
ส่ว นการป้ อ งกัน แรงดัน สูง เกิน ขนาดทีม่ คี วามถีป่ กติ จะใช้ Volt/Hz Relay ซึง่ จะตรวจจับ
อัตราส่วน E/f ถ้ามีคา่ มากกว่า 1.1 ก็จะทำการตัดวงจร แต่ถา้ อัตราส่วน E/f น้อยกว่า 1.1 ก็จะทำงาน
ต่อไป

10. การป้ องกันกระแสลัดวงจรลงดิ นในหม้อแปลงทำได้อย่างไร


ตอบ
6

- การป้องกันแบบสมดุล หรือการป้ องกันการลัดวงจรลงดินแบบจำกัดบริเวณ สำหรับขด


ลวดเดลต้า หรือขดลวดสตาร์ทไ่ี ม่มกี ารต่อลงดิน จะต่อหม้อแปลงกระแสแบบ Residual
Connection รีเลย์จะทำงานสำหรับการลัดวงจรลงดินภายในเท่านัน้ ดังรูปที่ 4

รูปที่ 4 การป้องกันหม้อแปลงเฉพาะการลัดวงจรลงดิน

สำหรับขดลวดสตาร์ทต่ี ่อลงดิน นอกจากต่อหม้อแปลงกระแสทีส่ ายส่งแล้ว ยังต้องต่อขนานกับ


หม้อแปลงกระแสทีต่ ่ออยูก่ บั สายกลางของหม้อแปลง

รูปที่ 5 การป้องกันการลัดวงจรลงดินแบบจำกัดบริเวณ

- การป้องกันการลัดวงจรลงดินแบบไม่จำ กัดบริเวณ หรือการป้ องกันการลัดวงจรลงดิน


แบบสำรองจะต่อหม้อแปลงกระแสทีจ่ ุดทีต่ ่อลงดิน โดยใช้รเี ลย์แบบผกผัน หรือแบบเวลา
คงตัว
7

11. จงเขียนวงจรการป้ องกันการลัดวงจรลงดิ นแบบจำกัดบริ เวณ


ตอบ

รูปที่ 5 การป้องกันการลัดวงจรลงดินแบบจำกัดบริเวณ

12. การใช้ Differential Relay ในการป้ องกันหม้อแปลง จะต้องพิ จารณาอะไรบ้าง


ตอบ
การใช้ Differential Relay มีขอ้ พิจารณาดังนี้
i. กระแสหล่อเลีย้ งสนามแม่เหล็กพุ่งเข้า
ขณะสับสวิทช์จา่ ยไฟให้หม้อแปลง กระแสพุง่ เข้าซึง่ มีขนาดค่ายอดเป็ น 8 เท่าของกระแส
พิกดั ซึง่ ระบบป้องกันแบบวัดค่าผลต่างจะเห็นเป็ นการลัดวงจร วิธแี ก้ป ญั หานี้โดยลดขนาดกระแสพุง่
เข้าเช่น การต่อความต้านทานอนุกรมกับวงจร ฯลฯ
ii. อัตราส่วนการแปลง
การใช้งานรีเลย์แบบวัดค่าผลต่าง เนื่องจากขนาดกระแสปฐมภูมขิ อง CT ทัง้ สองมีขนาดต่างกัน
ดังนัน้ CT ทีใ่ ช้ตอ้ งมีการเลือกอัตราส่วนการแปลงทีถ่ กู ต้อง เช่น ถ้ากระแสพิกดั ของ CT ทีต่ ่อแบบ ส
ตาร์ คือ 5 A กระแสพิกดั ของ CT ทีต่ ่อแบบเดลต้าต้องเป็ น 5 / 3 ส่วนกระแสปฐมภูมขิ อง CT ก ็
คำนวณจาก VA / ( 3 *V)
iii. การเลื่อนเฟส
หม้อแปลงทีม่ กี ารต่อของขดลวดปฐมภูมแิ ตกต่างกับขดลวดทุตยิ ภูม ิ เช่น เดลต้า – สตาร์ จะมี
มุมเฟสของกระแสต่างกัน 30 องศา เพือ่ ให้การป้องกันทำงานอย่างถูกต้องจึงมีการชดเชยการเลื่อน
เฟส คือ สำหรับขดลวดหม้อแปลงต่อแบบ เดลต้า , CT ควรต่อแบบ สตาร์
สำหรับขดลวดหม้อแปลงต่อแบบ สตาร์ , CT ควรต่อแบบ เดลต้า
iv. การเปลี่ยนแท็ป
สำหรับหม้อแปลงทีม่ กี ารเปลีย่ นแท็ปต้องใช้รเี ลย์แบบวัดค่าผลต่างเป็ นเปอร์เซ็นต์ เช่นถ้าหม้อ
แปลงเปลีย่ นแท็ปได้ 10% จะใช้ Setting ของรีเลย์ 20%
8

v. ลักษณะการป้ องกัน ซึ่งแบ่งได้เป็ น 5 ชนิ ดคือ


- การป้องกันแบบผลต่างไม่ไบแอส
- การป้องกันแบบผลต่างไบแอส
- การป้องกันหม้อแปลงออโตแบบผลต่าง
- การป้องกันหม้อแปลงสามขดลวด
- การรวมการป้องกันแบบผลต่างและการลัดวงจรลงดินแบบจำกัดบริเวณ

13. จงเขียนวงจรและอธิ บาย Relays ที่ใช้ป้องกันหม้อแปลงขนาดปานกลาง


ตอบ

รูปที่ 7 การป้องกันหม้อแปลงขนาดกลาง

46 Load - unbalance , Negative Phase Sequence Overcurrent Relay


49 Thermal Overload Relay
50 Instantaneous Overcurrent Relay
50N Instantaneous Ground Fault Overcurrent Relay
51 Overcurrent with Time Delay Relay
51G Ground Overcurrent Relay
63 Transformer Fault Pressure Relay
9

87N Restricted Earth-fault Relay

14. จงเขียนวงจรและอธิ บาย Relays ที่ใช้ป้องกันหม้อแปลงขนาดใหญ่


ตอบ

รูปที่ 8 การป้องกันหม้อแปลงขนาดใหญ่

46 - Load - unbalance , Negative Phase Sequence Overcurrent Relay


49 - Thermal Overload Relay
50 - Instantaneous Overcurrent Relay
50N - Instantaneous Ground Fault Overcurrent Relay
51 - Overcurrent with Time Delay Relay
51G - Ground Overcurrent Relay
63 - Transformer Fault Pressure Relay
87N - Restricted Earth-fault Relay
87T - Differential Protection Transformer
10

15. จงเขียน Winding Connection ของหม้อแปลงที่มี Vector Group Dyn11


ตอบ

Transformer Vector Group Dyn 11


Primary Winding Delta Connection , Phase A Vector at 0 ( 12 ) O’ Clock
Secondary Winding Wye Connection , Phase a Vector at 11 O’Clock

12
C1 0
11 a2 A2 1

10 2

a1 b1 b2
9 3
c1
C2
B1 4
8 B 2B 2 A 1

c2 7 5
6

รูปที่ 9 Vector Group Dyn11 และ การต่อขดลวด

16. หม้อแปลงขนาด 30 MVA , 11 kV/132 kV ต่อแบบ Delta-Wye


จงคำนวณหาขนาด
- CT ทางด้าน Primary และ Secondary
- Transformer Ratio ของ Interposing CT สำหรับการใช้ Percentage Differential Relay
ในการป้องกัน
ตอบ
วิ ธีทำ กระแสพิกดั ของหม้อแปลง
30  10 6
ทางด้าน Primary In   1575 A
3  11  10 3
ดังนัน้ เลือก CT ขนาด 1600 A ที่ 11 kV
11

สำหรับทางด้าน Secondary
ที่ Nominal จะได้คา่ กระแส Full Load เท่ากับ
30  10 6
In   164 A
3  0.8  132  10 3
ที่ -5% Tap จะได้คา่ กระแส Full Load เท่ากับ
30  10 6
In   138 A
3  0.95  132  10 3
ดังนัน้ เลือก CT ขนาด 200 A ที่ 132 kV
หาค่า Transformer Ratio
1575 138
ค่า กระแส Secondary ใน Line CT ค อื 1600  0.984 A และ 200
 0.69 A ด งั นัน้
อัตราส่วนของ Wye - Delta Interposing CTs เพือ่ ให้เกิด Matching คือ
0.984 1
0.69 /  0.70 / หรือ 0.7 / 0.577 A
3 3

17. หม้อแปลงขนาด 120 MVA/ 90MVA / 30MVA , 500kV / 138 kV / 13.45 kV ต่อแบบใช้งาน
แบบ Wye / Wye / Delta จงคำนวณหาขนาด
- CT ทางด้าน Primary , Secondary และ Tertiary
- Transformer Ratio ของ Interposing CT ทีเ่ หมาะสม
ตอบ
วิ ธีทำ หาค่ากระแส พิกดั ที่ 500 kV
120  10 6
In   138.6 A
3  500  10 3
หาค่ากระแส พิกดั ที่ 138 kV
90  10 6
In   376.5 A
3  138  10 3
หาค่ากระแส พิกดั ที่ 13.45 kV
30  10 6
In   1288 A
3  13.45  10 3

ดังนัน้ จะได้ Line CT Ratio at 500 kV = 200 / 5 A


Line CT Ratio at 138 kV = 400 / 5 A
Line CT Ratio at 13.45 kV = 1500 / 5 A
คิดที่ Base 120 MVA ดังนัน้
ค่ากระแสพิกดั ที่ 138 kV , 120 MVA จะมีคา่ เท่ากับ
120  10 6
  502 A
3  138  10 3
ค่ากระแสพิกดั ที่ 13.45 kV , 120 MVA มีคา่ เท่ากับ
120  10 6
  5151 A
3  13.45  10 3
12

138.6  5
ค่ากระแส Secondary CTs จาก 500 kV ที่ 120 MVA เท่ากับ  3.46 A
200
ดังนัน้ อัตราส่วนของ Wye/Delta Interposing CT มีคา่ เท่ากับ
5
 3.46 / A หรือ 3.46/2.89 A
3
502  5
ค่ากระแส Secondary CTs จาก 138 kV ที่ 120 MVA เท่ากับ  6.28 A
400
ดังนัน้ อัตราส่วนของ Wye/Delta Interposing CT มีคา่ เท่ากับ
5
 6.28 / A หรือ 6.28/2.89 A
3
5151  5
ค่ากระแส Secondary CTs จาก 13.45 kV ที่ 120 MVA เท่ากับ  17.17 A
1500
ดังนัน้ อัตราส่วนของ Wye/Wye Interposing CT มีคา่ เท่ากับ
 17.17 / 5 A

คำถามเพิ ม่ เติ ม

1 Transformer 30 MVA , 34.5 kV Y / 138 kV  Protection by Differential Relays with Taps .


Select
1) CT Ratios and CT Connections
2) Relay Tap Settings
Available Relay Tap
5 5.5 6.6 7.3 8 9 10 A
1.00 1.10 1.32 1.46 1.6 1.80 2.00

Solution
CTs are Connected as shown .
13

Fig 10.37 Differential protection of a three-phase - two - winding transformer


I n (138kV)  30  10 6  125.51 A
3 138  10 3

 Select CT 150/5A , Wye Connected

I A  I ( Secondary )  125.51  5  4.184 A


150

I n ( 34.5 kV )  30  10 6  502.04 A
3 34..5  10 - 6
Select CT 500/5A , Delta Connected

I ( CT )  502.04  5  5.02 A
500
 I ab  I ( CT Line )  5.02 2  8.696 A

 Ratio of currents

I ab
 8.696  2.078
I A 4.184

The Closest Relay Tap



TAB
 2.00
TA

 Select Relay Tap Setting


TA : Tab   5 : 10

 % Mismatch
=
 4.184/5    8.696/10   100
8.696/10
= 3.77 %

2 In Fig Shown Below , Assume the 69 kV System is Open


14

P 9.1

Calculate
a) The Fault Current in the 3 Phase for a Solid Phase a to Ground on the 69 kV Terminals
b) The 3 Phase Voltage Existing at the Fault
c) The Currents and Voltages in the 13.8 kV System

Solution
Base Power 50 MVA
Base Voltage 13.8 kV , 69 kV

I B  13.8 kV   50  10 6  2092 A
3 13.8  10 3

I B  69 kV   418 A

1.000 o
a) I0  I1  I 2 
X 0  X1  X 2

1.00
=
j .08  j ( .12  .08 )  j ( .12  .08 )
= - j 2.08 pu

I aF  3 I0  3  2.08  6.24 pu
= 6.24 x 0.418
= 2.61 kA

V   0  Z 0 0  I 0 
 0    0   
b) V   1.00    0 Z1 0  I1 
 1      
V   0   0 0 Z 2  I 2 
 2 
15

V0   I 0 Z0   0.1664 pu
V1  1.00  I 1 Z 1   0.584 pu
V2   I 2 Z2   0.416 pu

 Va  1 1 1   V0 
     
 Vb   1 a2 a   V1 
     
 Vc  1 a a 2   V2 

Va = V0  V1  V2
= -0.1664 + 0.584 – 0.416
= 0

Vb = V0  a 2 V1  a V2
= -0.1664 + 1 240 ( 0.584 ) + 1 120 ( - 0.416 )
= - 0.2504 – j 0.866
= 0.9015 2539O
69  0.9015
=
3
= 35.9 kV

Vc = V0  a V1  a 2 V2
= - 0.1664 + 1 120 ( 0.584 ) + 1 240 ( - 0.416 )
= - 0.2504 + j 0.866
= 0.9015 106.1
= 35.9 kV

c) In Passing the Delta Wye Back


 Phase 30 Degree

I A1 = 2.08 -90O -30O = 2.08 -120O

I A2 = 2.08 -90O +30O = 2.08 -60O

I A0 = 0
16

 IA = I A0 + I A1 + I A2
= 0 + 2.08 -120O + 2.08 -60O
= 3.60 pu ( 2.08 3 )

IB = I A0 + a 2 I A1 + a I A2
= 0 + 1 240O 2.08 -120O + 1 120O 2.08 -60O
= 3.60 pu

IC = I A0 + a I A1 + a 2 I A2
= 0 + 1 120O 2.08 -120O + 1 240O 2.08 -60O
= 2.08 ( 1 0O + 1 180O
= 0

You might also like