You are on page 1of 90

บทที่ 8

การป้ องกันมอเตอร์
(Motor Protection)

1
2
Three-Phase AC Motor
มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส
1. Asynchronous Motor or Induction Motor
ใช้ หลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าระหว่างสเตเตอร์ และโรเตอร์

2. Synchronous Motor
มอเตอร์ ที่หมุนด้ วยความเร็วซิงโครนัส สนามแม่เหล็กหมุนที่เกิด
ในสเตเตอร์ จะเหนี่ยวนาให้ สนามแม่เหล็กที่โรเตอร์ หมุนด้ วยความเร็ว
ซิงโครนัส

3
Induction Motor (Asynchronous Motor)
คุณลักษณะของ Induction Motor
 ความเร็วรอบขึ ้นอยูก่ บั ความถี่ของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
จึงมีความเร็วคงที่ แต่จะเปลี่ยนตามโหลด แรงบิดเริ่มหมุนต่า
 โครงสร้ างไม่ซบั ซ้ อน สะดวกในการบารุงรักษาเพราะไม่มีคอมมิวเต
เตอร์ ราคาถูก
 ใช้ กบั งานโรงงานอุตสาหกรรม ขับเคลื่อนลิฟท์ สายพานลาเลียง
เครื่ องไส เครื่ องกลึง

4
ส่ วนประกอบของ Induction Motor
Stator จะมีขดลวดอาร์ เมเจอร์ พนั ที่ขวแม่
ั ้ เหล็ก 3 ชุด อาจต่อเดลต้ า
หรื อแบบวายก็ได้ มีหน้ าที่สร้ างสนามแม่เหล็กหมุน ไปเหนี่ยวนาให้
กระแสไหลและเกิดสนามแม่เหล็กที่โรเตอร์
Rotor ลักษณะของโรเตอร์มี 2 แบบคือ
- แบบกรงกระรอก (Squirrel Cage Induction Motor) จะมีแท่ง
เหนี่ยวนำฝงั อยูใ่ นช่องทีข่ นำนกัน ลัดวงจรทีป่ ลำยทัง้ สองด้ำน
- แบบขดลวด (Wound Rotor Induction Motors) จะพันขดลวด
เท่ำกับขดลวดทีส่ เตเตอร์ ปลำยขดลวดทัง้ 3 เฟสจะเชื่อมต่อ
ผ่ำนวงแหวนลื่น (slip ring) ผ่ำนแปรงถ่ำนไปยังอุปกรณ์
ควบคุมภำยนอก 5

5
หลักการทางานของ Induction Motor

- จ่ำยไฟฟ้ำกระแสสลับให้ขดลวดอำร์เมเจอร์ทส่ี เตเตอร์ จะเกิดสนำม


แม่เหล็กหมุนด้วยควำมเร็วซิงโครนัส
- สนำมแม่เหล็กหมุนเคลื่อนตัวตัดตัวนำในโรเตอร์ จะเกิดแรงดันไฟฟ้ำ
เหนี่ยวนำและแรงบิด เป็ นผลให้โรเตอร์หมุนไปในทิศทำงเดียวกับ
สนำมแม่เหล็กหมุน
- โรเตอร์หมุนไปได้ดว้ ยควำมเร็วต่ำกว่ำควำมเร็วซิงโครนัส
- กำรกลับทิศทำงกำรหมุนของมอเตอร์ ทำได้โดยสลับสำยไฟคูใ่ ดคู่
หนึ่งทีจ่ ่ำยให้ขดลวดทีส่ เตเตอร์
6

6
Synchronous Motor
คุณลักษณะของ Synchronous motor
 ความเร็วคงที่ไม่วา่ มีโหลดหรือไม่มีโหลด แรงบิดเริ่มต้ น
 มอเตอร์ ซงิ โครนัสมี 2 ประเภทหลัก ๆ คือ
- Permanent-Magnet Synchronous Motor
- Electronically Commutated Motor / Wound rotor field
 มอเตอร์ ที่ใช้ ไฟฟ้ากระแสตรงมากระตุ้น จะมีขนาดใหญ่กว่า 1 HP
และต้ องมีไฟฟ้ากระแสตรงจ่ายผ่าน Slip Rings
 ใช้ กบั งานที่ต้องการความเร็วคงที่, การควบคุมตาแหน่งที่แม่นยา,
การปรับค่า power factor, อุตสาหกรรมเกี่ยวกับด้ านปฏิกิริยาเคมี,
pump-storage hydro power plant 7

7
ส่ วนประกอบของ Synchronous motor

Stator มีขดลวด 3 ชุดพันรอบในร่อง และต่อเข้ำกับแหล่งจ่ำย


ไฟฟ้ำกระแสสลับ 3 เฟส เพีอ่ สร้ำงสนำมแม่เหล็กหมุน ซึง่ จะแปร
ผันตรงกับควำมถีข่ องแหล่งจ่ำย

Rotor จ่ำยไฟกระแสตรงเข้ำไปเพือ่ ทำให้เกิดขัว้ แม่เหล็ก


คงทีท่ โ่ี รเตอร์ ทำให้มอเตอร์หมุนไปด้วยควำมเร็วเท่ำกับ
ควำมเร็วของสนำมแม่เหล็กทีส่ เตเตอร์ ทีค่ วำมเร็ว
ซิงโครนัส
8
8
หลักการทางานของ Synchronous Motor
- จ่ำยไฟฟ้ำกระแสสลับให้ขดลวดสเตเตอร์ จะเกิดสนำมแม่เหล็ก
หมุนด้วยควำมเร็วซิงโครนัส
- จ่ำยไฟฟ้ำกระแสตรงให้ขดลวดโรเตอร์ จะเกิดสนำมแม่เหล็กคงที่
- ให้แรงบิดเริม่ ต้นแก่โรเตอร์เพือ่ ให้โรเตอร์หมุนมีควำมเร็วใกล้เคียง
ควำมเร็วซิงโครนัส (variable-frequency drives , amortisseur
winding, separate motor)
- สนำมแม่เหล็กทีโ่ รเตอร์จะถูกล็อคควำมเร็วเท่ำกับสนำมแม่เหล็ก
หมุนของสเตเตอร์ ทำให้โรเตอร์หมุนไปได้ดว้ ยควำมเร็วซิงโครนัส

9
8.1 บทนา
- มอเตอร์ ใ ช้ ก ัน อย่ า งกว้ า งขวางและมี ค วามส าคัญ ในงาน
อุตสาหกรรมเป็ นอย่างมาก
- ความเสียหายของมอเตอร์ ทาให้เสียเวลา ในการซ่อมบารุง
แล้ว ยังทาให้เกิดความสูญเสียในขบวนการผลิต
- ต้ องมีการติดตัง้ อุปกรณ์ ป้องกันมอเตอร์จากความผิดปกติที่
เกิดขึน้

10
8.2 ชนิดของมอเตอร์
มอเตอร์ขนาดใหญ่ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมแบ่งออกได้
เป็ น 3 ประเภท คือ
1. มอเตอร์เหนี่ ยวนาชนิดกรงกระรอก
( Squirrel Cage Induction Motor )
2. มอเตอร์เหนี่ ยวนาแบบ Slip Ring
( Slip Ring Induction Motor )
3. มอเตอร์แบบ Synchronous
( Synchronous Motor )
11
1. มอเตอร์เหนี่ ยวนาชนิดกรงกระรอก
( Squirrel Cage Induction Motor )
- ขนาดระหว่าง 0.20 - 10 MW
- ใช้กบั แรงดันระหว่างสาย ( Line Voltage ) ในช่วง
3 - 10 kV
- การเริ่มเดินเครือ่ งจะเป็ นแบบ Direct On Line
หรือ Reduce Voltage Starting

12
2. มอเตอร์เหนี่ ยวนาแบบ Slip Ring
( Slip Ring Induction Motor )
- ขนาดระหว่าง 0.20 - 10 MW
- ใช้กบั แรงดันระหว่างสาย ( Line Voltage ) ในช่วง
3 - 10 kV
- การเริ่มเดินเครือ่ งจะเป็ นแบบ Rotor Start

13
3. มอเตอร์แบบ Synchronous
( Synchronous Motor )
- ขนาดระหว่าง 1 - 20 MW
- การเดินเครือ่ งจะเป็ นแบบ
• Direct On Line Start ,
• Induction Start
• หรือ Transformer Start

14
Motor 1000 kW, 6.6 kV

Motor 1200 kW, 6.6 kV


15
Motor 1000 kW, 6.6 kV

High-Voltage AC Motor With


Slipring Rotor
16
8.3 ความเสียหายที่เกิดขึน้ กับมอเตอร์

แบ่งออกได้ 3 ชนิด คือ


1. ความผิดพร่องที่เกี่ยวกับโหลด
( Faults Related to Driven Load )
2. ความผิดพร่องของระบบไฟฟ้ า
( Power Supply Faults )
3. ความผิดพร่องภายในตัวมอเตอร์
( Internal Motor Faults )
17
ความผิดพร่องที่เกี่ยวกับโหลด
ความผิดพร่องที่เกี่ยวกับโหลด มีดงั ต่อไปนี้
1) การทางานเกินพิกดั ( Overload )
2) การเริ่มเดินเครือ่ งยาวนานเกินไปหรือการ Start
้ ิ นไป ( Too Long Too Frequent Start-Up )
บ่อยครังเก
3) โรเตอร์ถกู ตรึงไว้ ( Jamming )
4) การใช้งานปัม๊ ขณะไม่มีโหลด ( Pump De-energizing )
5) การจ่ายกาลังย้อนกลับ ( Reverse Power )
18
ความผิดพร่องของระบบไฟฟ้ า
ความผิดพร่องของระบบไฟฟ้ า มีดงั ต่อไปนี้
1) การเกิดแรงดันไฟฟ้ าตก ( Drop In Voltage )
2) การเกิดแรงดันไม่สมดุล ( Unbalance )
ถ้าแรงดันของแหล่งจ่ายไฟไม่สมดุลจะทาให้มี
Negative Sequence Current ไหลได้ เป็ นสาเหตุให้
มีกาลังสูญเสียเพิ่มขึน้ อย่างมากทาให้โรเตอร์
ุ หภูมิเพิ่มสูงขึน้
มีอณ
19
ความผิดพร่องภายในตัวมอเตอร์
ความผิดพร่องที่เกิดขึน้ ภายในตัวมอเตอร์ ได้แก่
1) การลัดวงจรระหว่างเฟส
( Phase-to-Phase Short Circuit )
2) การลัดวงจรลงโครงโลหะ
( Frame Faults )
3) การสูญเสียซิงโครนัส
( Loss of Synchronism )
20
8.4 ข้อที่ต้องพิจารณาในการป้ องกันมอเตอร์
ต้องทาการพิจารณาคุณสมบัติดงั ต่อไปนี้
1) Motor Characteristics
2) Motor Starting Condition
3) Ambient Conditions
4) Driven Equipment
5) Power System
6) Motor Importance
7) Load Side Faults For Motor Controllers
21
8.5 ชนิดของการป้ องกันมอเตอร์
ชนิดของการป้ องกันที่สาคัญมีดงั ต่อไปนี้
- การป้ องกันแรงดันตา่ ( Undervoltage Protection )
- การป้ องกันเฟสไม่สมดุล ( Phase Unbalance Protection )
- การป้ องกันกระแสเกินเฟสแบบทันทีทนั ใด
( Instantaneous Phase Overcurrent Protection )
- การป้ องกันกระแสเกินเฟสแบบหน่ วงเวลา
( Time-Delay Phase Overcurrent Protection )
- การป้ องกันกระแสเกินโหลดเฟส
( Overload Phase Overcurrent Protection ) 22
ชนิดของการป้ องกันที่สาคัญมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ)

- การป้ องกันลัดวงจรลงดินแบบทันทีทนั ใด
( Instantaneous Ground Overcurrent Protection )
- การป้ องกันลัดวงจรลงดินแบบหน่ วงเวลา
( Time-Delay Ground Overcurrent Protection )
- การป้ องกันผลต่างกระแสเฟส
( Phase Current Differential Protection )

23
ชนิดของการป้ องกันที่สาคัญมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ)
- การป้ องกันเฟสไม่สมดุลแบบแยกขดลวด
( Split Winding Current Unbalance Protection )
- การป้ องกันอุณหภูมิสงู ของขดลวดสเตเตอร์
( Stator Winding Overtemperature Protection )
- การป้ องกันอุณหภูมิสงู ของขดลวดโรเตอร์
( Rotor Overtemperature Protection )
- การป้ องกันมอเตอร์ซิงโครนัส
( Synchronous Motor Protection )
24
ชนิดของการป้ องกันที่สาคัญมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ)
- การป้ องกันการเริ่มเดินเครื่องไม่สมบูรณ์
ของมอเตอร์เหนี่ ยวนา
( Induction Motor Incomplete Starting
Sequence Protection )
- การป้ องกันการเริ่มเดินเครื่องบ่อยเกินไป
( Protection Against Too Frequent Starting )

25
ชนิดของการป้ องกันที่สาคัญมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ)
- การป้ องกันลัดวงจรลงดินของขดลวดโรเตอร์
(Rotor Winding Ground Fault Protection)
- การป้ องกันฟ้ าผ่าและเสิรจ์
(Lightning and Surge Protection)
- การป้ องกันการไม่หมุนหรือหมุนกลับทิศทาง
(Protection Against Failure to Rotate or Reverse
Rotation Protection)
- การป้ องกันทางกล
(Mechanical and Other Protections)

26
8.6 การป้ องกันแรงดันตา่
มีจดุ ประสงค์ดงั นี้ (Undervoltage Protection)
1. เพื่อป้ องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึน้ กับมอเตอร์ที่เริ่ม
เดินเครื่องใหม่อีกครัง้ เมื่อแรงดันหายไปแล้วกลับมาอีก

2. เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งกระแสเข้า มอเตอร์ที่พุ่ง สูง ขึ้น ของโหลด


มอเตอร์ในระบบไฟฟ้ า, ป้ องกันการเกิดแรงดันตก
(Voltage Drop), แรงดันตกชัวขณะ ่ ( Voltage Dip ) เมื่อ
แรงดันหายไปแล้วกลับมาอีก

27
8.6 การป้ องกันแรงดันตา่
( Undervoltage Protection )
Undervoltage Protection
- Instantaneous
- Time-Delay
ใช้กบั มอเตอร์ที่สาคัญมาก ป้ องกันการ Trip ที่ไม่จาเป็ น
เนื่ องจาก Voltage Drop จากการลัดวงจรภายนอก

28
8.7 การป้ องกันเฟสไม่สมดุล
( Phase Unbalance Protection )
เพื่อป้ องกันมอเตอร์เกิดความร้อนสูงเกิน (Overheating)
ซึ่งจะเกิดขึน้ เมื่อแรงดันเฟสไม่สมดุล โดยอาจเกิดจากสาเหตุ
2 ประการ คือ
1. การเพิ่มกระแสเฟสที่ไหลในมอเตอร์เพื่อให้สามารถ
จ่ายกาลังอย่างต่อเนื่ องให้ได้เท่ากับเมื่อแรงดันยัง
สมดุลอยู่

29
2. แรงดัน Negative-Sequence ที่ ปรากฏขึ้นจะทาให้เกิด
กระแสที่ผิดปกติไหลในโรเตอร์ เนื่ องจากค่า Negative –
Sequence Impedance ของมอเตอร์มีค่าประมาณ Locked
Rotor Impedance
ดังนัน้ เพียงเกิดแรงดัน Negative-Sequence ที่ค่าตา่ ๆ
ก็สามารถสร้าง กระแส Negative-Sequence ขนาดสูงได้

30
การเกิดแรงดันเฟสไม่สมดุล ( Phase Unbalance )

1) แรงดันที่ขวั ้ มอเตอร์ไม่เท่ากัน เนื่ องจากแรงดันตกของ


แต่ ละเฟสก่ อนเข้ ามอเตอร์ไม่เ ท่ า กัน หรือเกิด จากผล
ของการลัดวงจรแบบไม่สมดุลที่ระบบไฟฟ้ า
2) สายไฟฟ้ าเส้นหนึ่ งที่ จ่ายให้มอเตอร์ไม่มีไฟเลี้ยงทาให้มี
ไฟเพียง 2 เส้นที่จ่ายไฟให้มอเตอร์ สภาพเช่นนี้ เรียกว่า
การเกิด Single Phasing

31
รีเลย์ที่ใช้ในการป้ องกันเฟสไม่สมดุล
รวมทัง้ Single-Phasing มีดงั นี้

- Phase Current Balance Relay


- Negative-Sequence Voltage Relay
- Negative-Sequence Current Relay

32
8.8 การป้ องกันกระแสเกินเฟสแบบทันทีทนั ใด
( Instantaneous Phase Overcurrent Protection )
การตรวจจับการลัดวงจรระหว่างเฟส
( Phase Short Circuits )
โดยไม่มีการหน่ วงเวลามีผลดี ดังนี้
1. ลดความเสียหายที่จะเกิดขึน้ จากความผิดพร่อง
2. ลดช่วงเวลาของการเกิดแรงดันตกชัวขณะ

( Voltage Dip )
33
8.8 การป้ องกันกระแสเกินเฟสแบบทันทีทนั ใด
( Instantaneous Phase Overcurrent Protection )
3. ลดโอกาสที่ความผิดพร่องจะแพร่ขยายไป
ทาให้เกิด ไฟไหม้ หรือความ เสียหายจากการระเบิด

มอเตอร์ขนาดใหญ่โดยทัวไปจะตั
่ ง้
Instantaneous Pick up ประมาณ 175%
ของ Maximum Symmetrical Starting Current

34
8.9 การป้ องกันกระแสเกินเฟสแบบหน่ วงเวลา
( Time Phase Overcurrent Protection )
การตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติ ดังนี้ คือ
1. การที่มอเตอร์ไม่สามารถเร่งไปถึงความเร็วพิกดั ได้
ในขณะที่เริ่มเดินเครื่อง
2. มอเตอร์ในสภาพที่ทาให้ไม่หมุน
(Stalled Condition )
3. การเกิดความผิดพร่องระหว่างเฟสที่มีค่าตา่

35
การป้ องกันแบบ Time-delay Overcurrent
ส่วนมากจะใช้ Thermal Overcurrent Relays
การปรับตัง้ Thermal Overcurrent Relays
1. ถ้าต้องการป้ องกันโหลดเกิน ควรตัง้ ค่า Pickup
ให้สงู กว่าค่ากระแสพิกดั ของมอเตอร์ประมาณ 5-25%
2. เมื่อไม่ม่งุ เน้ นป้ องกันการเกิดโหลดเกิน ควรตัง้ ค่า Pickup
ที่ 200-350 % ของพิกดั มอเตอร์
เพื่อหลีกเลี่ยงการ Trip เมื่อเกิด Overload

36
การปรับตัง้ Thermal Overcurrent Relays ( ต่อ )

3. ในบางกรณี อาจจะตัง้ ค่า Pick up


ให้สงู กว่าค่า Symmetrical Starting Current
ขณะเริ่มเดินเครือ่ งเพียงเล็กน้ อยได้
ซึ่งต้องการให้รีเลย์ทาหน้ าที่ป้องกัน
ความผิดพร่องเท่านัน้ ค่า Time Delay
ในที่นี้จะต้องมีช่วงเวลาที่สนั ้ มาก

37
• 8.10 การป้ องกันกระแสเกินโหลดเฟส
( Overload Protection )
• ตรวจจับกระแสเกินพิกดั เล็กน้ อยเป็ นเวลานานๆ
• ให้รีเลย์ทาการ Trip ก่อนที่ตวั มอเตอร์จะได้รบั ความเสียหาย

อาจมี Overload Protection 2 ชุด คือ


1) ชุดที่หนึ่ ง เพื่อให้ Alarm โดยปรับตัง้ ค่าที่ตา่ ๆ และเวลาสัน้ ๆ
2) ชุดที่สอง ปรับตัง้ ไว้ที่ค่า Higher Pickup และเวลาช้ากว่า

38
8.11 การป้ องกันลัดวงจรลงดินแบบทันทีทนั ใด
( Instantaneous Ground Overcurrent Relay Protection )

การตรวจจับและการป้ องกันการเกิดความผิดพร่องลงดิน
( Ground-Fault ) แบบทันทีทาได้โดยใช้

1) Zero-Sequence Current Transformer or Sensor and


Ground Relay-Device (50G)
การปรับตัง้ ค่าการ Trip ที่กระแส Primary Ground Fault
5 – 20 A

39
8.11 การป้ องกันลัดวงจรลงดินแบบทันทีทนั ใด
( Instantaneous Ground Overcurrent Relay Protection )

2) Residually Connected Current Transformers


and Ground Relay
- Residual Connection จาก CT 3 ตัว
เพื่อจ่ายให้ Ground Relay
- อาจมีปัญหา Unequal Saturation ของ CT
ทาให้เกิด Fault Trip ได้

40
รูปที่ 8.1 Ground Overcurrent Protection Using
Windows-type Current Transformer
41
8.12 การป้ องกันลัดวงจรลงดินแบบหน่ วงเวลา
( Time-delay Ground Overcurrent Protection )

การตรวจจับการเกิดความผิดพร่องลงดิน ( Ground-Fault ) แบบ


หน่ วงเวลาโดยที่รีเลย์รบั ค่ากระแสผ่านหม้อแปลงกระแส
มีการทางานทัง้ แบบ Instantaneous และ Time-delay ดังนี้
1) Zero-Sequence Current Transformers
and Time-delay Ground Relay
2) Residually Connected Current Transformers
and Ground Relay
42
8.13 การป้ องกันผลต่างกระแสเฟส
( Phase Current Differential Protection )

จุดประสงค์ของการป้ องกันแบบนี้ คือ


การตรวจวัด Fault Condition อย่างรวดเร็ว
การป้ องกันแบบนี้ สามารถทาได้ 2 วิธี คือ
1) Conventional Phase Differential
2) Self-Balancing Differential Using Zero
Sequence Current Transformer

43
87

รูปที่ 8.2 Conventional Phase Differential Protection Using


Three Percentage Differential Relays ( One Shown )
44
รูปที่ 8.3 Conventional Phase Differential Protection
45
8.14 การป้ องกันเฟสไม่สมดุลแบบแยกขดลวด
( Split Winding Current Unbalance Protection )

จุดประสงค์ของการป้ องกัน
เพื่อตรวจวัดกระแสลัดวงจรที่มีค่าตา่ ได้อย่างรวดเร็ว
เป็ น Back up Protection สาหรับ
Instantaneous Phase Overcurrent
และ Ground Overcurrent Protection

46
รูปที่ 8.4 Split-phase Motor Overcurrent Protection Can Be Used with
Two Paths Per Phase ( One Relay Shown )
47
8.15 การป้ องกันอุณหภูมิสงู ของขดลวดสเตเตอร์
( Stator Winding Overtemperature Protection )
- การป้ องกันแบบนี้ จะตรวจวัดอุณหภูมิที่สงู เกินของ
ขดลวด Stator ก่อนที่จะทาขดลวดเสียหาย
- การป้ องกันโดยทัวไปจะให้
่ Alarm เพื่อให้
ผูป้ ฏิบตั ิ งานทราบและทาการแก้ไข
- บางครัง้ อาจมี 2 Temperature Setting
ค่าอุณหภูมิตา่ สาหรับ Alarm
และอุณหภูมิสงู สาหรับ Trip
48
การตรวจวัดอุณหภูมิทาได้หลายวิธี คือ
1) Resistance Temperature Detectors
2) Thermocouples
3) Thermistors

49
การตรวจวัดอุณหภูมิทาได้หลายวิธี คือ

1) Resistance Temperature Detectors


- ใช้กบั มอเตอร์ขนาดใหญ่
- มี Detector 6 ตัว 2 ตัวต่อเฟส ฝังใน Slots
- ค่าที่ใช้ 10  หรือ 120 
- ค่าความต้านทานจะแปรตาม อุณหภูมิ
- เมื่อ อุณหภูมเกิน หน้ าสัมผัสทางาน
ทาให้ เกิดการ Trip

50
การตรวจวัดอุณหภูมิทาได้หลายวิธี (ต่อ)

2) Thermocouples
- แสดงอุณหภูมิ
- สาหรับให้ Alarm หรือ Trip
- ถ้าสายขาดหรือเปิดวงจร จะไม่ให้ Trip
เหมือนอุณหภูมิตา่

51
การตรวจวัดอุณหภูมิทาได้หลายวิธี (ต่อ)

3) Thermistors
มี 2 แบบ
- Positive Temperature Coefficient ( PTC )
คตท มีค่าเพิ่มตามอุณหภูมิ
- NegativeTemperature Coefficient ( NTC )
คตท มีค่าลดลงตามอุณหภูมิ

52
8.16 การป้ องกันอุณหภูมิสงู ของขดลวดโรเตอร์
( Rotor Overtemperature Protection )
การป้ องกัน Rotor Overtemperature
ใช้กบั Motor 2 ชนิด คือ
1) Synchronous Motors
- ใช้ Kelvin Bridge แบบบันทึกร่วมกับตัวปรับ
อุณหภูมิที่ตงั ้ ไว้ โดยที่ Kelvin Bridge
จะทาการวัด Field Resistance

53
8.16 การป้ องกันอุณหภูมิสงู ของขดลวดโรเตอร์
( Rotor Overtemperature Protection )

2 ) Wound Rotor Induction-Motor Starting Resistors


- ใช้ Resistance Temperature Detectors ( RTDs )
หรือ Temperature Sensors
แบบอื่นๆ ติดตัง้ ใกล้ Starting Resistors

54
8.17 การป้ องกันมอเตอร์ซิงโครนัส
( Synchronous Motor Protection )

การป้ องกัน Synchronous Motor


- ต้องทาตามข้อต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว
ยังต้องทาการป้ องกันตามข้อดังต่อไปนี้

55
8.17 การป้ องกันมอเตอร์ซิงโครนัส

1) Damper Winding Protection


- เมื่อทาการสตาร์ท Synchronous Motor
จะมีกระแสเหนี่ ยวนาสูงเกิดขึน้
ที่ขดลวด Rotor Damper Winding
ถ้ามอเตอร์ใช้เวลายาวนานเกินไปทาให้
เกิดความเกิดความร้อนสูงและเสียหายได้
- รีเลย์วดั ค่า Damper Winding Temperature Trip

56
2 ) Field Current Failure Protection
กระแส Field-Current อาจมีค่าลดลงสาเหตุหลายประการคือ
- การ Trip ของ Remote Exciter
- การไหม้ของขดลวด Field Contactor Coil
- เกิดจากอุบตั ิ เหตุทาให้เกิดการ Trip ของ
ขดลวด Field Winding
- เมื่อความต้านทานของหน้ าสัมผัสมีค่าสูงหรือ
มีการเปิดวงจรระหว่าง Slip Ring และ Brushes

57
ส่วนเหตุผลที่ต้องทาการตรวจวัดการลดของ
กระแสสนาม เนื่ องจาก

- มอเตอร์ที่มีโหลดมากอาจจะทาให้เกิด
Pull Out of Step หรือ Stall ได้
- มอเตอร์ที่มีโหลดน้ อย ก็จะไม่สามารถ
รับโหลดที่เพิ่มขึน้ ได้

58
ส่วนเหตุผลที่ต้องทาการตรวจวัดการลดของ
กระแสสนาม เนื่ องจาก

- มอเตอร์ที่มีโหลดปานกลางอาจจะ Pull out of Step


เมื่อเกิด Voltage Dip
- การลดลงของการกระตุ้น ( Excitation ) จากระบบไฟฟ้ า
โดยมอเตอร์ขนาดใหญ่ อาจเป็ นสาเหตุทาให้
เกิด Voltage Drop ที่รนุ แรง ซึ่งจะมีผลต่อมอเตอร์ตวั อื่น

59
3 ) Pullout Protection
การ Pull out of Step ตรวจวัดโดยรีเลย์แต่ละแบบ ดังนี้
- โดย Instantaneous Relay จะต่อขดลวดทาง
ด้าน Secondary ของหม้อแปลง และทางด้าน Primary
จะมี Direct Field Current เมื่อมอเตอร
เกิด Pull out of Step ขึน้ กระแสสลับ
จะเกิดการเหนี่ ยวนาในวงจรสนามและหม้อแปลง
ทาให้ Pullout Relay ทางาน
ซึ่งรีเลย์ชนิดนี้ ราคาจะไม่แพง แต่จะเกิด Fault Trip
ขึน้ ได้ เมื่อมี Transient ภายนอกระบบเกิดขึน้
60
3 ) Pullout Protection

Relay ที่ใช้มี
- Power-Factor Relay
- Loss of Excitation Relay

61
4 ) Incomplete Starting Sequence

- การป้ องกันแบบนี้ ปกติแล้วจะ


มีตวั Timer ทาการ Block การ Tripping
ของ Field Current Failure Protection

62
4 ) Incomplete Starting Sequence

- ป้ องกันการเกิด Pull out ในระหว่างการสตาร์ท


ตามปกติ ตัว Timer จะเริ่มทางาน
โดย Auxiliary Contact ใน Motor Startor
โดยช่วงเวลาที่ตงั ้ ไว้นี้จะหาได้ในระหว่าง
การทดสอบการสตาร์ท ซึ่งจะมากกว่าช่วงเวลาปกติ
ของมอเตอร์จากการเริ่มเดินเครื่องจนถึง
Full Field Current เพียงเล็กน้ อย

63
8.18 การป้ องกันการเริ่มเดินเครือ่ งไม่สมบูรณ์ของมอเตอร์
เหนี่ ยวนา
Wound-Rotor Induction Motor ที่ใช้การ
Start แบบ Reduced Voltage ควรมีตวั Timer คอยป้ องกัน
ในกรณี ที่การ Start ไม่สมบูรณ์
ถ้าเวลาที่ใช้ในการ Start มากกว่า
ค่าที่ตงั ้ ไว้ ( Preset Time )
Timer จะทาให้ Trip Contact ปิด ส่งผล
ให้ Contactor หรือ Circuit Breaker เปิดวงจรมอเตอร์
64
8.19 การป้ องกันการเริ่มเดินเครื่องบ่อยเกินไป
( Protection Against Too Frequency Starting )
การป้ องกันการ Start บ่อยครัง้ เกินไป
สามารถทาได้ ดังต่อไปนี้
1) ใช้ตวั Timer ในการหยุดการ Start ครัง้ ที่สอง
ถ้ายังไม่ถึงเวลา Preset Timing Interval ของมอเตอร์
2) ใช้ Stator Thermal Overcurrent Relays
ในการป้ องกันโดยจะขึน้ อยู่กบั

65
8.20 การป้ องกันลัดวงจรลงดินของขดลวดโรเตอร์
( Rotor Winding Ground Fault Protection )

1) Synchronous Motors
- ปกติขดลวดสนามจะไม่ได้ต่อถึงดิน
การต่อทาให้เกิด Fault
- การป้ องกัน Rotor Earth Protection
ของ Synchronous Motor จะเหมือนกับ
ของ Synchronous Generator เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
66
8.20 การป้ องกันลัดวงจรลงดินของขดลวดโรเตอร์
( Rotor Winding Ground Fault Protection )

2) Wound Rotor Induction Motors


มอเตอร์แบบ Wound-Rotor อาจเสียหายเนื่ องจาก
Resonant Torques ที่มีค่าสูง
สาเหตุจากการทางานที่มี Impedance
ที่ไม่สมดุลในวงจรโรเตอร์

67
8.21 การป้ องกันฟ้ าผ่าและเสิรจ์
( Lightning and Surge Protection )
1) Types of Protection
- โดยทัวไปจะใช้
่ Surge Arresters 1 ตัวต่อเฟส
โดยต่อระหว่างเฟสและ Ground เพื่อจากัดแรงดัน
ที่ขดลวดมอเตอร์ให้มีค่าตา่ เมื่อมี Lightning Surge
และ Switching Surge
- ใช้ Surge Capacitors เพื่อลดความชันของ
ลูกคลื่น Lightning Surge and Switching Surge
68
2 ) Locations of Surge Protection
- Surge Arrester และ Surge Capacitor
ต้องต่อใกล้ขวั ้ มอรตอร์
จะต่อห่างไม่เกิน 1 m จากขัว้ มอเตอร์
- วงจร Supply Circuit
จะต้องเข้ากับ Surge Equipment ก่อน
แล้วต่อไปยังขัว้ มอเตอร์

69
3 ) When to Apply Surge Protection
- ใช้กบั มอเตอร์แรงดันปานกลาง
ขนาดมากกว่า 400 kW ขึน้ ไป
- ใช้กบั มอเตอร์ขนาด 150 kW ซึ่งต่อกับ
สาย Overhead Line ที่แรงดันเดียวกับมอเตอร์
- เมื่อนาหม้อแปลงที่ต่อกับมอเตอร์
ต่อเข้ากับสาย Overhead Line
ในบางครัง้ ยังคงต้องการ Surge Protection
ในการป้ องกัน Lightning Surge ด้วย

70
8.22 การป้ องกันการไม่หมุนหรือหมุนกลับทิศทาง

1) Protection Against Failure to Rotate


- สภาพเช่นนี้ เกิดขึน้ ถ้า Supply 3 เฟส ขาดหายไป
ทัง้ 3 เฟส หรือ ขาดหายไป 1 เฟส ( Single Phasing )
แล้ว จะ Start Motor ไม่ได้

- ถ้า Motor หรือ Driven Load ถูกตรึงอยู่กบั ที่


ทาให้มอเตอร์หมุนไม่ได้ ( Jammed )
71
การปัองกันทาได้ดงั นี้

1. ใช้รีเลย์ตรวจจับการเกิด Single Phasing

2. ใช้วิธีวดั ความเร็วด้วย Shaft Speed Sensor


และ Timer เพื่อตรวจสอบว่า Motor
ได้วิ่งถึงความเร็วแล้วหรือยัง
ตามเวลาที่ตงั ้ ไว้ ( Preset Time )

72
การปัองกันทาได้ดงั นี้
3. สาหรับ Induction Motor และ Brushless Synchronous Motor
ที่ยอมให้เวลา Locked Rotor นานกว่าเวลา
Normal Acceleration Time การป้ องกัน จะใช้
Time-delay Phase Overcurrent Relay ธรรมดา
4. สาหรับ Brush-type Synchronous Motor
จะมีเวลา Locked Rotor น้ อยกว่าเวลา Normal Acceleration
วิธีป้องกันใช้ Frequency-Sensitive Relay
ต่อกับ Field Discharge Resistor และ Timer
73
การปัองกันทาได้ดงั นี้ (ต่อ)

5. สาหรับ Brush-type Synchronous Motor


จะมีเวลา Locked Rotor มากกว่า
เวลา Normal Acceleration Time
การป้ องกันใช้ Damper Winding Protection
และ Incomplete Starting Sequence
ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว

74
2 ) Protection Against Reverse Rotation

- การที่ Motor หมุนกลับทางนัน้ เกิดจากการสลับเฟส


ของไฟฟ้ า 3 Phase
- การหมุนกลับทางอาจทาให้เกิด
ความเสียหายทางกลอย่างมาก

75
8.23 การป้ องกันทางกล
( Mechanical and Other Protection )

1) Bearing and Lubricating Systems


- มี Temperature Sensor หลายแบบที่ใช้ตรวจวัด
อุณหภูมิบน Sleeve Bearing เช่น
Resistance Temperature Detectors ( RTDs )
Thermocouples
Thermostats
Temperature Bulbs
76
มี Alarm & Trip ที่ใช้กบั
Bearing Lubricating System เพื่อ Monitor

1) Lubricating Oil Temperature


2) Cooling Water Temperature
3) Lubricating Oil Flow
4) จาก 3 อาจใช้ Pressure Switches ที่เหมาะสม

77
2 ) Ventilation and Cooling Systems
- มี Alarm และ Trip
- การตรวจวัดมีดงั นี้
1) ตรวจวัด High-presser Drop ที่ Filter
ของระบบระบายความร้อนของมอเตอร์
2) ตรวจวัดการ Air Flow จาก Blower ภายนอก
3) สาหรับ Motor แบบ Water-cooled Motor
วัดความดันน้า , Flow
4) สาหรับ Inert Gas-cooled Motors ต้องมีการ
ตรวจวัดของ Pressure และ Temperature Sensors
78
3 ) Vibration Detectors

- ที่ High Speed Driver ควรมี


Vibration Detectors สาหรับป้ องกัน
โดยให้มี Alarm หรือ Trip

79
8.24 ตัวอย่างวิธีการและอุปกรณ์ ที่ใช้ในการป้ องกัน

มอเตอร์เหนี่ยวนำ
การป้ องกันมอเตอร์เหนี่ ยวนานัน้
จะขึน้ อยู่กบั ขนาดของมอเตอร์
สามารถแบ่งได้ดงั นี้
- มอเตอร์ขนาดปานกลาง  500 kW
- มอเตอร์ขนาดใหญ่  500 kW

80
มอเตอร์เหนี่ ยวนาที่มีขนาดปานกลาง ( ตา่ กว่า 500 kW )
Bus

48
Control
Package
27
47
49 50
50 51

50 GS

MOTOR

รูปที่ 8.5 วงจรป้ องกันมอเตอร์เหนี่ ยวนาที่มีขนาดปานกลาง ( ตา่ กว่า 500 kW )


81
Protective Relays
1 . Undervoltage Relay ( 27 )
2 . Thermal overload Relay ( 49 / 50 )
3 . Instantaneous Overcurrent Relay ( 50GS )
4 . Incomplete Sequence Timer ( 48 )

82
มอเตอร์เหนี่ ยวนาที่มีขนาดใหญ่ ( สูงกว่า 500 kW )
Bus

48
Control
Package
27
47

49 50 46
50
87

50 GS

49

MOTOR RTD

รูปที่ 8.6 วงจรป้ องกันมอเตอร์เหนี่ ยวนาที่มีขนาดใหญ่ ( สูงกว่า 500 kW )


83
Protective Relays
1 . Undervoltage Relay ( 27 )
2 . Current Balance Relay ( 46 )
3 . Temperature Relay ( 49 )
4 . Time Overcurrent Stalled Rotor Relay ( 49 / 50 )
5 . Instantaneous Overcurrent Relay ( 50 )
6 . Instantaneos Overcurrent Ground Relay ( 50GS )
7 . Differential Relay ( 87 )
8 . Incomplete Sequence Timer ( 48 )
84
Motor Multifunction Relay
บริษทั ผลิต Relay ป้ องกันมอเตอร์ปัจจุบนั นิยม
ทา Relay ตัวเดียว แต่มี Functions หลายแบบ
เรียกว่า Motor Multifunction Relay
Relay แบบใหม่นี้มี Functions มากมาย เช่น
- Protection
- Measurement and Monitoring
- Control
- Communication
- etc
85
Motor Multifunction Relay

86
87
Device Functions
49 Thermal Overload
50 / 51 Short-Circuit
48 / 51 Excessive Start Time
50S / 51LR Locked-Rotor While Running
or at Start-Up
46 Unbalance,Loss of Phase and
Single Phasing
50N / 51N Earth Fault

88
Device Functions
37 Loss of Load
66 Limitation of the Number of
Start, Time Between Start
86 Latching of Trip Output relay
30 Annunciator Relay
14 Under-Speed Device
38 Bearing Protective Device
74 Alarm Relay
52 AC Circuit Breaker
89
90

You might also like