You are on page 1of 136

คณะอนุกรรมการมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

ในคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมความปลอดภัย
มาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

- ร่าง -
มาตรฐานออกแบบ
และติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
วสท. XXXX-57

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
The Engineering Institute of Thailand under H.M. The King’s Patronage
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

มาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
I

คณะกรรมการอานวยการ
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ปี 2557-2559
1. ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายก
2. รศ.ดร.วัชรินทร์ กาสลัก อุปนายก คนที่ 1
3. ศ.ดร.เอกสิทธิ์ ลิ้มสุวรรณ อุปนายก คนที่ 2
4. รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ อุปนายก คนที่ 3 และประธานกรรมการต่างประเทศ
5. รศ.สิริวัฒน์ ไชยชนะ เลขาธิการ
6. ผศ.ศักดิ์ชัย สกานุพงษ์ เหรัญญิก
7. นางสาวบุษกร แสนสุข นายทะเบียน
8. ดร.พงศ์ธร ธาราไชย ประชาสัมพันธ์และโฆษก
9. รศ.ดร.อมร พิมานมาศ สาราณียกร
10. นายชัชวาล คุณค้้าชู กรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ
11. รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ประธานกรรมการโครงการ
12. ศ.ดร.ปิติ สุคนธสุขกุล ปฏิคม
13. ผศ.ดร.คมสัน มาลีสี ประธานสมาชิกสัมพันธ์
14. นายไกร ตั้งสง่า ประธานกรรมการสวัสดิการ
15. ศ.ดร.ต่อกุล กาญจนาลัย กรรมการกลาง
16. รศ.ดร.สุขุม สุขพันธ์โพธาราม กรรมการกลาง
17. นายสืบศักดิ์ พรหมบุญ กรรมการกลาง
18. ดร.ชวลิต ทิสยากร กรรมการกลาง
19. นางจินตนา ศิริสันธนะ ประธานวิศวกรหญิง
20. นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย ประธานวิศวกรอาวุโส
21. ผศ.ดร.วิทิต ปานสุข ประธานยุววิศวกร
22. รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา
23. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
24. นายบุญพงษ์ กิจวัฒนาชัย ประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล
25. รศ.ดร.ตรีทศ เหล่าศิริหงษ์ทอง ประธานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
26. นายสุรชัย พรจินดาโชติ ประธานสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่โลหะการและปิโตรเลียม
27. รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองค้า ประธานสาขาวิศวกรรมเคมี
28. ผศ.ยุทธนา มหัจฉริยวงศ์ ประธานสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
29. ดร.ก่อเกียรติ บุญชูกุศล ประธานสาขาวิศวกรรมยายนต์
30. นายพิศาล จอโภชาอุดม ประธานสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตรอ์
31. รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล (ผู้แทน) ประธานสาขาภาคเหนือ 1 (เชียงใหม่)
32. ดร.ก้าพล ทรัพย์สมบูรณ์ ประธานสาขาภาคเหนือ 2 (พิษณุโลก)
33. นายชัยชาญ วรนิทัศน์ (ผู้แทน) ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 (ขอนแก่น)
34. ศ.ดร.สุขสันติ์ หอพิบูลสุข ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 (นครราชสีมา)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
II

คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมความปลอดภัย
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ปี 2557-2559
1. นายเกชา ธีระโกเมน ที่ปรึกษา
2. นายจักรพันธ์ ภวังค์คะรัตน์ ที่ปรึกษา
3. พันต้ารวจเอกโชคชัย ยิ้มพงษ์ ที่ปรึกษา
4. พันต้ารวจเอกเทวานุวัฒน์ อนิรุทธเทวา ที่ปรึกษา
5. ดร.ธเนศ วีระศิริ ที่ปรึกษา
6. นายลือชัย ทองนิล ที่ปรึกษา
7. นายสินิทธิ์ บุญสิทธิ์ ที่ปรึกษา
8. นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ ที่ปรึกษา
9. นายสมบูรณ์ ธนาภรณ์ ที่ปรึกษา
10. นายวีระ ซื่อสุวรรณ ที่ปรึกษา
11. นางสาวบุษกร แสนสุข ประธานคณะกรรมการ
12. นายอุทัย ค้าเสนาะ รองประธานคณะอนุกรรมการ
13. นายกิตติ สุขุตมตันติ กรรมการ
14. นายศุภเชษฐ์ สมรูป กรรมการ
15. นายสมพงษ์ ไกรอุดม กรรมการ
16. นายสุกิตติ เจดีย์วุฒิ กรรมการ
17. นายบุญพงษ์ กิจวัฒนาชัย กรรมการ
18. ผศ.ดร.ณัฐศักดิ์ บุญมี กรรมการ
19. นายชาญณรงค์ ไวยพจน์ กรรมการ
20. รศ.ดร.ประกอบ สุรวัฒนาวรรณ กรรมการ
21. รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ กรรมการ
22. นายวิเชียร บุษยบัณฑูร กรรมการ
23. นายปิติ อนนตพันธ์ กรรมการและเลขานุการ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
III

คณะผู้จัดทา
มาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ปี 2557-2559
ที่ปรึกษา
1. ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ กรรมการ
2. นายอารักษ์ บุญมา กรรมการ
3. นายพิชญะ จันทรนุวัฒน์ กรรมการ

คณะอนุกรรมการ
1. นายธวัช มีชัย ประธาน
2. นายสุพฒั น์ เพ็งมาก อนุกรรมการ
3. นายวินัย อนันต์ณัฏฐพงศ์ อนุกรรมการ
4. นายระวิ ดวงประเสริฐ อนุกรรมการ
5. นายพงศ์กฤษฎ์ ค้าราชา อนุกรรมการ
6. นายสุชาติ จงควินิต อนุกรรมการ
7. นายปานชนก เตมียเสน อนุกรรมการ
8. นายพรชัย บรรจงใหม่ อนุกรรมการ
9. ผศ.ดร.ส้าเริง ฮินท่าไม้ อนุกรรมการ
10. นายอภิวัฒน์ บัญชาจงรุรัตน์ อนุกรรมการ
11. นายวิทยา รักษ์พงษ์ อนุกรรมการ
12. ผศ.ชลชัย ธรรมวิวัฒนุกูร อนุกรรมการ
13. นายวิเชียร บุษยบัณฑูร อนุกรรมการ
14. นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี อนุกรรมการและเลขานุการ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนดไฟฟ้า
IV

คานา
มาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า เป็นมาตรฐานที่ใช้เพื่อก้าหนดแนวทางการออกแบบและติดตั้ง
เครื่องก้าเนิดไฟฟ้า รวมทั้งระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เครื่องก้าเนิดไฟฟ้าสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าส้า รองได้
ตลอดเวลาขณะที่กระแสไฟฟ้าดับหรือขัดข้อง มาตรฐานเล่มนี้ก้าหนดตามเกณฑ์อย่างต่้าของความปลอดภัย ในกรณีที่
มีกฎหมายหรือข้อบังคับอื่นใดนอกเหนือจากมาตรฐานนี้ให้ท้าตามกฎหมายหรือข้อบังคับอื่นที่ก้าหนดไว้ นอกเหนือจาก
นั้นให้เป็นไปตามมาตรฐานออกแบบและติดตั้งนี้

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์เห็นว่ามาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องก้าเนิดไฟฟ้ามี
ความส้าคัญเนื่องจากเครื่องก้าเนิดไฟฟ้ามีความเกี่ยวเนื่องกับความปลอดภัยในชีวิตและความสะดวกสบายของมนุษย์
จึงได้จัดท้ามาตรฐานเล่มนี้ขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบและติดตั้งเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
ทั้งประเทศเพื่อป้องกันความสับสน

เนื้อหาในมาตรฐานครอบคลุมถึงห้องเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่อง ต้าแหน่งติดตั้ง วัสดุและอุปกรณ์ติดตั้ง


การติดตั้งทางกล การติดตั้งทางไฟฟ้า สิ่งแวดล้อม การทดสอบและการบ้ารุงรักษารวมถึงภาคผนวกซึ่งกล่าวถึง ผนวก
ก. การใช้งาน ก้าลัง และคุ ณสมบัติของเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า และผนวก ข. การค้านวณต่าง ๆ เกี่ยวกับระบบเครื่อง
ก้าเนิดไฟฟ้า

วสท.ขอขอบคุณท่านคณะท้างานไว้ ณ ที่นี้ และหากมาตรฐานนี้มีข้อคิดเห็นหรือข้อแนะน้าประการใด กรุณา


แจ้งให้ วสท.ได้รับทราบด้วยเพื่อจะได้ใช้ประกอบการพิจารณาในการจัดท้ามาตรฐานครั้งต่อไป
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
V

สารบัญ
บทที่ 1. วัตถุประสงค์ ขอบเขต นิยาม และข้อกาหนดทั่วไป 1
บทที่ 2. ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง 20
2.1 ห้องเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 20
2.2 ฐานแท่นเครื่อง 24
2.3 ต้าแหน่งติดตั้ง 25
บทที่ 3. มาตรฐานวัสดุและอุปกรณ์ติดตั้ง 26
3.1 เครื่องต้นก้าลัง 26
3.2 เครือ่ งก้าเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 34
3.3 ตู้ครอบเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า – Enclosures 38
บทที่ 4. มาตรฐานการติดตั้งทางเครื่องกล 40
4.1 แท่นรองรับความสั่นสะเทือน 40
4.2 ระบบท่อไอเสีย 42
4.3 ระบบระบายอากาศ (Ventilation system) ภายในห้องเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 44
4.4 ระบบระบายความร้อนด้วยน้้าหรือของเหลวระบายความร้อนของเครื่องยนต์ขับเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 47
4.5 ระบบความร้อนของเครื่องยนต์ขับเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าด้วยน้้าหรือของเหลวระบายความร้อนแบบต่าง ๆ 48
4.6 ระบบน้้ามันเชื้อเพลิง 55
4.7 ระบบป้องกันเสียง (Soundproof System) ห้องเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 59
บทที่ 5. มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า 61
5.1 รูปแบบการติดตั้งทั่วไปส้าหรับระบบแรงดันต่้า 61
5.2 การจัดระดับชั้นของระบบจ่ายไฟฟ้ส้ารอง 64
5.3 เกณฑ์ทั่วไปประกอบการพิจารณาเบื้องต้นในการก้าหนดประเภทการจ่ายระบบไฟฟ้าส้ารอง 67
5.4 การเชื่อมต่อทางไฟฟ้าและการเดินสายไฟฟ้า 72
5.5 การป้องกันทางไฟฟ้า 72
5.6 ระบบสายดิน 74
5.7 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟ 77
5.8 การขนานแหล่งจ่ายไฟเข้าระบบ 82
บทที่ 6. การทดสอบเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า 83
6.1 การทดสอบเพื่อส่งมอบงาน (On site acceptance test) 83
6.2 การทดสอบประจ้าสัปดาห์ 84
6.3 การทดสอบประจ้าเดือน 84

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนดไฟฟ้า
VI
6.4 การทดสอบประจ้าปี 84
6.5 ทุก ๆ 3 ปี หรือ 36 เดือน 85
บทที่ 7. มาตรฐานการซ่อมบารุงรักษาเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า 86

ภาคผนวก
ก. การใช้งาน ก้าลังและคุณสมบัติของเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 92
ข. การค้านวณต่าง ๆ เกี่ยวกับระบบเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 98
ค. สิ่งแวดล้อม (Environmental) 110
ง. การจัดวางระบบไฟฟ้าส้ารองฉุกเฉินส้าหรับสถานพยาบาล 120

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
VII

สารบัญรูป
บทที่ 2 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง 20
รูปที่ 2.1 แสดงการติดตั้งเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ 20
รูปที่ 2.2 แสดงการติดตั้งเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า และต้าแหน่งของอากาศเข้า 21
รูปที่ 2.3 แสดงการติดตั้งจ้านวนมากกว่า 1 ชุดและต้าแหน่งของช่องอากาศเข้า 22
รูปที่ 2.4 แสดงต้าแหน่งช่องอากาศเข้า-ออกที่เหมาะสม และไม่เหมาะสม 22
รูปที่ 2.5 แสดงการติดตั้งเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าบนฐานแท่นเครื่อง 25
บทที่ 3 มาตรฐานวัสดุและอุปกรณ์ติดตั้ง 26
รูปที่ 3.1 วงจรของระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ขับเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าด้วยไฟฟ้า 27
รูปที่ 3.2 การกระตุ้นเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าแบบ Self – excited 36
รูปที่ 3.3 การกระตุ้นเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าแบบ Separately – excited (PMG) 36
รูปที่ 3.4 รูปแบบของแรงดันไฟฟ้าขณะจ่ายโหลดและปลดโหลด 37
รูปที่ 3.5 คุณลักษณะการสตาร์ทมอเตอร์โดยตรง 38
บทที่ 4 มาตรฐานการติดตั้งทางเครื่องกล 40
รูปที่ 4.1 แสดงการติดตั้งเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าบนแท่นรองรับความสั่นสะเทือน 41
รูปที่ 4.2 ระบบท่อไอเสีย 44
รูปที่ 4.3 แสดงต้าแหน่งที่เหมาะสมของอากาศเข้าและอากาศออกจากห้องเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 45
รูปที่ 4.4 แสดงระดับอุณหภูมิโดยรอบขณะเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าท้างาน 46
รูปที่ 4.5 ระบบระบายความร้อนชนิดรังผึ้งระบายความร้อนติดตั้งอยู่บนแท่นเดียวกับเครื่องยนต์ 48
รูปที่ 4.6 ระบบระบายความร้อนชนิดรังผึ้งระบายความร้อนแยก (Remote radiator cooling) 49
รูปที่ 4.7 แสดงการติดตั้งรังผึ้งระบายความร้อนชนิดแยกพร้อมด้วยเครื่องสูบและถังน้้า หรือของเหลวระบาย
ความร้อนช่วย (Remote radiator with auxiliary coolant pump and auxiliary tank) 50
รูปที่ 4.8 รังผึ้งระบายความร้อนชนิดแยกพร้อมถัง (Hot well tank) และเครื่องสูบน้้า หรือของเหลวระบาย
ความร้อนช่วย (Auxiliary coolant pump) 51
รูปที่ 4.9 ระบบระบายความร้อนชนิดถังแลกเปลี่ยนความร้อนติดตั้งอยู่บนเครื่องยนต์ (Set-mounted heat
exchanger cooling) 54
รูปที่ 4.10 ระบบระบายความร้อนชนิดถังแลกเปลี่ยนความร้อนคู่ (Dual heat exchanger systemwith
secondary remote radiator) 55
รูปที่ 4.11 ระบบน้้ามันเชื้อเพลิงกรณีถังน้้ามันเชื้อเพลิงส้ารองอยู่สูงกว่าเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 58
รูปที่ 4.12 ระบบน้้ามันเชื้อเพลิงกรณีถังน้้ามันเชื้อเพลิงส้ารองอยู่ต่้ากว่าเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 58
บทที่ 5 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า 61
รูปที่ 5.1 เครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 1 ชุดติดตั้งเพื่อรองรับการจ่ายโหลดทั้งหมด 61
รูปที่ 5.2 เครื่องก้าเนิดไฟฟ้ามากกว่า 1 ชุดติดตั้งเพื่อรองรับการจ่ายโหลดทั้งหมด 62

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนดไฟฟ้า
VIII
รูปที่ 5.3 เครื่องก้าเนิดไฟฟ้า 1 ชนิดติดตั้งเพื่อส้ารองไว้ส้าหรับการจ่ายโหลดที่จัดไว้ 62
รูปที่ 5.4 เครื่องก้าเนิดไฟฟ้ามากกว่า 1 ชุดติดตั้งเพื่อส้ารองไว้ส้าหรับการจ่ายโหลดที่จัดไว้ 63
รูปที่ 5.5 ระบบ 3 เฟส 3 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟ้าอัตโนมัติชนิด 3 ขั้ว 74
รูปที่ 5.6 ระบบ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติชนิด 3 ขั้ว การต่อระบบสายดินจะต่อ
ที่เมนไฟฟ้าเข้าอาคารเพียงจุดเดียว 75
รูปที่ 5.7 ระบบ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติชนิด 4 ขั้ว การต่อระบบสายดินจะต่อที่
เมนไฟฟ้าเข้าอาคารที่เครื่องก้าเนิดไฟฟ้าส้ารอง 75
รูปที่ 5.8 การต่อลงดินของระบบจ่ายไฟแยกต่างหาก 76
รูปที่ 5.9 การต่อสายดินของเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าระบบ 1 เฟส 2 สาย 76
รูปที่ 5.10 ก. การต่อสายดินของเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าระบบ 1 เฟส 3 สาย 110 V/220 V 76
รูปที่ 5.10 ข. การต่อสายดินของเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าระบบ 1 เฟส 3 สาย 220 V 76
ภาคผนวก ก. การใช้งานกาลังและคุณสมบัติของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 92
รูปที่ ก. 1 พิกัดก้าลังแบบต่อเนื่อง (Continuous power (COP) หรือ Base load power) 94
รูปที่ ก. 2 พิกัดก้าลังพร้อมใช้ (Prime power : PRP) 95
รูปที่ ก. 3 พิกัดก้าลังพร้อมใช้แบบจ้ากัดเวลา Limited-Time running Power (LTP) 96
รูปที่ ก. 4 พิกัดก้าลังส้ารองฉุกเฉิน (Emergency standby power : ESP) 96
ภาคผนวก ข. การคานวณต่าง ๆ เกี่ยวกับระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 98
รูปที่ ข. 1 ตัวอย่างระบบท่อไอเสียส้าหรับการค้านวณ 105
รูปที่ ข. 2 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดันย้อนกลับของท่อเก็บเสียงไอเสียกับก๊าซไอเสีย (Typical
Muffler Exhaust Back Pressure vs. Gas Velocity) 106
รูปที่ ข. 3 กราฟแสดงค่าความดันย้อนกลับของท่อไอเสียขนาดต่าง ๆ (Exhaust Back Pressure in Nominal
Inch (mm) Pipe Diameters) 107
รูปที่ ข. 4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานและความยาวของสายแบตเตอรี่ (Resistance vs.
Lenth for Various AWG Cable Sizes) 108
ภาคผนวก ค. สิ่งแวดล้อม (Environmental) 110
รูปที่ ค. 1 ผังบริเวณสถานที่เก็บรักษาน้้ามันลักษณะที่หนึ่ง 113
รูปที่ ค.2 ผนังบริเวณสถานที่เก็บน้้ามันลักษณะที่สอง 115
ภาคผนวก ง. การจัดวางระบบไฟฟ้าสารองฉุกเฉินสาหรับสถานพยาบาล 120
รูปที่ ง. 1 การจัดวางระบบไฟฟ้า (System Arrangement) อย่างน้อยที่สุดส้าหรับสถานพยาบาลที่ใช้ไฟฟ้า
ไม่เกิน 150 kVA 120
รูปที่ ง.2 การจัดวางระบบไฟฟ้า (System Arrangement) อย่างน้อยที่สุดส้าหรับสถานพยาบาลที่ใช้ไฟฟ้า
เกิน 150 kVA 120

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
IX

สารบัญตาราง
บทที่ 3 มาตรฐานวัสดุและอุปกรณ์ติดตั้ง 26
ตารางที่ 3.1 ระบบสตาร์ทด้วยไฟฟ้าใช้สวิทช์โซลีนอยด์สั่งให้ชุดมอเตอร์สตาร์ทท้าการสตาร์ทเครื่งยนต์ 27
ตารางที่ 3.2 แสดงรายการอุปกรณ์แจ้งเตือนเพื่อความปลอดภัย ส้าหรับอุปกรณ์หรือวงจรไฟฟ้าในระดับ 1 30
บทที่ 4 มาตรฐานการติดตั้งทางเครื่องกล 40
ตารางที่ 4.1 ขนาดของท่อน้้ามันเชื้อเพลิงจะขึ้นอยู่กับอันตราการไหลสูงสุดของน้้ามันเชื้อเพลิงภายในท่อ 57
บทที่ 5 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า 61
ตารางที่ 5.1 ประเภทของระบบการจ่ายไฟฟ้าส้ารอง 65
ตารางที่ 5.2 ระดับชั้นของระบบการจ่ายไฟฟ้าส้ารองให้โหลดเป็นระยะเวลาต่้าสุดโดยไม่ต้องเติมเชื้อเพลิง 65
ตารางที่ 5.3 เกณฑ์ทั่วไปประกอบการพิจารณาเบื้องต้นในการก้าหนดประเภทการจ่ายระบบไฟฟ้าส้ารอง
(Condensed General Criteria for Preliminary) 67
บทที่ 7 มาตรฐานการซ่อมบารุงรักษาเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า 86
ตารางที่ 7.1 ค้าแนะน้าวิธีการซ่อมบ้ารุงรักษาและความถี่ในการซ่อมบ้ารุง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการซ่อมบ้ารุง
รักษาคร่าว ๆ กรณีไม่มีคู่มือหรือค้าแนะน้าจากบริษัทผู้ผลิต 87

ภาคผนวก ก. การใช้งานกาลังและคุณสมบัติของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 92
ตารางที่ ก. 1 แสดงค่าต่าง ๆ ของเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าระดับสมรรถนะ G1, G2, G3 และG4 97
ภาคผนวก ข. การคานวณต่าง ๆ เกี่ยวกับระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 98
ตารางที่ ข. 1 พื้นที่หน้าตัดของท่อเก็บเสียงที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่าง ๆ 98
ตารางที่ ข. 2 ความยาวเทียบเท่าของอุปกรณ์ข้อต่อระบบท่อหน่วยเป็นฟุต (เมตร) (Equivalent Lengths of Pipe
Fitting in Feet (Meters) 99
ตารางที่ ข. 3 ค่าความร้อนโดยประมาณที่แผ่จากระบบท่อเก็บเสียงไอเสียและท่อไอเสียซึ่งไม่ได้หุ้มฉนวนกันความ
ร้อน (Estimated Heat Emitted from Uninsulated Exhaust Piping and Mufflers) 101
ภาคผนวก ค. สิ่งแวดล้อม (Environmente) 110
ตารางที่ ค. 1 ชนิดน้้ามันเชื้อเพลิงและจุดวาบไฟ 111

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนดไฟฟ้า
1
มาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
(Design and Installation Standard of Generator Set)

บทที่ 1
วัตถุประสงค์ ขอบเขต นิยาม และข้อกาหนดทั่วไป

วัตถุประสงค์ของการออกมาตรฐาน คือ เพื่อกาหนดแนวทางการออกแบบ และติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ชนิด


ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ดีเซลที่มีความเร็วรอบตั้งแต่ 1,500 รอบต่อนาทีขึ้นไปเท่านั้น รวมทั้งระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าสารองได้ตลอดเวลา ขณะที่กระแสไฟฟ้า ดับ หรือขัดข้อง โดย
มาตรฐานนี้จะมีขอบเขตครอบคลุมถึง
 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า, ฐานแท่นเครื่อง และตาแหน่งติดตั้ง
 วัสดุ และอุปกรณ์ติดตั้ง
 การติดตั้งทางกล
 การติดตั้งทางไฟฟ้า
 สิ่งแวดล้อม
 การทดสอบ
 การบารุงรักษา
 พิกัด (Rating) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า และการกาหนดขนาดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

นิยามและข้อกาหนดทั่วไปที่ระบุไว้ในมาตรฐานเล่มนี้ มีจุ ดมุ่งหมายเพื่อสื่อความหมายใช้เรียกชื่อและอธิบาย


ลักษณะรูปแบบ หรือการกระทาเพื่อให้ผู้ใช้มาตรฐานได้เข้าใจขอบเขต และลักษณะอุปกรณ์ หรือการกระทาที่กาหนด
ไว้ในมาตรฐาน

1.1 กอฟเวอร์เนอร์ (Governor) หมายถึง


กอฟเวอร์เนอร์ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า คืออุปกรณ์ที่ติดตั้งบนเครื่องต้นกาลัง เพื่อควบคุมการจ่ายน้ามันเชื้อเพลิง
และควบคุมความเร็วรอบให้คงที่ภายใต้โหลดในสภาวะต่าง ๆ สามารถปรับความเร็วรอบของเครื่องยนต์ต้น
กาลัง และควบคุมการเปลี่ยนแปลงความเร็วรอบได้จากสภาวะไม่มีโหลดถึงสภาวะมีโหลดเต็มที่ (No load to
full load condition)

1.2 กระแส (Current) หมายถึง


การถ่ายโอนประจุไฟฟ้าสุทธิต่อหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น แอมแปร์
หมายเหตุ คำว่ำ “กระแส” ในที่นี้จะใช้ในควำมหมำยของกระแสไฟฟ้ำ

1.3 กระแสตรง (ดีซี) (Direct Current : DC) หมายถึง


กระแสตรงหมายถึงกระแสไฟฟ้าที่ไม่มีการกลับทิศทางเป็นระยะ ๆ ด้วยช่วงเวลาที่คงที่

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
2
1.4 กระแสสตาร์ท (Starting Current) หมายถึง
เป็นค่ากระแสเริ่มต้นที่ถูกดึงโดยมอเตอร์เมื่อเริ่มสตาร์ทจากสภาพหยุดนิ่ง

1.5 กระแสสลับ (Alternating Current : AC) หมายถึง


กระแสเป็นคาบที่มีค่าเฉลี่ยในหนึ่งคาบเท่ากับศูนย์ถ้าไม่ระบุไว้เป็นอย่างอื่นอย่างชัดเจน กระแสสลับจะหมายถึง
กระแสที่กลับทิศทางเป็นระยะ ๆ ด้วยช่วงเวลาที่คงที่โดยมีค่าเป็นบวกและลบสลับกันไป

1.6 กราวด์, ดิน, การต่อลงดิน หมายถึง


สิ่งเชื่อมต่อที่นาไฟฟ้าได้และต่ออยู่โดยเจตนาหรือโดยบังเอิญระหว่างวงจรไฟฟ้าหรือบริภัณฑ์กับดิน หรือกับวัตถุ
ที่นาไฟฟ้าได้ที่ใช้แทนดิน

1.7 การกระพริบ (Flicker) หมายถึง


(1) การรับรู้ฝังใจที่มีต่อการกระเพื่อมของความสว่างหรือสี ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อความถี่ของการแปรผันที่สังเกตเห็น
นั้น อยู่ระหว่าง 2-3 เฮิรตซ์กับความถี่หลอมรวมของภาพ
(2) การแปรค่าความสว่างที่เกิดขึ้นแบบซ้าซาก ของพื้นที่ที่ใช้แสดงผลภาพขาวดาหรือภาพสี ซึ่งมีผลให้การ
มองเห็นมีลักษณะเป็นฟังก์ชั่นของอัตราการซ้า, วัฏจักรการทางาน, ความสว่าง และคุณภาพการ
จางลงของภาพ

1.8 การกระตุ้นตัวเอง (Self-Excited) หมายถึง


ระบบการกระตุ้นของเครื่องกาเนิด ไฟฟ้า ซึ่งใช้พลังงานจากกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ด้วยตัวเองจากขดลวดอาร์
เมเจอร์ โดยไม่ใช้พลังงานจากระบบอื่น

1.9 การกระตุ้นแบบแยก (Separately Excited หมายถึง


ระบบการกระตุ้นของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ที่ใช้แหล่งพลังงานอื่นที่ไม่ได้เกิดจากกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ด้วยตัวเอง

1.10 การควบคุมความถี่ (Frequency Regulation) หมายถึง


อัตราร้อยละของค่าเปลี่ยนแปลงความถี่ไฟฟ้ากาลังในภาวะฉุกเฉินหรือภาวะสารองเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
จากสถานะอยู่ตัวไร้โหลดไปสู่สถานะอยู่ตัวโหลดเต็ม นั่นคือ
%R = [(Fnl – Ffl)/Fnl]100
โดยที่ Fnl และ Ffl เป็นความถี่ในสถานะอยู่ตัวขณะไร้โหลดและขณะโหลดเต็มตามลาดับ

1.11 การควบคุมแรงดัน (Voltage Regulation) หมายถึง


เป็นการควบคุมแรงดันไฟฟ้าไม่ให้เปลี่ยนแปลงเกินค่าที่กาหนดเมื่อโหลดเปลี่ยนหรือที่สภาวะโหลดคงที่ (Steady
State) โดยมีค่าเป็นร้อยละของแรงดันพิกัด โดยคานวณได้ตามสมการดังต่อไปนี้
% V = [(Vnl-Vfl) /Vnl] x100
เมื่อ Vnl = แรงดันไฟฟ้าขณะไม่มีโหลด (No load voltage)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
3
Vfl = แรงดันไฟฟ้าขณะมีโหลดเต็มพิกัด (Full load voltage)

1.12 การจัดระดับความสาคัญการจ่ายโหลดของระบบจ่ายไฟฟ้าสารองแบ่งเป็น 2 ระดับดังนี้


1.12.1 ระดับ 1 (Level 1) เป็นระบบการจ่ายไฟฟ้าสาหรับอุปกรณ์ ที่กรณีเกิดความล้มเหลวของระบบการ
จ่ายไฟฟ้าแล้วอุปกรณ์นั้นไม่สามารถทางานตามปกติได้และเป็นเหตุให้เกิดการสูญเสียชีวิตหรือการ
บาดเจ็บหนักได้เช่น
- ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินเพื่อการช่วยชีวิต (Life safety illumination)
- ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire detection and alarm systems)
- ระบบลิฟท์ (Elevators)
- เครื่องสูบน้าดับเพลิง (Fire pumps)
- ระบบสื่อสารสาธารณะ (Public safety communications systems)
- กระบวนการผลิ ต อื่น ที่ เ มื่ อ หยุ ด กระบวนการแล้ ว เป็ น เหตุ ใ ห้ เ กิ ด อัน ตรายร้า ยแรงต่อ ชี วิ ต หรื อ
สุขอนามัย (Industrial processes where current interruption would produce serious
life safety or health hazards)
- ระบบระบายอากาศและระบบระบายควันไฟที่จาเป็น (Essential ventilating and amoke
removal systems)
- ระบบอื่นที่พิจารณาแล้วเห็นควรจัดให้อยู่ในระดับ 1
1.12.2 ระดับ 2 (Level 2) เป็นระบบการจ่ายไฟฟ้าสาหรับอุปกรณ์ที่กรณีเกิดความล้มเหลวของระบบจ่าย
ไฟฟ้าแล้วอุปกรณ์นั้นไม่สามารถทางานตามปกติได้และเป็นเหตุให้มีผลกระทบต่อความปลอดภัยใน
ชีวิตของผู้ใช้งานน้อย หรือ อุปกรณ์ในระดับที่ 1 ที่ได้รับการพิจารณาแล้วจากผู้ใช้งานยินยอมให้มี
ความยืดหยุ่นในการใช้งานให้สูงขึ้น เช่น
- ระบบปรับอากาศ (Heating and refrigeration systems)
- ระบบสื่อสาร (Communications systems)
- ระบบระบายอากาศและระบบระบายควัน (Ventilation and amoke removal systems)
- ระบบบาบัดน้าเสีย (Sewage disposal)
- ระบบแสงสว่าง (Lighting)
- กระบวนการผลิตทางด้านอุตสาหกรรม (Industrial processes)
- ระบบอื่นที่พิจารณาแล้วเห็นควรจัดให้อยู่ในระดับ 2

1.13 การชดเชยกระแสไหลวน (Cross Current Compensation) หมายถึง


การควบคุมค่ากาลังไฟฟ้าเสมือน (Reactive Power) ที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจ่ายออกมาในขณะเดินเครื่องแบบ
ขนาน ให้มีค่าเท่า ๆ กัน โดยเกิดแรงดันตกน้อยที่สุด

1.14 การเชื่อมประสานการจ่ายไฟ (Synchronization) หมายถึง


การเชื่อมประสานการจ่ายไฟของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองเข้ากับแหล่งจ่ายไฟอื่นให้สอดคล้องกันได้ โดยเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าดังกล่าวจะต้องมี ความถี่ แรงดัน และ เฟส เดียวกันกับแหล่งจ่ายไฟนั้น

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
4
1.15 การดูดซับการรบกวนของคลื่นวิทยุ (Radio Interference Suppression) หมายถึง
เป็นวิธีการที่ดาเนินการเพื่อลดการรบกวนด้วยคลื่นวิทยุให้มีผลกระทบน้อยที่สุด

1.16 การต่อนิวทรัลลงดิน, สายดินนิวทรัล (Grounded Neutral) หมายถึง


การต่อลงดินที่จงใจกระทาแก่ตัวนานิวทรัลหรือจุดนิวทรัลของวงจร, หม้อแปลง, เครื่องจักรกล, เครื่องสาเร็จ
หรือระบบทางไฟฟ้า

1.17 การต่อแบบเดลต้า (Delta Connection) หมายถึง


เป็นการต่อไฟฟ้าแบบ 3 เฟส ซึ่งจุดเริ่มต้นของแต่ละเฟสต่อเข้ากับจุดสิ้นสุดของอีกเฟส ซึ่งใช้สัญลักษณ์เป็น
ตัวอักษรกรีก ∆ การต่อสายเพื่อใช้งานจะต่อจากจุดมุมของเดลต้า

1.18 การต่อแบบวาย (Wye Connections) หมายถึง


การต่อแบบวาย หรือ การต่อแบบสตาร์ เป็นวิธีการต่อภายในของเฟสในระบบ 3- เฟส โดยมีรูปแบบคล้าย
ตัวอักษร Y ทั้งนี้ สายนิวทรัลจะต่ออกจากจุดกึ่งกลางของตัว Y

1.19 การตัดโหลดค่ายอด (Peak Shaving) หมายถึง


การตัดโหลดค่ายอดเป็นกระบวนการเพื่อลดค่าความต้องการโหลดไฟฟ้าสูงสุดของระบบในระยะเวลาสั้น ๆ เพื่อ
หลีกเลี่ยงค่าใช้จ่ายที่จะถูกเรียกเก็บจากผู้ให้บริการสาธารณูปโภคด้านไฟฟ้า

1.20 การทางานแบบขนาน (Parallel Operation) หมายถึง


การทางานแบบขนานกันของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไปเพื่อจ่ายโหลดร่วมกัน

1.21 การทางานเป็นมอเตอร์ (Motoring) หมายถึง


ในการใช้ ง านเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า แบบขนาน นอกจากเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ถู ก ตั ด ออกจากระบบเนื่ อ งจาก
เครื่องยนต์ต้นกาลังไม่สามารถทางานได้ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะเกิดขึ้นเมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นในระบบน้ามัน
เชื้ อเพลิ ง เครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ า จะขับ เครื่ อ งยนต์ต้ นก าลั งโดยดึ งก าลั งไฟฟ้ า จากบั ส ดัง นั้น อุป กรณ์ป้ องกั น
กาลังไฟฟ้าย้อนกลับพร้อมด้วยอุ ปกรณ์ปลดวงจรจากบัสแบบอัตโนมัติจึงจาเป็นในการใช้งานแบบขนาน ทั้งนี้
การใช้งานปกติทั่วไป เช่น ลิฟท์ สามารถจ่ายกาลังไฟฟ้าย้อนกลับมายังเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้

1.22 การแทรกสอดของคลื่นวิทยุ (Radio Interference) หมายถึง


ความด้อยคุณภาพในการรับสัญญาณวิทยุที่ต้องการ เนื่องจากมีสัญญาณวิทยุที่ไม่พึงประสงค์หรือมีการรบกวน
จากคลื่นความถี่วิทยุ

1.23 การป้องกันการผิดพร่องลงดิน (Ground Fault Protection: GFP) หมายถึง


วิธีการป้องกันแบบหนึ่งที่มีความผิดพร่องลงดินภายในบริภัณฑ์ที่ได้รับการป้องกันนั้นถูกตรวจจับโดยไม่คานึงถึง
ภาวะเฟสของระบบ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
5
1.24 การป้องกันสารอง (Backup Protection) หมายถึง
การทางานหน้าที่เป็นระบบการป้ องกันสารองของอุปกรณ์ป้องกัน ซึ่งจะทางานเมื่ออุปกรณ์ป้องกันหลักไม่
ทางานหรือทางานผิดพลาด
1.25 การพุ่งเกิน, ค่าพุ่งเกิน, พุ่งเกิน (Overshoot) หมายถึง
ค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือความถี่ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ซึ่งมีค่าพุ่งสูงเกินเกณฑ์ปกติเมื่อปลดโหลดออกทันทีทันใด

1.26 การลัดวงจร (Short Circuit) หมายถึง


การลัดวงจรเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดการไหลของกระแสไปยังส่วนที่ไม่พึงประสงค์

1.27 การเลือกช่วงเวลาการทางานอย่างสอดคล้องกัน (Selective Coordination) หมายถึง


เป็นการเลือกช่วงเวลาการทางานของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน เช่น กรณีเกิดกระแสลัดวงจร ให้อุปกรณ์
ป้องกันชุดที่อยู่ใกล้จุดเกิดเหตุสามารถทางานตัดวงจรได้อย่างทันท่วงที โดย ไม่ทาให้อุปกรณ์ป้องชุดกันอื่น
ทางานด้วย

1.28 การวัดเสียงในที่โล่ง (Free Field Noise Measurements) หมายถึง


การวัดค่าระดับความดังของเสียงที่จะถูกส่งออกมาจากแหล่งกาเนิดเสียงในระดับความดังที่เท่ากันทุกทิศทาง
และระดับเสียงจะลดลง 6 เดซิเบล ทุก ๆ ระยะทางที่เพิ่มขึ้น 2 เท่าจากแหล่งกาเนิดเสียง

1.29 กิโลวัตต์ (kW) หมายถึง


เป็ น หน่ ว ยที่ใ ช้กาหนดพิกัด ของอุป กรณ์ไ ฟฟ้า โดยทั่ว ไปพิกัด ของเครื่องก าเนิด ไฟฟ้าจะระบุ เป็น กิ โ ลวัต ต์
นอกจากนี้ ในบางครั้งกิโลวัตต์ยังใช้เรียกกาลังจริงของเครื่องยนต์ต้นกาลังของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

1.30 กิโลวัตต์-ชั่วโมง (kWh) หมายถึง


เป็นหน่วยของค่าพลังงานไฟฟ้า ซึ่งจะเทียบเท่ากับการใช้งานกาลังไฟฟ้าจริง 1 กิโลวัตต์ในเวลา 1 ชั่วโมง

1.31 กิโลโวลท์-แอมแปร์ (kVA) หมายถึง


เป็นหน่วยของพิกัดของอุปกรณ์ทางไฟฟ้า ซึ่งมีค่าเท่ากับกระแสพิกัดคูณด้วยแรงดันไฟฟ้าพิกัด ในกรณี
ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า จะมีค่าเท่ากับกาลังจริงพิกัด (หน่วยเป็นกิโลวัตต์) ที่ได้รับหารด้วยตัวประกอบ
กาลัง (PF) 0.8 กิโลโวลท์-แอมแปร์ ยังเป็นผลรวมทางเวคเตอร์ของ กาลังจริง (kW) กับ กาลังเสมือน (kVAR)

1.32 กิโลโวลท์-แอมแปร์เสมือน (kilo-Volt-Amperes Reactive : kVAR) หมายถึง


เป็นผลของแรงดันไฟฟ้าและกระแสที่ต้องการเพื่อกระตุ้นวงจรเหนี่ยวนา ซึ่งจะประกอบไปด้วยกาลังไฟฟ้า
เสมือนที่วิ่งระหว่างขดลวดขนานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและระหว่างเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากับขดลวดด้านโหลดที่
จ่ายกระแสเหนี่ ย วน าที่จาเป็น ในการทางานของ หม้อแปลงไฟฟ้า มอเตอร์ และโหลดแม่เหล็ กไฟฟ้าอื่น ๆ
กาลังไฟฟ้าเสมือนไม่เป็นภาระของเครื่องยนต์ต้นกาลังของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแต่จะเป็นข้อจากัดในเรื่องความ
ร้อนของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
6
1.33 กาลังไฟฟ้า (Power) หมายถึง
อัตราที่สามารถสร้างงานหรือพลังงานได้ โดยปกติ กาลังทางกลจะแสดงในรูปของ แรงม้า (hp) และกาลังไฟฟ้า
จะแสดงในรูปของ กิโลวัตต์ (kW) ( 1kW = 1.34 hp)

1.34 กาลังไฟฟ้าจริง (Real Power) หมายถึง


กาลังจริงเป็นผลคูณของกระแส แรงดันและตัวประกอบกาลัง มีหน่วยเป็นวัตต์

1.35 กาลังไฟฟ้าเสมือน (Reactive Power) หมายถึง


สาหรับปริมาณไซนูซอยด์ในวงจรแบบสองสาย กาลังจินตภาพหรือกาลังรีแอกทีฟเป้นผลคูณของแรงดัน อาร์เอ็ม
เอส กระแสอาร์เอ็มเอส และค่าไซน์ของมุมเฟสระหว่างแรงดันกับกระแส สาหรับปริมาณที่ไม่เป็นไซนูซอยด์
กาลังนี้คือผลบวกของส่วนประกอบฮาร์โมนิกทั้งหมดเมื่อคานวณตามวิธีดังกล่าวข้างต้น ในวงจรหลายเฟสกาลัง
นี้คือผลรวมของค่าที่ได้จากเฟสแต่ละเฟส

1.36 กาลังหลัก (Prime Power) หมายถึง


เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองจะถูกติดตั้งเพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าในบริเวณที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าจากการไฟฟ้าฯ จ่ายให้
เช่น เกาะ เป็นต้น ซึ่งจะต้องติดตั้งอย่างน้อย 2 ชุด และมีชุดออโตเมติกทรานสเฟอร์สวิทซ์สับเปลี่ยนการจ่ าย
กระแสไฟฟ้า โดยชุดหนึ่งจะทาการจ่ายกระแสไฟฟ้าอย่างต่อเนื่องให้กับโหลดชนิด Variable Load หรือทา
หน้าที่คล้ายไฟฟ้าหลัก เหมือนไฟฟ้าจากการไฟฟ้าฯส่วนอีกชุดหนึ่งจะทาหน้าที่เป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง
เมื่อเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหลักขัดข้อง หรืออยู่ในช่วงทาการซ่อมบารุงรักษา เครื่องกาเนิดไฟฟ้าทั้ง 2 ชุดนี้ สามารถ
ทางานสลับกันเป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหลักได้โดยการควบคุมให้สลับกันทางาน

1.37 ขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field) หมายถึง


ขดลวดสนามแม่เหล็กบนโรเตอร์ประกอบด้วยขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าหลายขั้ว ซึ่งเมื่อถูกขับเคลื่อนโดยเครื่องยนต์ต้ น
กาลัง จะทาให้เกิดการเหนี่ยวนาให้เกิดแรงดันในขดลวดอาร์เมเจอร์ ขดลวดสนามแม่เหล็กถูกกระตุ้นจากไฟฟ้า
กระเสตรง ซึ่งไหลมาจากตัวกระตุ้น

1.38 ขั้ว (Pole) หมายถึง


จานวนขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าในเครื่ องกาเนิดไฟฟ้าเป็นตัวบ่งบอกความเร็ว รอบของเครื่องยนต์ต้นกาลั งที่จะให้
ค่าความถี่ที่ต้องการ โดยเครื่องยนต์ที่วิ่งด้วยความเร็ว 1800 และ 1500 รอบต่อนาที จะผลิตกระแสไฟฟ้าที่ 60
เฮิร์ท และ 50 เฮิร์ท ตามลาดับ สูตร N = 120F/P (N = ความเร็วรอบ, F = ความถี่ และ P = จานวนขั้ว)

1.39 เขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง หมายความถึง


แนวเขตของสถานที่เก็บรักษาน้ามัน เชื้อเพลิงตามที่กาหนดไว้ในแผนผั งบริเวณของสถานที่เก็บรักษาน้ามัน
เชื้อเพลิง

1.40 คอนแทคเตอร์ (Contactor) หมายถึง ตัวสัมผัส


อุปกรณ์สาหรับการต่อและตัดวงจรกาลังไฟฟ้าซ้าแล้วซ้าอีกบ่อยๆ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
7

1.41 คลื่นรูปไซน์ (Sine Wave) หมายถึง


เป็นการแสดงรูปแบบการทางานของ ไซน์เป็นรูปภาพ ซึ่งจะวาดค่าของไซน์ตามแนวแกน Y แปรผันกับมุมของ
มันตามแนวแกน X ทั้งนี้ สามารถอนุมานรูปแบบของแรงดันไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า ของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
เป็นคลื่นรูปไซน์

1.42 ค่าการรบกวนสัญญาณโทรศัพท์ (Telephone Influence Factor : TIF) หมายถึง


ค่าที่แสดงถึงผลกระทบต่อสัญญาณโทรศัพท์ซึ่งเกิดจากฮาร์โมนิกส์ลาดับสูงของคลื่นแรงดันไฟฟ้าเมื่อมีการเดิน
สายไฟ ใกล้กับสายโทรศัพท์ โดยคานวณได้จากการถอดค่ารากแห่งกาลังสอง ของผลรวมของค่ายกกาลังสอง
ของค่าเฉลี่ยแห่งกาลังสองของฮาร์โมนิกส์พื้นฐานและฮาร์โมนิกส์ลาดับต่อ ๆ ไปที่ไม่สามารถหาร 3 ได้ลงตัว

1.43 ค่าพุ่งต่ากว่าเกณฑ์ปกติ (Undershoot) หมายถึง


ค่ า แรงเคลื่ อ นไฟฟ้ า หรื อ ความถี่ ข องเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ซึ่ ง มี ค่ า พุ่ ง ต่ ากว่ า เกณฑ์ ป กติ เ มื่ อ ท าการใส่ โ หลด
ทันทีทันใด

1.44 ความคงทนของไดอิเล็กทริก (Dielectric Strength) หมายถึง


(1) ค่าเกรเดียนต์ของศักย์ที่ทาให้เกิดการล้มเหลว หรือการเสียสภาพฉับพลันทางไฟฟ้า ในการหาค่าที่ แท้จริง
ของความคงทนไดอิเล็กทริก จะต้องพิจารณาถึงค่าสูงสุดที่แท้จริงของเกรเดียนต์ศักย์ หรือมิฉะนั้นก็จะต้อง
ออกแบบชิ้นวัสดุที่ทดสอบและอิเล็กโทรดที่ใช้ให้ พอเหมาะ เพื่อให้ได้เกรเดียนต์ที่มีค่าเท่ากันทุก ๆ จุด
ตามปกติแล้วค่าของความคงทนของไดอิเล็กทริกที่ได้จากการทดสอบในทางปฏิบัติจะขึ้นอยู่กับความหนา
ของวัสดุ,วิธีทดสอบ และ ภาวะการทดสอบ
(2) ค่าสูงสุดของเกรเดียนต์ของศักย์ที่วัสดุสามารถทนได้โดย ไม่ทะลุ
(3) ค่าความคงทนของฉนวนหรือไดอิเล็กทริกต่อสนามไฟฟ้าสูงสุด โดยปราศจากความเสียหาย

1.45 ความดันย้อนกลับ (Back Pressure) หมายถึง


ความดันซึ่งต้านทานการเคลื่อนที่ของลูกสูบ ทาให้ความดันของแก๊สไอเสียลดลงไม่สามารถไหลออกจากระบบ
ท่อไอเสียได้สะดวกความดันซึ่งต้านทานการไหลตามทิศทางปกติ เช่น ความดันบรรยากาศซึ่งกระทาบนลูกสูบ
ของเครื่องยนต์ดีเซล

1.46 ความต้านทาน (Resistance) หมายถึง


เป็นชุดที่ต่อต้านการไหลของกระแสในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง มีหน่วยเป็น โอห์ม และ ใช้สัญญาลักษณ์ R

1.47 ความถี่ (Frequency) หมายถึง


ความถี่เป็นจานวนของการครบรอบวงจรต่อหนึ่งหน่วยเวลาของคาบเวลาต่าง ๆ ที่มีการผันแปรของจานวน
เช่น แรงดันไฟฟ้า หรือกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งจะมีหน่วยเป็นเฮิร์ซ (Hz) หรือ CPS(cycles per second)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
8
1.48 ความผิดพร่องทางไฟฟ้า (Fault) หมายถึง
ความผิดพร่องคือการไหลของกระแสไฟฟ้าในระบบไฟฟ้านอกเส้นทางเดินทางไฟฟ้าที่กาหนดให้

1.49 ความส่องสว่างขั้นต่าโดยเฉลี่ย (Em Lux) หมายถึง


ความส่องสว่างโดยเฉลี่ยของพื้นที่ ที่ใช้ทากิจกรรมในการใช้งานต้องมีค่าไม่ต่ากว่าค่าที่กาหนด ซึ่งค่าที่กาหนด
ดังกล่าวไม่ใช่ค่าที่วัดได้ของการติดตั้งใหม่แต่เป็นค่าที่ใช้ในการใช้งานจริงแล้วจะต้องมีค่าไม่ต่ากว่าค่าที่กาหนด
ดังนั้นการออกแบบจึงควรเผื่อการลดลงของแสงจากความสกปรกจากการใช้งานโคมไฟ หลอดไฟ หรือจากการ
ลดลงของแสงเมื่อหลอดเสื่อมอายุการใช้งาน หรือจากการลดลงของแสงจากการกั้นผนังกั้นห้อง (Partition)
หรือกองเอกสารในห้อง หรือจากการลดลงของแสงจากการได้รับแรงดันไฟฟ้าไม่สม่าเสมอ หรือจากการลดลง
ของแสงจากการเลือกสีเฟอร์นิเจอร์ ผนังที่ดูดกลืนแสงจากสีทึบหรือจากฝุ่นเกาะ รวมทั้ง จากการลดลงของแสง
จากการขาดการบารุงรักษา ซึ่งหากการออกแบบไม่ได้เผื่อการลดลงของแสงก็มักจะทาให้ได้ความส่องสว่างต่า
กว่าที่มาตรฐานกาหนด

1.50 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (AC Generator) หมายถึง


เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสาหรับผลิตกาลังไฟฟ้ากระแสสลับ

1.51 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnet Generator : PMG) หมายถึง


เครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ชนิ ด กระตุ้ น แบบแยก ซึ่ ง ใช้ แ ม่ เ หล็ ก ถาวรท าให้ เ กิ ด การเหนี่ ย วน าแทนการใช้ ข ดลวด
สนามแม่เหล็ก

1.52 เครื่องวัดระดับเสียง (Sound Level Meter) หมายถึง


เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการวัดระดับเสียง สามารถวัดระดับเสียงได้ตั้งแต่ 40 – 140 เดซิเบล โดยทั่วไปเครื่องวัด
เสียงสามารถวัดระดับเสียงได้ 3 ข่าย (Weighting Networks) คือ A, B และ C ข่ายที่ใช้กันกว้างขวางคือข่าย A
เพราะเป็นข่ายที่ตอบสนองต่อเสียงคล้ายคลึงกับหูคนมากที่สุด หน่วยของเสียงที่วัดด้วยข่าย A คือ เดซิเบลเอ
(dBA)

1.53 จุดที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีประสิทธิภาพเหมาะสม (Fuel Efficiency Standpoint) หมายถึง


จุดที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจ่ายกระแสไฟฟ้าอยู่ในช่วงประมาณ 50 ถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ของกาลังของเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า (The Generator set Kw rating)

1.54 จุดทางเข้าของสายเมน (Service Entrance) หมายถึง


เป็น จุดทางเข้าของสายเมนไฟฟ้าจากผู้ ให้บริการสาธารณูปโภคทางด้ านไฟฟ้า ในกรณีไฟฟ้าแรงดันต่าสาย
นิวทรัลจะถูกต่อลงดินที่จุดทางเข้านี้

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
9
1.55 ฉนวน (Insulation) หมายถึง
วัสดุไม่นาไฟฟ้าซึ่งถูกนามาใช้เพื่อเคลือบขดลวดในเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เพื่อป้องกันการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้า
จากขดลวดตัวนา ฉนวนสาหรับการใช้งานในเครื่องกาเนิด ไฟฟ้ามีหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะบ่งบอกอุณหภูมิ
สูงสุดที่ขดลวดจะทนได้ขณะใช้งานแบบต่อเนื่อง

1.56 ชุดกระตุ้นแยก (Shunt Excited) หมายถึง


ชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ใช้กระแสกระตุ้นจากส่วนจ่ายกาลังไฟฟ้ากระแสสลับของตัวเอง

1.57 ชุดขดลวดหน่วง (Amortisseur Windings) หมายถึง


ชุดขดลวดหน่วงของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับซิงโครนัสเป็นขดลวดตัวนาที่จมอยู่ในผิวของขั้วชุดโรเตอร์
โดยปลายของขดลวดทั้งหมดจะต่อเข้าด้วยกันโดยชุดแหวนบรรจบ ทั้งนี้ ชุดขดลวดหน่ว งจะทาหน้าที่ปรับ
รูปคลื่นที่กระเพื่อมระหว่างการเปลี่ยนโหลด

1.58 ชุดแจ้งเหตุ (Annunciator) หมายถึง


อุปกรณ์แสดงสัญญาณมองเห็นได้ที่ประกอบด้วยหลอดไฟฟ้าชี้นาหรือป้ายแสดง (drop) จานวนหนึ่ง ซึ่งแต่ละ
ตัวใช้ชี้แสดงภาวะที่เป็นอยู่ในวงจรที่เกี่ยวข้อง ตามฉลากที่ปิดไว้

1.59 ชุดตัดวงจรเสริม (Shunt Trip) หมายถึง


เป็นชุดเสริมการทางานของอุ ปกรณ์ตัดตอนอัตโนมัติ เช่น เซอร์กิต เบรกเกอร์ หรือ สวิทซ์แบบมีฟิวส์ ซึ่งจะถูก
สั่งให้เปิดวงจรโดยสัญญาณไฟฟ้า

1.60 ซอฟท์ โหลด (Soft Loading) หมายถึง


เป็นการค่อย ๆ เพิ่มหรือปลดโหลดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองเพื่อลดการกระเพื่อมของแรงดันและความถี่ให้
น้อยที่สุด

1.61 ซีโร ซีเควนซ์ (Zero Sequence) หมายถึง


เป็นวิธีการตรวจจับการผิดพร่องลงดินของระบบโดยใช้อุปกรณ์ตรวจจับผลรวมของกระแสเฟสและนิวทรัลทั้งนี้
อุปกรณ์ตรวจจับจะส่งสัญญาณตามสัดส่วนของกระแสที่ไม่เท่ากันกรณีเกิดการผิดพร่องลงดิน ซึ่งสัญญาณนี้จะ
ตรวจวัดโดยรีเลย์เพื่อสั่งการให้อุปกรณ์ตัดตอนอัตโนมัติ (Circuit Breaker) หรือ อุปกรณ์แจ้งเตือนทางาน

1.62 เซอร์กิตเบรคเกอร์ (Circuit Breaker) หมายถึง


(ก) อุปกรณ์ที่ออกแบบมาเพื่อเปิดและปิดวงจรโดยใช้วิธีที่ไม่อัตโนมัติและเพื่อเปิดวงจรอย่างอัตโนมัติเมื่อ
กระแสเกินค่าที่ระบุไว้ล่วงหน้า โดยที่ไม่เกิดความเสียหายแก่ตัวมันเองเมื่อใช้อย่างเหมาะสมภายใน
พิกัดของมัน
(ข) อุปกรณ์สวิทช์ชิงทางกลที่สามารถต่อวงจรให้กระแสไหลผ่าน รับกระแสและตัดกระแสได้ในภาวะ
วงจรปกติ อีกทั้งสามารถต่อวงจรให้กระแสไหลผ่าน รับกระแสตามเวลาที่ระบุไว้และตัดกระแสใน
ภาวะวงจรที่ผิดปกติตามที่ระบุไว้ เช่น เมื่อเกิดลัดวงจรขึ้น

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
10
1.63 เดซิเบล/เดซิเบล (เอ) (dB/dB(A) Scale)
เดซิเบล หมายถึง ระดับความเข้มหรือความดันของเสียงซึ่งจะถูกแสดงในรูปของ Logarithmic scale มี
หน่วยเป็นเดซิเบล
เดซิเบล (เอ) หมายถึง สเกลของเครื่องวัดเสียงที่สร้างเลียนแบบลักษณะการทางานของหูมนุษย์โดยจะกรอง
เอาความถี่ต่าและความถี่สูงของเสียงที่เกินกว่ามนุษย์จะได้ยินออกไป ในเครื่องวัด ระดับเสียง สัญญาณเสียงถูก
เปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยไมโครโฟนคุณภาพสูงแต่เนื่องจากสัญญาณมีค่าต่ามาก จึงต้องทาการขยายก่อนที่
แสดงออกบนหน้าปัทม์ เครื่องวัด เมื่อได้รับการขยายครั้งแรกแล้วสัญญาณจะถูกป้อนผ่านวงจรถ่วงน้าหนัก (A,
B, C) หรือวงจรกรองความถี่นั่นเอง หลังจากนั้นก็จะทาการขยายสัญญาณอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้มีระดับสูงพอที่จะ
เบนเข็มเครื่องวัดได้

1.64 ตัวกระตุ้น (Exciter) หมายถึง


อุปกรณ์ ชุดขดลวดซึ่งทาหน้าที่จ่ายไฟฟ้ากระแสตรงให้กับขดลวดสนามแม่เหล็กบนโรเตอร์ของเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า แบบซิงโครนัส ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นและเหนี่ยวนาให้เกิดแรงดันไฟฟ้าในขดลวดอาร์เมเจอร์

1.65 ตัวประกอบการเบี่ยงเบน (Deviation Factor) หมายถึง


ค่าการเบี่ยงเบนสูงสุดของแรงดันของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในขณะใดขณะหนึ่งเป็นอัตราร้อยละจากค่ารากยกกาลัง
สองเฉลี่ย และความถี่เดียวกัน

1.66 ตัวประกอบการใช้บริการ (Service Factor) หมายถึง


เป็ น ตั ว คู ณ ของก าลั ง พิ กั ด มอเตอร์ (แรงม้ า ) เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า มอเตอร์ ส ามารถใช้ เ กิ น ก าลั ง ที่ ก าหนด
(Overload Capacity) ได้โดยที่ไม่เกิดความเสียหาย

1.67 ตัวประกอบกาลัง (Power Factor : PF) หมายถึง


อัตราส่วนระหว่างค่ากาลังจริงทั้งหมดในหน่วยวัตต์ กับ ค่ากาลังปรากฏทั้งหมดในหน่วย โวลต์ -แอมแปร์ (อาร์
เอ็มเอส)
หมายเหตุ ถ้ำแรงดันรูปคลื่นเหมือนกับกระแสที่สมนัยกัน ตัวประกอบกำลังจะกลำยมำเท่ำกับตัวประกอบกำลังเฟสเซอร์

1.68 ตัวประกอบกาลังตามหลัง(Lagging Power Factor)หมายถึง


เกิดจากโหลดชนิดที่เป็นขดลวดเหนี่ยวนา (Inductive Load) เช่น มอเตอร์และหม้อแปลง ซึ่งทาให้กระแสใน
วงจรไฟฟ้าทามุมตามหลังแรงดัน โดยค่าตัวประกอบกาลังต้องมีค่าน้อยกว่า 1.0

1.69 ตัวประกอบกาลังนาหน้า (Leading Power Factor) หมายถึง


เกิดจากโหลดชนิดที่เป็นประจุ (Capacitive Load) หรือมอเตอร์ซิงโครนัสที่ถูกกระตุ้นเกินทาให้กระแสใน
วงจรไฟฟ้าทามุมนาหน้าแรงดัน โดยค่าตัวประกอบกาลังต้องมีค่ามากกว่า 1.0

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
11
1.70 ตัวประกอบความต้องการกาลังไฟฟ้า (Demand Factor) หมายถึง
อัตราส่วนระหว่างค่าความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของระบบ หรือส่วนของระบบ กับโหลดที่ต่ออยู่ทั้งหมดของระบบ
หรือส่วนของระบบที่พิจารณา

1.71 ตัวประกอบโหลด (Load Factor) หมายถึง


อัตราส่วนระหว่างโหลดเฉลี่ยในคาบเวลาที่กาหนดไว้ กับโหลดสูงสุดที่เกิดขึ้น ในคาบเวลานั้น

1.72 ตัวหมุน (Rotor) หมายถึง


ชิ้นส่วนที่หมุนของมอเตอร์ หรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

1.73 ทางเดินกลับทางดิน (Ground Return) หมายถึง


ทางเดินกลับทางดินคือวิธีการตรวจวัดความผิดพร่องลงดิน ซึ่งจะใช้หม้ อแปลงกระแสคล้องที่สายนิวตรอลและ
สายดิน อุปกรณ์เหล่านี้ไม่สามารถระบุตาแหน่งผิดพร่องได้ แต่จะถูกใช้ร่วมกับอุปกรณ์ตรวจจับความผิดพร่องลง
ดิน กับ ทุกสายป้ อนและแหล่ งจ่ ายเชื่อมต่อ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในการป้องกันฟอล์ ทที่บัส เมื่อมีการจัด
ประสานอย่างเหมาะสม

1.74 นิวทรัล (Neutral) หมายถึง


จุดร่วมของการต่อแบบวาย ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ สายนิวทรัลจะต่อเข้ากับจุดดังกล่าวหรือจุด
กึ่งกลางของขดลวดสาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับแบบ 1 เฟส

1.75 น้ามันเชื้อเพลิง หมายถึง


น้ามันเชื้อเพลิงตามพระราชบัญญัติควบคุมน้ามันเชื้ อเพลิงพ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
ควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ แต่ไม่รวมถึงก๊าซธรรมชาติและก๊าซปิโตรเลียมเหลว

1.76 บัส (Bus) หมายถึง


ตัวนาหรือกลุ่มตัวนาที่ใช้ในการต่อร่วมของวงจรตั้งแต่ 2 วงจรขึ้นไป

1.77 เบรกเกอร์ประธาน (Main Breaker) หมายถึง


เป็นเบรกเกอร์ที่จุดรับหรือจุดจ่ายไฟฟ้าของบัส โดยทั่วไปเบรกเกอร์ประธานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะติดตั้ง ที่
เครื่องกาเนิดไฟฟ้านั้นเพื่อใช้ในการตัดการจ่ายไฟของเครื่อง

1.78 แบลคสตาร์ท (Black Start) หมายถึง


การสตาร์ ท ระบบจ่ า ยก าลั ง ไฟฟ้ า โดยอาศั ย พลั ง งานของตั ว เอง ไม่ ต้ อ งอาศั ย พลั ง งานจากภายนอกช่ ว ย
ตัว อย่ างเช่น การใช้แบตเตอรี่ ส าหรั บสตาร์ทเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าขนาดเล็ ก ซึ่งติดตั้งภายในสถานีผ ลิ ต
กระแสไฟฟ้าพลังน้า (Hydroelectric generating station)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
12
1.79 ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง
สัดส่ ว นของพลั งงานที่ได้รับ ต่อพลั งงานที่ใส่ เข้าไป เช่น สั ดส่ วนระหว่างพลังงานทางกลที่ได้รับที่เพลาของ
มอเตอร์ต่อพลังงานไฟฟ้าที่ป้อนให้

1.80 แผนภาพเส้นเดียว (One-Line Diagram) หมายถึง


แผนภาพที่ใช้เส้นเดียวและสัญลักษณ์กราฟฟิกในการแสดงเส้นทางของวงจรไฟฟ้าหรือระบบของวงจรกับ
อุปกรณ์ส่วนประกอบหรือชิ้นส่วนต่าง ๆ ที่ใช้ในที่นั้น

1.81 พิกัดกระแส (Ampacity) หมายถึง


(1) วิสัยในการรับกระแสของสายไฟฟ้าหรือเคเบิ้ลไฟฟ้า ในภาวะความร้อนที่กาหนด มีหน่วยเป็นแอมแปร์
(2) วิสัยสามารถในการรับกระแสของตัวนาไฟฟ้า ในหน่วยแอมแปร์
(3) วิสัยสามารถในการรับกระแสในหน่วยแอมแปร์

1.82 พิกัดโหลดเกิน (Overload Rating) หมายถึง


พิกัดโหลดเกินของอุปกรณ์ไฟฟ้าจะเป็นพิกัดของโหลดที่อนุญาตให้เกินจากพิกัดปกติได้ในระยะเวลาที่กาหนด
โดยไม่เกิดความเสียหาย

1.83 พิทช์ (Pitch) หมายถึง


(1) คือ ระยะห่างของขดลวดที่ต่อถึงกัน 1 รอบ วัดจากขอบหนึ่งไปยังอีกขอบหนึ่ง
(2) อัตราส่วนของ จานวนช่อง (Slot) บนสเตเตอร์ ต่อ จานวนช่อง (Slot) ใน 1 ขั้วซึ่งมีผลต่อการออกแบบ
โครงสร้างของสเตเตอร์เพื่อให้ได้รูปคลื่นแรงดันที่สมบูรณ์ และมีต้นทุนการผลิตต่าที่สุด

1.84 ฟิวส์จากัดกระแส (Current Limiting fuse) หมายถึง


ฟิวส์ชนิดหนึ่ง ที่เมื่อถูกทาให้หลอมละลายด้วยกระแสไฟฟ้าภายในพิสัยจากัดกระแสที่กาหนดแล้ว จะทาให้เกิด
ค่าแรงดันอาร์คค่าสูงในทันทีเพื่อลดขนาดและค่าคงอยู่ของกระแสนั้น
หมายเหตุ ค่ำของอัตรำส่วนขีดเริ่มเปลี่ยน,ค่ำยอดของกระแสปล่อยผ่ำน (let-through current) และคุณลักษณะ I2t ที่
กำหนดไว้ในมำตรฐำน จะเป็นตัววัดขีดควำมสำมำรถในกำรจำกัดกระแส

1.85 ไฟฟ้าเมน, ไฟฟ้าจากผู้ให้บริการไฟฟ้า (Mains) หมายถึง


ไฟฟ้าที่จ่ายมาจากแหล่งจ่ายปกติซึ่งจ่ายโดยผู้ให้บริการสาธารณูปโภคทางไฟฟ้า

1.86 เฟส (Phase) หมายถึง


ในปรากฏการณ์รายคาบ f(t) ณ ค่าเฉพาะค่าใดค่าหนึ่งของ t ศัพท์คานี้หมายถึงส่วนย่อยของ คาบ P อันเป็น
ส่วนที่เวลา t ได้ผ่านพ้นไปเทียบกับจุดเริ่มต้นจุดใดจุดหนึ่งที่ไม่เจาะจง
หมายเหตุ จุดเริ่มต้นในที่นี้ โดยปกติเรำจะใช้จุดที่ฟังก์ชั่น f(t) ผ่ำนตำแหน่งศูนย์ครั้งล่ำสุด จำกค่ำลบเป็นค่ำบวก

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
13
1.87 เฟสต่าง, ต่างเฟส (Out-of-Phase) หมายถึง
(1) คาขยายที่บ่งชี้ปริมาณคุณลักษณะการทางานของเซอร์กิตเบรกเกอร์ในภาวะเฟสต่าง
(2) ภาวะผิดปกติของวงจรเนื่องจากเกิดการสูญเสีย หรือไม่มีภาวะซิงโครไนซ์กันระหว่างส่วนต่าง ๆ ของระบบ
ไฟฟ้าในแต่ละด้านของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ โดยที่เมื่อเซอร์กิตเบรกเกอร์ทางานนั้น มุมเฟสระหว่างเฟสเซ
อร์หมุนที่แทนแรงดันกาเนิดในแต่ละด้านของเซอร์กิตเบรกเกอร์ มีค่าสูงเกินค่าปกติ และอาจสูงถึง 180 องศา
(เฟสตรงข้าม)

1.88 มุมเฟส (Phase Angle) หมายถึง


(1) ผลการวัดการเคลื่อนไปข้างหน้าของคลื่นรายคาบเทียบกับเวลา หรืออวกาศ จากขณะเวลาหรือ ตาแหน่งที่
เลือก
หมายเหตุ (ก) มุมเฟสของสนำม หรือของแรงดันหรือกระแส ณ ขณะเวลำที่กำหนดให้ในระนำบที่กำหนดให้ใด ๆ ในท่อ
นำคลื่นจะเป็น (ωt-βz+Ѳ) เมื่อคลื่นมีกำรแปรผันทำงเวลำแบบไซนูซอยด์คำว่ำ ท่อนาคลื่นในที่นี้ใช้ใน
ควำมหมำยทั่วไปและรวมถึงสำยส่งทั้งหมดเช่นท่อนำคลื่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำ,สำยโคแอกเซียล,สำยแถบ
แคบ (strip line) เป็นต้นสัญลักษณ์ β เป็นส่วนจินตภำพของค่ำคงตัวกำรแผ่กระจำยคลื่นสำหรับท่อนำ
คลื่นในขณะที่คลื่นแผ่กระจำยไปในทิศทำง + z และ Ѳ เป็นมุมเฟสเมื่อ z = t = 0 ที่เวลำอ้ำงอิง t = 0
และที่ระนำบ z นั้นมุมเฟส (-βz+Ѳ) จะเขียนแทนด้วย Ф
(ข) มุมเฟสจะหำได้โดยคูณค่ำเฟสด้วย 360 องศำหรือ 2π เรเดียน

1.89 มุมระหว่างเฟสเซอร์ของกระแสที่ออกจากขั้วทุติยภูมิ กับเฟสเซอร์ของกระแสที่เข้าสู่ปฐมภูมิ มุมมี


(1) ค่าบวกเมื่อกระแสทุติยภูมินาหน้ากระแสปฐมภูมิ
(2) มุมระหว่างเฟสเซอร์ของแรงดัน ทุติยภูมิกับเฟสเซอร์ของแรงดันปฐมภูมิที่สมนัยกัน
หมายเหตุ มุมนี้จะแสดงด้วยตัว แกมมาในชุดอักษรภำษำกรีก และจะมีค่ำเป็นบวกเมื่อแรงดันทุติยภูมินำหน้ำแรงดัน
ปฐมภูมิ
(3) ค่าการกระจัดเฟสในหน่วยลิปดา (minute) ระหว่างปริมาณปฐมภูมิกับปริมาณทุติยภูมิ มุมเฟสของหม้อ
แปลงกระแสจะแสดงด้วย บีตา ( β) ในชุดตัวอักษรภาษากรีกและมีค่าเป็นบวกเมื่อกระแสที่ไหลจากขั้ว
ทุติยภูมินาหน้ากระแสที่ไหลจากขั้วปฐมภูมิมุมเฟสของหม้อแปลงแรงดันจะแสดงด้วยตัว แกมมาในชุด
อักษรภาษากรีกและมีค่าเป็นบวกเมื่อแรงดันทุติยภูมินาหน้าแรงดันปฐมภูมิ
(4) มุมที่สัญญาณด้านออกตามหลังหรือนาหน้าสัญญาณด้านเข้า ในแผนภาพเฟสเซอร์ ณ ขณะเวลาเดียวกัน
กับสัญญาณทั้งสอง

1.90 ระดับแรงดันเสียง (Sound Pressure Level : SPL) หมายถึง


ค่าความแตกต่างของแรงดัน ซึ่งเกิดจากคลื่นเสียงเปรียบเทียบกับแรงดันมาตรฐาน (2 x 10 -5 นิวตันต่อตร.เมตร
หรือ 0.0002 ไมโครบาร์) มีหน่วยเป็นเดซิเบลสเกล (A, B, C)

1.91 ระบบจ่ายกาลังไฟฟ้าสารอง (Standby System) หมายถึง


เป็นระบบแยกอิสระจากระบบจ่ายไฟฟ้าของอาคารซึ่งจะทางานจ่ายกาลังไฟฟ้าให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในกรณีที่
ระบบจ่ ายไฟฟ้าของอาคาร หรื อการไฟฟ้าฯ ขัดข้องหรือช ารุดเสียหายกฎหมายกาหนดให้ต้องมีระบบจ่าย
กาลังไฟฟ้าสารอง ซึ่งสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จาเป็น เช่น เครื่องสูบน้าดับเพลิงชนิดขับด้วย

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
14
มอเตอร์ไฟฟ้า, ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้, ระบบสื่อสาร, ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง, ระบบลิฟต์ ฯลฯ เป็น
เวลา 2-3 ชั่วโมง หรือช่วงเวลาสั้น ๆ ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินหรือเพลิงไหม้ในด้านการปฏิบัติงาน การขัดข้อง
หรือชารุดเสียหายของระบบจ่ายกาลังไฟฟ้าอาจเป็นสาเหตุให้เกิดความเสียหายทางด้านธุรกิจ, การสูญเสีย
รายได้, การสะดุดของขบวนการผลิต หรือทาให้ประสิทธิภาพในการทางานของบุคลากรลดลงจึงจาเป็นต้องมี
ระบบจ่ายกาลังไฟฟ้าสารองติดตั้งอยู่ในสถานที่ต่าง ๆ ที่จาเป็น เช่น ศูนย์คอมพิวเตอร์, โรงพยาบาล, ฟาร์ม,
โรงงานอุตสาหกรรม และอาคารที่พักอาศัย เป็นต้น

1.92 ระบบไฟฟ้ากาลังฉุกเฉิน (Emergency System) หมายถึง


แหล่ งพลังงานไฟฟ้าส ารองอิสระที่ใช้ทดแทนเมื่อไฟฟ้าจากแหล่ งจ่ายไฟฟ้าปกติขัดข้อง ทั้งนี้ โดยการจ่าย
พลังงานไฟฟ้าที่เชื่อถือได้ให้แก่บริภัณฑ์ที่สาคัญอย่างอัตโนมัติ ภายในเวลาที่กาหนด เพราะถ้าบริภัณฑ์ดังกล่าว
ไม่ทางานอย่างที่ควรแล้ว ก็จะก่อให้เกิดอันตรายที่ร้ายแรงแก่ชีวิตและทรัพย์สิน

1.93 รีเลย์ผลต่าง (Differential Relay) หมายถึง


รีเลย์ที่ออกแบบไว้หรื อมีจุดประสงค์ในการใช้งาน เพื่อให้ตอบสนองต่อผลต่างระหว่างปริมาณไฟฟ้าเข้ากับ
ปริมาณไฟฟ้าออก ร่วมกับเครื่องสาเร็จสาหรับป้องกัน

1.94 รีแอกแตนซ์ (Reactance) หมายถึง


รีแอกแตนซ์เป็นความต้านทานการไหลของกระแสซึ่งเกิดจากการเหนี่ยวนาของ อินดักแตนซ์และคาปาซิแตนซ์
ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ จะมีหน่วยเป็น โอห์ม และมีสัญลักษณ์เป็น X

1.95 แรงดันต่า (Low Voltage) หมายถึง


ระบบไฟฟ้าที่ค่ารากกาลังสองเฉลี่ยสูงสุดของแรงดันกระแสสลับที่ระบุไว้ที่ 600 โวลต์หรือต่ากว่านี้

1.96 แรงดันปานกลาง (Medium Voltage) หมายถึง


ระบบไฟฟ้าที่ค่ารากกาลังสองเฉลี่ยสูงสุดของแรงดันกระแสสลับสูงกว่า 601 โวลต์ ถึง 11,000 โวลต์

1.97 แรงดันไฟฟ้ากระพริบ (Voltage Dip) หมายถึง


เป็นผลของการเพิ่มโหลดโดยที่อุปกรณ์ควบคุมแรงดันยังไม่ทันได้ปรับแต่งแรงดัน หรือ เป็นผลการทางาน
ของอุปกรณ์ควบคุมแรงดันกรณีไม่มีโหลดหรือโหลดเกิน

1.98 แรงดันไฟฟ้าระหว่างสายเฟส (Line-to-Line Voltage) หมายถึง


เป็นแรงดันไฟฟ้าระหว่างเฟส 2 เฟสของ เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ

1.99 แรงดันไฟฟ้าระหว่างสายเฟสกับนิวทรัล (Line-to-Neutral Voltage) หมายถึง


ในระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย ต่อแบบวาย ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าระหว่างเฟส กับนิวทรัลจะ
หมายถึงแรงดันระหว่างสายเฟสกับนิวทรัลร่วม

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
15
1.100 แรงดันอย่างกะทันหันชั่วขณะ (Surge) หมายถึง
เป็นภาวะการเพิ่มขึ้นโดยทันทีของแรงดันไฟฟ้า ซึ่งมักจะเกิดเมื่อมีการปลดโหลด

1.101 ลาดับเฟส (Phase Rotation) หมายถึง


ลาดับเฟส (A-B-C, R-S-T or U-V-W) จะเป็นการเรียงลาดับของเฟสแรงดันที่จุดจ่ายกาลัง ไฟฟ้าของเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส การเรียงลาดับของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแส สลับจะต้องสอดคล้ องกับการ
เรียงลาดับของแหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้าปกติจากผู้ให้บริการสาธารณูปโภคทางด้านไฟฟ้า รวมทั้งจะต้องทาการ
ตรวจสอบการเรียงลาดับเฟสของโหลดไฟฟ้าในระบบให้สอดคล้องกันด้วย

1.102 วงจร (Circuit) หมายถึง


ตัวนาหรือระบบของตัวนาที่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน

1.103 วัตต์ (Watt) หมายถึง


เป็นหน่วยของกาลังไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง วัตต์จะมีค่าเท่ากับผลคูณของกระแสกับแรงดัน ใน
วงจรไฟฟ้ากระสลับ วัตต์จะเท่ากับผลคูณของ แรงดัน (RMS), กระแส (RMS), ตัวประกอบกาลัง (Power
Factor, PF) และค่าคงที่ ซึ่งขึ้นอยู่กับจานวนเฟส ทั้งนี้ 1,000 วัตต์ เท่ากับ 1 กิโลวัตต์

1.104 วัฏจักร, รอบ (Cycle) หมายถึง


อนุกรมบริบูรณ์ของค่าต่างๆ ของปริมาณเป็นคาบที่เกิดขึ้นในหนึ่งคาบนั้น เช่น ชุดบริบูรณ์ของค่าบวกและ
ค่าลบของกระแสสลับ

1.105 วัสดุอะคุสติก (Acoustic Material) หมายถึง


วัสดุใดๆทีมีคุณสมบัติในการดูดซับเสียง หรือ ป้องกันเสียง

1.106 โวลท์ (Volt) หมายถึง


เป็นหน่วยของแรงดันไฟฟ้า โดย แรงดัน 1 โวลท์จะเท่ากับกระแสไฟฟ้า 1 แอมป์ ไหลผ่านความต้านทาน 1 โอห์ม

1.107 สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง หมายถึง


สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงตามกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการแจ้งการ
อนุญาตและอัตราค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการประกอบกิจการน้ามันเชื้อเพลิงพ.ศ. ๒๕๔๖

1.108 สวิตช์ถ่ายโอน (Transfer Switch) หมายถึง


สวิตช์สาหรับถ่ายโอน ตัวนาที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟฟ้าหนึ่งไปยังแหล่งจ่ายไฟฟ้าอื่น เพื่อจ่ายโหลดให้กับตัวนาที่ต่อ
อยู่นั้น
หมายเหตุ สวิตช์ถ่ำยโอนอำจเป็นแบบอัตโนมัติหรือไม่ก็ได้

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
16
1.109 สเตเตอร์ (Stator) หมายถึง
ชิ้นส่วนที่ไม่หมุนของมอเตอร์ หรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

1.110 สาธารณูปโภคด้านไฟฟ้า (Utility) หมายถึง


เป็นแหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้าเพื่อการพาณิชย์เป็นการเฉพาะจ่ายให้กับผู้ใช้ไฟฟ้าจากสถานีไฟฟ้าขนาดใหญ่

1.111 เสียง (Sound) หมายถึง


เสียงเป็นคลื่นที่เกิดจากสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่นสะเทือนก็จะทาให้เกิดการอัดตัวและขยายตัวของคลื่น
เสียงซึ่งจะถูกส่งผ่านตัวกลาง เช่น อากาศไปยังหูเสียงสามารถเดินทางผ่านสสารในสถานะแก๊ส ของเหลวและ
ของแข็งแต่ไม่สามารถเดินทางผ่านสุญญากาศได้ ตามปกติหูมนุษย์สามารถได้ยินเสียงในช่วงความถี่ 20 เฮิร์ท
ถึง 20,000 เฮิร์ท คลื่นเสียงที่มีความถี่สูงกว่า 20,000 เฮิร์ท นั้นเรียกว่าคลื่นเหนือเสียงหรือ Ultrasonic ส่วน
เสียงที่มีถตี่ ่ากว่า 20 เฮิร์ท เรียกว่าคลื่นใต้เสียง หรือ Infrasonic

1.112 หม้อแปลงกระแส (Current Transformer : CT) หมายถึง


หม้อแปลงวัดคุมที่มีชุดขดลวดปฐมภูมิต่ออนุกรมกับสายตัวนาที่รับกระแสที่จะวัดหรือควบคุม
หมายเหตุ สำหรับหม้อแปลงกระแสแบบช่องหน้ำต่ำง (window type current transformer) นั้น ชุดขดลวดปฐมภูมิก็คือ
สำยตัวนำที่สอดผ่ำนช่องหน้ำต่ำงนั่นเอง ซึ่งก็ไม่ได้เป็นสำยของหม้อแปลงแต่อย่ำงใด

1.113 หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) หมายถึง


เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับจากค่าหนึ่งไปเป็นอีกค่าหนึ่ง

1.114 หม้อระงับเสียง, ท่อเก็บเสียง (ไอเสีย) (Exhaust Silencer and Muffler) หมายถึง


เสียงที่เกิดจากระบบไอเสียของเครื่องยนต์สามารถควบคุมได้โดยท่อเก็บเสียงไอเสีย (Silencers and Mufflers)
โดยทั่วไปไม่มีข้อกาหนดทางเทคนิคที่ชัดเจนให้ความหมายและข้อแตกต่างระหว่าง Silencer และ Muffler
เพียงแต่ที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบัน Silencer คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการลดเสียง (Noise Attenuation Devices) แต่
Muffler มีขนาดเล็กกว่าเป็นอุปกรณ์ที่ผลิตเป็นจานวนมาก และออกแบบเพื่อใช้สาหรับลดเสียงระบบไอเสียของ
เครื่องยนต์

1.115 หางปลา, หูสายไฟฟ้า (Lugging) หมายถึง


จุดเข้าปลายสายเพื่อต่อเข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือจุดต่อทางไฟฟ้า

1.116 โหลดค่ายอด (Peak Load) หมายถึง


(1) โหลดสูงสุดที่ใช้หรือผลิตขึ้นโดยหน่วยอุปกรณ์หน่วยหนึ่ง หรือชุดของหน่วยอุปกรณ์ชุดหนึ่ง ในคาบเวลาที่
ระบุค่าโหลดนี้อาจเป็นค่าขณะหนึ่งสูงสุดหรือค่าเฉลี่ยสูงสุดในช่วงเวลาที่กาหนดให้ก็ได้
หมายเหตุ ตำมปกติโหลดค่ำยอด จะคิดจำกโหลดเฉลีย่ สูงสุด แต่ในกำรทำธุรกรรมเชิงพำณิชย์ที่เกี่ยวข้องกับโหลดค่ำยอด
(กำลังค่ำยอด) จะใช้โหลด (กำลัง) เฉลี่ยในช่วงเวลำที่ระบุช่วงหนึ่งที่ปรำกฏในคำบเวลำคำบหนึ่งที่กำหนดให้
ช่วงเวลำดังกล่ำวนี้จะเลือกให้เป็นช่วงที่กำลังเฉลี่ยมีค่ำมำกที่สุด

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
17
(2) ค่าที่ใหญ่ที่สุดของโหลดชั่วขณะหรือช่วงสั้นที่คาดว่ามอเตอร์ตัวหนึ่งจะจ่ายได้ แสดงเป็นร้อยละของกาลัง
ปกติหรือทอร์กปกติ

1.117 โหลดฐาน [electrical power utilization] (Base Load) หมายถึง


ส่วนหนึ่งของโหลดที่ต้องการใช้งานในอาคารซึ่งจะมีค่าคงที่และเป็นค่าฐานของกราฟแสดงการใช้งานโหลดของ
อาคาร โหลดฐานนี้จะเป็นพลังงานไฟฟ้าที่ต่าที่สุดที่โรงไฟฟ้าต้องจัดหาให้กับลูกค้า ในช่วงเวลาหนึ่งๆ

1.118 โหลดต่อเนื่อง (Continuous Load) หมายถึง


โหลดซึ่งได้รับค่ากระแสไฟฟ้าสูงสุดต่อเนื่องกันเป็นเวลา 3 ชั่วโมงหรือมากกว่า

1.119 โหลดไม่เชิงเส้น (Nonlinear Load) หมายถึง


โหลดไม่เชิงเส้นจะเป็นโหลดที่มีความสัมพันธ์ในการทางานระหว่างกระแสกับแรงดันไม่เป็นเชิงเส้น
บางส่วนของโหลดประเภทไม่เชิงเส้นได้แก่ หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ SCR ชุดสตาร์ทมอเตอร์ และ UPS
เป็นต้น ทั้งนี้ โหลดไม่เชิงเส้นจะเป็นเหตุให้เกิดความร้อนสูงผิดปกติในสายไฟ และ ความบิดเบี้ยวของ
แรงดันไฟฟ้า

1.120 ออกเทฟแบนด์ (Octave Band) หมายถึง


ความถี่ของเสียงจะถูกแบ่งออกเป็น 8 ช่วง หรือออกเทฟแบนด์ ซึ่งแต่ละช่วงความถี่สูง สุดจะมีค่าเป็นสองเท่า
ของความถี่ต่าสุด ออกเทฟแบนด์คือความถี่ตรงกลาง (Center frequency) ของความถี่แต่ละช่วงโดยทั่วไป
ค่าความถี่แต่ละออกเทฟแบนด์สามารถแบ่งออกเป็นออกเทฟแบนด์ที่ 1 ความถี่ 63 เฮิร์ท, ออกเทฟแบนด์ที่ 2
ความถี่ 125 เฮิร์ท, ออกเทฟแบนด์ที่ 3 ความถี่ 250 เฮิร์ท, ออกเทฟแบนด์ที่ 4 ความถี่ 500 เฮิร์ท, ออกเทฟ
แบนด์ที่ 5 ความถี่ 1,000 เฮิร์ท, ออกเทฟแบนด์ที่ 6 ความถี่ 2,000 เฮิร์ท, ออกเทฟแบนด์ที่ 7 ความถี่ 4,000
เฮิร์ท และออกเทฟแบนด์ที่ 8 ความถี่ 8,000 เฮิร์ท

1.121 อาร์เอ็มเอส (Root Mean Square: RMS) หมายถึง


ค่าอาร์เอ็มเอส ที่ได้จากการวัดปริมาณในไฟฟ้ากระแสสลับ เช่น แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และกาลังไฟฟ้าจะ
เป็นค่าของจานวนที่ใช้งานจริง

1.122 อาการกระตุกสะบัด หรือสั่นตลอดเวลาของเครื่องยนต์ต้นกาลัง (Hunting) หมายถึง


ปรากฏการณ์ซึ่งเกิดขึ้นจากสาเหตุที่โหลดมีการเปลี่ยนแปลงทาให้ความถี่และแรงเคลื่อนของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
มีการปรับขึ้นสูงกว่า และต่ากว่าเกณฑ์ปกติอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาไม่เข้าสู่สภาวะปกติ (Steady state) ทาให้
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าเกิดอาการกระตุก สะบัดหรือสั่นตลอดเวลา

1.123 อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบทางกล (Mechanical Governors) หมายถึง


เป็นอุปกรณ์ควบคุมการจ่ายน้ามันเชื้อเพลิงให้เครื่องต้นกาลังโดยส่งสัญญาณการเปลี่ยนแปลงความเร็วรอบของ
เครื่องต้นกาลังทางกล ผ่านตุ้มน้าหนัก (Flyweights) หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ซึ่งมีการทางานคล้ายกัน กอฟเวอร์

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
18
เนอร์ระบบนี้สามารถควบคุมอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วรอบให้อยู่ภายใน 3 ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ของความเร็ว
รอบใช้งาน จากสภาวะไม่มีโหลดถึงมีโหลดเต็มที่

1.124 อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบทางไฟฟ้า (Electronic Governors) หมายถึง


เป็นอุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบของเครื่องต้นกาลังสาหรับงานประเภทที่ต้องการให้อัตราการเปลี่ยนแปลง
ความเร็วรอบของเครื่องต้นกาลังมีค่าเท่ากับศูนย์ (Zero droop) หรือ Isochronous Governing โดยอัตราการ
เปลี่ยนแปลงความเร็วรอบของเครื่องต้นกาลังถูกส่งเป็นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าไปยังระบบควบคุมการจ่ายน้ามัน
เชื้อเพลิ ง ซึ่งทางานด้วยโซลีน อยด์ และถู กควบคุมโดยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อิเล็ กทรอนิกส์กอฟเวอร์เนอร์
สามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงความเร็วรอบของเครื่องต้นกาลังได้รวดเร็วและเที่ยงตรงกว่าแมคคานิคอลกอฟ
เวอร์เนอร์

1.125 อุปกรณ์ควบคุมแรงดัน (Voltage Regulator) หมายถึง


เป็นอุปกรณ์เพื่อปรับค่าแรงดันไฟฟ้าด้ านจ่ายไฟของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองให้ใกล้เคียงกับแรงดันพิกัดใน
สภาวะการเปลี่ยนถ่ายโหลด

1.126 อุปกรณ์จากัดการเพิ่มขึ้นของแรงดันอย่างกะทันหันชั่วขณะ (Surge Suppressor) หมายถึง


อุปกรณ์จากัดการเพิ่มขึ้น ของแรงดันอย่างกะทันหันชั่วขณะใช้ป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นกับอุปกรณ์
อื่น ๆ จากการเพิ่มขึ้นของแรงดันอย่างกะทันหันชั่วขณะ

1.127 เอส ซี อาร์ (Silicon Controlled Rectifier: SCR) หมายถึง


เอส ซี อาร์ เป็นอุปกรณ์ โซลิด สเตท ที่ประกอบด้วยอิเลคโตรด 3 ชุด โดยอนุญาตให้มีกระแสไฟฟ้าไหลไปใน
ทิศทางเดียวเท่านั้น เอส ซี อาร์ จะทางานเมื่อมีการจ่ายแรงดันที่เพียงพอให้อิเลคโตรดตัวที่ 3 หรือที่เรียกว่า เกท

1.128 แอมแปร์ (Ampere) หมายถึง


หน่วยวัดกระแสที่มีสัญลักษณ์เป็น A กระแส 1 แอมแปร์หมายถึงกระแสคงตัวที่ปล่อย ให้ไหลในตัวนาขนาดเล็ก
ความยาวเป็นอนันต์ ในแนวตรง 2 เส้นที่ขนานกันและวางห่าง กัน 1 เมตร ในสุญญากาศแล้วจะทาให้เกิด แรง
กระทาต่อกันเท่ากับ 210-7 นิวตัน/เมตร (กาหนดไว้ในการประชุมเรื่องน้าหนักและการวัดในปี ค.ศ.1948)

1.129 โอห์ม (Ohm) หมายถึง


หน่วยของความต้านทาน (และของอิมพีแดนซ์) ในระบบนานาชาติ (SI) ค่าหนึ่งโอห์มของ ความต้านทานของ
ตัวนาตัวหนึ่งหมายความว่า เมื่อมีกระแสคงตัว 1 แอมแปร์ ไหลผ่านตัวนานี้แล้ว จะทาให้เกิดแรงดันไฟฟ้า
ระหว่างปลายสายทั้งสองเท่ากับ 1 โวลต์

1.130 ฮาร์มอนิก (Harmonics) หมายถึง


ส่วนประกอบไซนูซอยด์ที่เป็นส่วนหนึ่งของคลื่นหรือปริมาณเป็นคาบและมีความถี่เท่ากับเลขจานวนเต็มคูณด้วย
ความถี่หลักมูล
หมายเหตุ ยกตัวอย่ำงของฮำร์โมนิกว่ำ ส่วนประกอบที่มีควำมถี่เป็น 2 เท่ำของควำมถี่ หลักมูลนั้น จะมีชื่อเรียกว่ำ “ฮำร์มอนิกที่ 2”

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
19
1.131 เฮิร์ซ (Hertz : Hz) หมายถึง
เป็นหน่วยของความถี่ โดยทั่วไปกาหนดให้เป็น รอบ/วินาที

1.132 Engine data sheet หมายถึง


ข้อมูลทางด้านเทคนิคของเครื่องยนต์จากบริษัทผู้ผลิต

1.133 RPM หมายถึง


ความเร็วรอบต่อนาที

1.131 Total airflow restriction หมายถึง


ความเสียดทานรวมของการไหลของอากาศ

1.132 Wet Stacking หมายถึง


สภาวะซึ่งน้ามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซล ที่ฉีดเข้าไปในกระบอกสูบถูกเผาไหม้ไม่หมดหรือการเผาไหม้ไม่
สมบูรณ์ ถูกส่งผ่านออกไปทางด้านไอเสีย (Exhaust side) ของเทอร์โบชาร์จเจอร์และผ่านเข้าไปในระบบท่อไอ
เสียทาให้มีน้ามันไหลออกมา สาเหตุหนึ่งของการเกิด Wet Stacking เกิดจากเดินเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในสภาวะ
ไร้โหลดเป็นเวลานาน เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิด Wet Stacking โหลดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไม่ควรต่ากว่า 30
เปอร์เซ็นต์ของขนาดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
20
บทที่ 2 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า, ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)

ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า, ฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและตาแหน่งติดตั้งต้องเป็นไปตามมาตรฐาน, ข้อกาหนด


ของบริษัทผู้ผลิตและข้อบังคับตามกฎหมายอย่างน้อยต้องมีรายละเอียดดังนี้ :-
2.1 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
2.1.1 ชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator Set) จะต้องติดตั้งภายในห้องซึ่งแยกต่างหากออกจากระบบอื่น ๆ และมี
การระบายอากาศได้ดี ยกเว้นอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เช่น อะไหล่, เครื่องมือ
และคู่มือสาหรับซ่อมบารุงรักษาและซ่อมเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า เป็นต้น อนุ ญาตให้เก็บหรือติดตั้งภายใน
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้ กรณีติดตั้งภายนอกอาคาร สามารถติดตั้งภายในตู้ครอบซึ่งสามารถป้องกันฝนเข้า
มาภายในตู้ครอบได้ โดยความเร็วลมเฉลี่ยสูงสุดที่ผ่านช่องลมเข้ามาภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหรือตู้
ครอบจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานของบริษัทผู้ผลิตหรือข้อบังคับต่างๆ ตามกฎหมาย ทั้งนี้ต้องถูกจากัดให้อยู่
ในช่วงไม่เกิน 150 – 220 เมตรต่อนาที (500 – 700 ฟุต ต่อ นาที)

รูปที่ 2.1 แสดงการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ

2.1.2 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า และอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนผนังห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า จะต้องทนไฟได้ไม่น้อยกว่า 2


ชั่วโมง

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
21
2.1.3 ตาแหน่งช่องอากาศเข้า (Inlet) ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องอยู่ด้านหลังเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator)
ตรงข้ามกับชุดรังผึ้งระบายความร้อน (Radiator) หรือช่องอากาศออก (Outlet) จากห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
และต้องไม่ต้องมีสิ่งกีดขวางระหว่างช่องลมเข้ากับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า กรณีที่ช่องอากาศเข้าไม่สามารถอยู่
ด้านหลังเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator) ได้อนุญาตให้อยู่ตรงตาแหน่งด้านข้างของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้าได้
แต่ต้องไม่เลยชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไปด้านเครื่องยนต์ขับ

รูปที่ 2.2 แสดงการติดตั้งเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้า และตาแหน่งของอากาศเข้า

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
22

รูปที่ 2.3 แสดงการติดตั้งจานวนมากกว่า 1 ชุดและตาแหน่งของช่องอากาศเข้า

2.1.4 ตาแหน่งช่องอากาศออก (Outlet) จากห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า จะต้องอยู่ด้านหน้าชุดหม้อน้าระบายความ


ร้อน (Radiator) ยกเว้น เป็นการระบายความร้อนแบบอื่น เช่น แบบ Heat exchanger cool หรือ Air
cool เป็นต้น โดยความเร็ วสูงสุด ของอากาศที่จะออกจากห้ องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า จะต้องเป็นไปตาม
มาตรฐานของบริษัทผู้ผลิตหรือข้อบังคับต่างๆ ตามกฎหมาย
2.1.5 ตาแหน่งช่องอากาศออกภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องอยู่ในตาแหน่งสูงที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และ
ตาแหน่งช่องอากาศเข้าจะต้องอยู่ในตาแหน่งต่าที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้

รูปที่ 2.4 แสดงตาแหน่งช่องอากาศเข้า-ออกที่เหมาะสม และไม่เหมาะสม

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
23
2.1.6 อากาศเข้าห้องเครื่ องกาเนิดไฟฟ้า (Fresh air) ต้องถูกนาเข้าโดยตรงจากภายนอกอาคารและมีปริมาณ
เพียงพอสาหรับการระบายความร้อนและการสันดาปของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
2.1.7 ตาแหน่งช่องอากาศเข้าห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องไม่ติดตั้งใกล้บริเวณปลายท่อไอเสีย ระยะห่างระหว่าง
ช่องอากาศเข้าและปลายท่อไอเสียต้องห่างกันไม่น้อยกว่า 5 เมตร
2.1.8 ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้มีระยะห่าง ระหว่างฐานแท่น (Foundation) เครื่องกาเนิดไฟฟ้าและผนัง
ห้องไม่ต่ากว่า 1 เมตร, ด้านท้ายเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องมีพื้นที่ว่างสาหรับปฏิบัติงานไม่ต่ากว่า 1.5 เมตร,
และไม่ต้องมีฝ้าเพดาน ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
2.1.9 ระยะห่างระหว่างเพดานห้องเครื่องถึงท่อเก็บเสียงไอเสีย (Exhaust silencer) ต้องมีระยะห่างอย่างน้อย
230 มม. หรือ 9 นิ้ว เพื่อป้องกันความร้อนที่เกิดจากแก๊สไอเสีย
2.1.10 ไม่อนุญาตให้เก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ยกเว้นถังน้ามันเชื้อเพลิงประจาเครื่อง
(Fuel Day Tank) และถังน้ามันเชื้อเพลิงที่ติดตั้งมาจากบริษัทผู้ผลิต เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Integral Fuel
Tank) และไม่อนุญาตให้ใช้วัสดุไวไฟเป็นส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
2.1.11 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองจะต้ องมีแสงสว่างเพียงพอสาหรับการทางานอย่างปลอดภัยโดยมีความส่อง
สว่างขั้นต่าโดยเฉลี่ยที่ระดับพื้นผิวการทางาน (working plane) 200 ลักซ์ วงจรไฟฟ้าสาหรับไฟฟ้าแสง
สว่างดังกล่าวต้องจ่ายจากด้านจ่ายโหลดของอุปกรณ์โอนถ่ายแหล่งจ่ายไฟ (Transfer Switch)
2.1.12 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองจะต้องมีระบบไฟฟ้าแสงสว่างสารองฉุกเฉินซึ่งมีแหล่งจ่ายไฟจากแบตเตอรี่แยก
ต่างหากจากวงจรจ่ายไฟปกติ โดยมีระยะเวลาการส่องสว่างตามพิกัดที่กาหนดไว้ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 90
นาที โดยระดั บความส่องสว่างขั้นต่าโดยเฉลี่ยของระบบไฟฟ้าแสงสว่างสารองฉุกเฉินที่ระดั บพื้นผิวการ
ทางานต้องไม่น้อยกว่า 32.3 ลักซ์ (3 ฟุต-แคนเดิ้ล) เว้นแต่กาหนดเป็นอย่างอื่นโดยมาตรฐานหรือกฎหมายที่
เกี่ยวข้องฉบับล่าสุด
2.1.13 การออกแบบ ติดตั้งท่อ -ทางเดิน สายไฟ ดวงโคมไฟฟ้า ภายในห้ องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าส ารองฉุกเฉินให้
พิจารณาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการแผ่ความร้อนในขณะการทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน
2.1.14 ต้องจัดเตรียมเต้ารับไฟฟ้า 1 เฟส พร้อมสายดินอย่างน้อย 2 จุด สาหรับใช้ในการซ่อมบารุงและการ
บารุงรักษา อุปกรณ์ ทั้งนี้ วงจรไฟฟ้าสาหรับเต้ารับนี้จะต้องแยกอิสระจากวงจรไฟฟ้าอื่นและต้องจ่ายไฟจาก
ด้านจ่ายโหลดของอุปกรณ์โอนถ่ายแหล่งจ่ายไฟ (Transfer Switch)
2.1.15 ต้องจัดเตรียมวงจรย่อยไว้สาหรับอุปกรณ์ประกอบที่มีความจาเป็นทั้งหมดสาหรับการทางานของเครื่อง
กาเนิ ดไฟฟ้า ส ารองฉุก เฉิ น วงจรย่ อยดั งกล่ า วนี้ จ ะต้ องจ่า ยไฟจากด้ า นจ่ ายโหลดของอุป กรณ์ โ อนถ่ า ย
แหล่งจ่ายไฟ (Transfer Switch) หรือ ขั้วต่อไฟฟ้า (Terminal) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน
อุ ป กรณ์ ป ระกอบดั ง กล่ า วได้ แ ก่ เครื่ อ งสู บ น้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง เครื่ อ งสู บ สารหล่ อ เย็ น ของระบบ remote
radiator และระบบระบายอากาศขับด้วยมอเตอร์
2.1.16 ต้องจัดเตรียมวงจรย่อยจากระบบจ่ายไฟฟ้าปกติ ไว้สาหรับชุดอัดประจุแบตเตอรี่ และชุดให้ความร้อนสาร
หล่อเย็น (Coolant Heater)
2.1.17 ต้องจัดเตรียมระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ฉบับ
ล่าสุด
2.1.18 การติดตั้งระบบดับเพลิงภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ต้องเป็นไปตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัยของ
วสท.ฉบับล่าสุดและไม่อนุญาตให้ใช้ระบบหรือสารดับเพลิงดังต่อไปนี้

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
24
2.1.18.1 ระบบดับเพลิงชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือฮาลอนถ้าไอดี (Combustion air) ของเครื่องต้นกาลัง
(Prime mover) ไม่ได้ถูกนาเข้ามาโดยตรงจากภายนอกอาคาร
2.1.18.2 ผงเคมีแห้งระบบอัตโนมัติ (Automatic Dry Chemical System) ยกเว้นได้รับการรับรองจาก
บริษัทผู้ผลิตเครื่องกาเนิดไฟฟ้าว่าผงเคมีแห้งที่ใช้จะไม่เป็นอันตรายต่อเครื่องกาเนิดไฟฟ้า, ไม่มีผลกระทบ
ต่อการทางาน หรือทาให้ความสามารถผลิตกาลังไฟฟ้าลดลง (Reduce its output)

2.2 ฐานแท่นเครื่อง (Foundation)


2.2.1 ฐานแท่นเครื่องจะต้องมีขนาดใหญ่กว่าแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Skid base) 150 มม. หรือ 6 นิ้ว ทุกด้าน
เพื่อให้สปริงหรือยางรองแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า สามารถติดตั้งบนฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้โดยไม่ตก
จากแท่น
2.2.2 ฐานแท่นเครื่องจะต้องยกสูง จากพื้นอย่างน้อย 150 มม. หรือ 6 นิว เพื่อสะดวกในการซ่อมบารุงรักษาชุด
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
2.2.3 กรณีฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแยกออกจากพื้นอาคาร
2.2.3.1 น้าหนักของฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องไม่น้อยกว่า 2 เท่า ของน้าหนักชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
เพื่อให้สามารถต้านทานไดนามิกส์โหลดได้
2.2.3.2 สามารถคานวณหาความหนา (h) ของฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้จากสูตร

h = W
d.l.w
h = ความหนาของฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า หน่วยเป็นฟุต (เมตร)
l = ความยาวของฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า หน่วยเป็นฟุต (เมตร)
w = ความกว้างของฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า หน่วยเป็นฟุต (เมตร)
d = ความหนาแน่นของคอนกรีต
= 145 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต หรือ =2,400 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
W = น้าหนักรวม (Total wet weight of Genset) ของชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า หน่วยเป็น
ปอนด์ (กิโลกรัม)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
25

รูปที่ 2.5 แสดงการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าบนฐานแท่นเครื่อง

2.3 ตาแหน่งติดตั้ง
2.3.1 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องอยู่ในตาแหน่งที่สะดวกต่อการขนย้ายชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเข้าหรือออกจาก
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
2.3.2 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องมีปริมาณอากาศที่ ใช้ในการระบายความร้อนและการสันดาปเพียงพอ และอยู่ใน
ตาแหน่งที่อากาศดี (Fresh air) สามารถไหลเข้าห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้สะดวก
2.3.3 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องอยู่ในที่ปลอดภัยจากน้าท่วมสาเหตุเกิดจาก
2.3.3.1 น้าดับเพลิง
2.3.3.2 น้าเสีย หรือแหล่งน้าอื่นๆ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
26
บทที่ 3 มาตรฐานวัสดุและอุปกรณ์ติดตั้ง
(Standard for Materials and Equipments)
บทนี้ จะกล่าวถึงมาตรฐานของวัสดุและอุปกรณ์หลักต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและเป็นส่วนหนึ่งที่
ทาให้การติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า มีความสมบูรณ์ครบถ้วนและปลอดภัยในการใช้งาน

3.1 เครื่องต้นกาลัง (Prime movers) สาหรับขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Alternator) มาตรฐานเล่มนี้จะกล่าวถึง


เฉพาะเครื่องยนต์ดีเซล (Diesel engine) ซึ่งเครื่องยนต์ดีเซลที่ใช้ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้านี้จะเป็นเครื่องยนต์
ประเภทความเร็วคงที่ (Constant speed) เท่านั้นเครื่องต้นกาลังจะต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้.-
3.1.1 อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต์ (Governors)
(1) ต้องสามารถควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต์ (Bandwidth of rated speed) ที่ทุก ๆ สภาวะคงที่
(Any constant load or steady state condition) ให้เหมาะสมกับโหลด (Load)
(2) ต้องสามารถควบคุมความเร็วรอบระหว่างสภาวะไม่มีโหลด (No load) ถึงมีโหลดเต็มที่ (Full load) ให้
อยู่ในช่วงที่โหลดยอมรับได้ (Within the range for the load)
(3) ที่สภาวะรับโหลดเต็มที่ครั้งเดียว (One step application of the full load) ต้องสามารถควบคุม
ความเร็วรอบให้ตกไม่เกินช่วงที่โหลดรับได้ (The speed dip shall not be outside the range for
the load) และจะต้องสามารถควบคุมความเร็วรอบให้กลับสู่สภาวะคงที่ (Steady state condition)
ภายในเวลาที่โหลดยอมรับได้ (Within the requirements of the load)
(4) อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต์ แบ่งออกเป็นชนิดต่าง ๆ ดังนี้ :-
(ก) อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต์ทางกล(Mechanical Governors) เป็นอุปกรณ์
ควบคุมการจ่ ายน้ ามันเชื้อเพลิ งให้ เครื่องยนต์โ ดยอาศัยการส่งสั ญญาณทางกล (Mechanical
sensing) ผ่าน Flyweight หรืออุปกรณ์ซึ่งมีลักษณะคล้ายกัน สามารถควบคุมความเร็วรอบของ
เครื่องยนต์ให้ตกลงได้ไม่เกิน 3 ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ของความเร็วรอบปกติจากสภาวะไม่มีโหลดถึงมี
โหลดเต็มที่ ซึ่ง อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต์ทางกล (Mechanical Governor) นี้
เหมาะสาหรับใช้กับงานซึ่งไม่ต้องการความเที่ยงตรงของความเร็วรอบสูง
(ข) อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต์ทางไฟฟ้า (Electric Governor) ใช้สาหรับงานซึ่ง
ต้องการให้ความเร็วรอบของเครื่องยนต์คงที่ (Isochronous or zero droop) ได้แก่ งานขนาน
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Synchronizing and paralleling equipment) เป็นต้น โดยความเร็วรอบ
จะถูกแปลงเป็นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic) ส่งไปยังแผงควบคุม (Electronic
circuit) เพื่อควบคุมอัตราการจ่ายน้ามันเชื้อเพลิงให้กับเครื่องยนต์เพื่อควบคุมความเร็วรอบให้
คงที่ อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบของเครื่ องยนต์ทางไฟฟ้าซึ่งใช้กับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า จะต้อง
สามารถควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต์ให้กลับสู่สภาวะปกติหลังจากได้รับโหลด (Transient
load steps) ได้รวดเร็วกว่าเครื่องควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต์ทางกล (Mechanical
governor)
(ค) แบบอื่นๆ เช่น แบบไฮดรอลิคส์ เป็นต้น

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
27
3.1.2 ระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ต้นกาลังขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า แบ่งเป็นแบบต่าง ๆ เช่น ระบบสตาร์ทด้วยไฟฟ้า
และระบบสตาร์ทด้วยพลังงานอื่น ๆ เช่น ลม เป็นต้น
3.1.2.1 ระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าด้วยไฟฟ้า จะต้องเป็นระบบ 12 โวลท์ หรือระบบ 24
โวลท์โดยเครื่องยนต์ขนาดเล็กใช้ระบบ 12 โวลท์ และเครื่องยนต์ขนาดใหญ่ใช้ระบบ 24 โวลท์ วงจรของ
ระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าด้วยไฟฟ้า จะต้องเป็นไปตามรูปที่ 3.1

รูปที่ 3.1 วงจรของระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าด้วยไฟฟ้า

3.1.2.2 ระบบสตาร์ทด้วยไฟฟ้าใช้สวิทซ์โซลีนอยด์สั่งให้ชุดมอเตอร์สตาร์ทเตอร์ทาการสตาร์ทเครื่องยนต์
ประกอบด้วยช่วงเวลาและอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้

ตารางที่ 3.1 ระบบสตาร์ทด้วยไฟฟ้าใช้สวิทซ์โซลีนอยด์สั่งให้ชุดมอเตอร์สตาร์ทเตอร์ทาการสตาร์ทเครื่องยนต์


Starting equipment requirement ชุดที่จ่ายไฟให้โหลด ชุดที่จ่ายไฟให้โหลด
ระดับ 1 ระดับ 2
(ก) Battery unit X X
(ข) Battery certification X NA
(ค) Cycle cranking X or O O
(ง) Cranking limited time - outs
Cycle Crank (3 cycles) 75 วินาที 75 วินาที
Continuous crank 45 วินาที 45 วินาที
(จ) Float – type battery charger X X
1. Dc - ammeter X X
2. Dc - voltmeter X X
(ฉ) Recharge time 24 ชั่วโมง 36 ชั่วโมง
(ช) Low battery voltage alarm contacts X X
X : ต้องมี, O : เผื่อเลือก, NA : ไม่ต้องมี

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
28

3.1.2.3 วงจรของการสตาร์ทเครื่องยนต์ 1 ครั้ง ประกอบด้วย ช่วงเวลาสตาร์ท (Cranking period) ประมาณ 15


วินาที และช่วงเวลาพัก (Rest period) ประมาณ 15 วินาที เมื่อเครื่องยนต์สตาร์ทติดแล้วระบบสตาร์ท
ต้องหยุดทางาน
3.1.2.4 ขนาดของแบตเตอรี่จะต้องเพียงพอสาหรับการสตาร์ทเครื่องยนต์ ตามตารางที่ 3.1 หัวข้อ (ง) ได้อย่าง
น้อย 3 ครั้ง
 แบตเตอรี่จะต้องมีขนาดเพียงพอตามข้อกาหนดของบริษัทผู้ผลิต โดยจะเป็นชนิด Lead – acid หรือ
Nickel – cadmium ก็ได้
 ต้องมีไดชาร์จ (Charging alternator) ชนิดขับด้วยเครื่องยนต์พร้อมชุดแปลงแรงเคลื่อน (Integral
automatic voltage regulator) เพื่อใช้สาหรับชาร์จแบตเตอรี่ขณะเครื่องยนต์ทางาน
 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน (Emergency standby systems) จะต้องมีชุดชาร์จแบตเตอรี่
อัตโนมัติ (Float – type battery charger) ซึ่งทางานด้วยกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติ
(Normal power source) เพื่อชาร์จแบตเตอรี่ให้เต็มอยู่ตลอดเวลาที่เครื่ องกาเนิดไฟฟ้าสารอง
ฉุกเฉินไม่ได้ทางาน รวมทั้งต้องมีระบบตัดการทางานขณะเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉินทางาน
 สูตรคานวณหาระยะเวลาสูงสุดสาหรับชาร์จแบตเตอรี่

1.2  Battery Amp - Hour


Required charginghours 
Required battery chargingamps.

 ระบบสตาร์ ท เครื่ อ งยนต์ ขั บ เครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ด้ ว ยไฟฟ้ า อย่ า งน้ อ ยต้ อ งประกอบด้ ว ย
แบตเตอรี่ ข นาดตามข้ อ ก าหนดของบริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต , ขั้ ว แบตเตอรี่ , สายแบตเตอรี่ , ขาตั้ ง
แบตเตอรี่ (Battery racks)
 ถ้าแบตเตอรี่ติดตั้งห่างจากชุดมอเตอร์สตาร์ทเตอร์มาก สายแบตเตอรี่จะต้องถูกออกแบบโดย
เผื่อค่าแรงดันไฟฟ้าตก (Voltage drop) โดยพิจารณาจากความต้านทานรวม (Total
resistance) ของสายแบตเตอรี่, ขั้ว ต่อสายแบตเตอรี่ ระหว่างแบตเตอรี่ และมอเตอร์
สตาร์ทเตอร์ โดยทั่วไปค่าความต้านทานรวม (Total cranking circuit resistance) ของสาย
แบตเตอรี่และขั้วต่อสายแบตเตอรี่ จะต้องไม่เกิน 0.00075 โอห์ม สาหรับระบบ 12 โวล์ท
และไม่เกิน 0.002 โอห์ม สาหรับระบบ 24 โวล์ท
3.1.2.5 ระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าด้วยลม (Air Starting) ใช้กับเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าขนาดใหญ่
 ขนาดท่อลม (Air hose size) ปริมาตรถังลม (Tank volume) จะต้องเป็นไปตามคาแนะนาของ
บริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์หรือจานวนครั้งที่ต้องการสตาร์ทเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
 ค่าแรงดันสูงสุด (Maximum pressure rating) จะต้องเป็นไปตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต
เครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
 วาล์วและอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบจะต้องเป็นอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับระบบสตาร์ทของเครื่องยนต์

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
29

3.1.3 แผงควบคุมเครื่องยนต์ต้นกาลัง
3.1.3.1 เครื่องต้นกาลังจะต้องมีเครื่องวัดต่าง ๆ อย่างน้อยดังนี้:-
 เครื่องวัดแรงดันน้ามันหล่อลื่น (Oil pressure gauge)
 เครื่องวัดอุณหภูมิของเหลวระบายความร้อน (Temperature gauge) ยกเว้น เครื่องต้นกาลังชนิด
ระบายความร้อนด้วยอากาศ (Air-cooled) ไม่ต้องมีเครื่องวัดชนิดนี้
 เครื่องวัดชั่วโมงการทางาน (Hour meter)
 เครื่องวัดการประจุแบตเตอรี่ (Battery-charging meter)
 เครื่องวัดชนิดอื่นๆตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์ต้นกาลังซึ่งจาเป็นต้องใช้ในการซ่อม
บารุงรักษา
3.1.3.2 เครื่องวัดต่าง ๆ ตามข้อ 3.1.3.1 จะต้องติดตั้งอยู่ภายในตู้ปิดมิดติดตั้งอยู่บริเวณใกล้เคียงหรือบนเครื่อง
ต้นกาลังในตาแหน่งที่สามารถอ่านค่าต่าง ๆ ได้ง่ายและชัดเจน กรณีติดตั้งบนเครื่องต้นกาลังจะต้องติดตั้ง
บนชุดป้องกันความสั่นสะเทือน (Antishock vibration mounting) ด้วย
3.1.3.3 สายคอนโทรลจะต้องเป็นชนิดสายอ่อน (Harnessed or flexible enclosed) และติดตั้งอย่างมั่นคง
ปลอดภัยเพื่อป้องกันการถู, ครูดหรือถูกบาด (Chafing) และความเสียหายจากการสั่นสะเทือน
3.1.4 ฟังก์ชั่นการทางาน
แผงควบคุมเครื่องต้นกาลังต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ซึ่งสามารถควบคุมการทางานให้มีประสิทธิภาพดังนี้
 อุปกรณ์สตาร์ทอัตโนมัติระยะไกล (Automatic remote start capability)
 สวิทช์ควบคุมการทางานที่ฟังก์ชั่น Run-off-automatic
 ระบบดับเครื่องอัตโนมัติ
 ระบบสัญญาณเตือน
 ระบบควบคุมต่าง และระบบป้องกันจะต้องประกอบด้วย
- ระบบควบคุมการสตาร์ท (Cranking control)
- ระบบควบคุมการทางานที่ฟังก์ชั่นต่าง ๆ ได้แก่
(1) Run : ใช้ควบคุมการสตาร์ทและเดินเครื่องด้วยมือ (Manual initiate)
(2) Off : ใช้หยุดหรือดับเครื่องต้นกาลัง หรือใช้รีเซทระบบความปลอดภัยต่าง ๆ
(3) Automatic : ใช้ควบคุมการสตาร์ทและเดินเครื่องด้วยวิธีอัตโนมัติ
- ระบบควบคุมการดับ (Shutdown) และล็อกเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเมื่อ :-
(1) การสตาร์ทล้มเหลวไม่เป็นไปตามจานวนครั้งและเวลาในการสตาร์ทที่กาหนดไว้ (Fail to start
after specified cranking time)
(2) ความเร็วรอบของเครื่องต้นกาลังสูงเกินเกณฑ์ปกติ (Overspeed)
(3) อุณหภูมขิ องเครื่องต้นกาลังสูงเกินเกณฑ์ปกติ (High engine temperature)
(4) ความดันน้ามันหล่อลื่นต่ากว่าเกณฑ์ปกติ (Low lubricating oil pressure)
(5) อุปกรณ์ดับเครื่องฉุกเฉินด้วยมือ (Removal of the initiating signal or manual
emergency shutdown.)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
30
สัญญาณเตือนเมื่อเกิดปัญหาต่าง ๆ ดังนี้ :-

ตารางที่ 3.2 แสดงรายการอุปกรณ์แจ้งเตือนเพื่อความปลอดภัย สาหรับอุปกรณ์หรือวงจรไฟฟ้าในโหลดระดับ 1 และ ระดับ 2


ระบบการแจ้งเตือน ระดับที่ 1 ระดับที่ 2
(Indicator Function at Battery Voltage) CV S RA CV S RA
(a) การสตาร์ทล้มเหลว (Overcrank) X X X X X O
(b) อุณหภูมิของเหลวระบายความร้อนต่ากว่าเกณฑ์ปกติ X NA X X NA O
(c) อุณหภูมิเครื่องยนต์สูงเกินเกณฑ์ปกติ (Pre-alarm) X NA X O NA NA
(d) อุณหภูมิเครื่องยนต์สูงเกินเกณฑ์ปกติ X X X X X O
(e) ความดันน้ามันหล่อลื่นต่ากว่าเกณฑ์ปกติ (Pre-alarm) X NA X O NA NA
(f) ความดันน้ามันหล่อลื่นต่ากว่าเกณฑ์ปกติ X X X X X O
(g) ความเร็วรอบสูงเกินเกณฑ์ปกติ X X X X X O
(h) ระดับน้ามันในถังต่า X NA X O NA O
(i) ระดับของเหลวระบายความร้อนต่า X O X X O X
(j) เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากาลังจ่ายโหลด X NA NA O NA NA
(k) สวิทซ์ควบคุมไม่อยู่ในตาแหน่งอัตโนมัติ (Automatic Position) X NA X O NA NA
(l) แรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่สูง (High Battery Voltage) X NA NA O NA NA
(m) ระดั บ แรงดั น ไฟฟ้ า ส าหรั บ สตาร์ ท เครื่ อ งยนต์ ต่ า (Low
X NA X O NA O
CrakingVoltage)
(n) แรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ต่า X NA NA O NA NA
(o) เครื่องชาร์จแบตเตอรี่อัตโนมัติ (Battery Charger ac failure) X NA NA O NA NA
(p) ปุ่มทดสอบ (Lamp Test) X NA NA X NA X
(q) หน้าคอนแทคสาหรับ Local และ Remote Alarm) X NA X X NA X
(r) สวิทซ์สาหรับปิดสัญญาณเตือน (Audible Alarm Silencing
NA NA X NA NA O
Switch)
(s) ความดันลมสาหรับสตาร์ทเครื่องยนต์ต่า – กรณีสตาร์ทด้วยลม X NA NA O NA NA
(t) ความดันสาหรับสตาร์ทด้วยวิธี Hydraulic Starting ต่า X NA NA O NA NA
(u) Air Shutdown damper เปิดขณะใช้งาน X X X X X O
(v) ปุ่มหยุดเครื่องอัตโนมัติ (Remote Emergency Stop) NA X NA NA X NA

CV : ติดตั้งบนแผงควบคุมเพื่อให้สามารถมองเห็นได้
S : แสดงการดับ (Shutdown) เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
RA : Remote Audible
X : ต้องมี (Required)
O : เผือเลือก (Option)
NA : ไม่ต้องมี (Not Applicable)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
31
 การแจ้งเตือนตามเงื่อนไขที่ระบุในตารางที่ 3-2 นั้นจะมีคุณสมบัติดังนี้
- จ่ายไฟโดยแบตเตอรี่
- สามารถมองเห็นได้ง่าย
- มีหน้าสัมผัสสาหรับต่อวงจร (contacts ) หรือวงจรเพิ่มสาหรับสัญญาณเสียงเตือนร่วม ที่จุดนั้นและ
จุดอื่นที่ต่อพ่วงออกไป ในกรณีที่เกิดการแจ้งเตือน
- มีไฟแสดงสาหรับทดสอบการทางานของไฟแจ้งเหตุ
3.1.5 อุปกรณ์รองรับการสั่นสะเทือน (Vibration Isolators) จะต้องถูกติดตั้งระหว่างชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
และแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า หรือระหว่างแท่นเครื่อง กับฐานแท่นเครื่อง (Foundation or inertia base)
 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กหรือต่ากว่า 200 กิโลวัตต์ลงมาให้ใช้อุปกรณ์รองรับการสั่นสะเทือนชนิดยาง
(Pad type vibration isolator) หรือตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต
 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่หรือขนาดตั้งแต่ 200 กิโลวัตต์ขึ้นไปให้ใช้ อุปกรณ์รองรับการสั่นสะเทือน
ชนิดสปริง (Spring type vibration isolator) หรือตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต
3.1.6 ระบบท่อไอเสีย
3.1.6.1 ท่อเก็บเสียงไอเสีย (Exhaust muffler)
 แบบใช้กับงานอุตสาหกรรม (Industrial type) สามารถลดเสียงได้ 12 – 18 dBA
 แบบใช้กับที่พักอาศัย (Residential type) สามารถลดเสียงได้ 18 – 25 dBA
 แบบพิเศษ (Critical type) สามารถลดเสียงได้ 25 – 35 dBA
 แบบพิเศษมาก (Super critical type) สามารถลดเสียงได้ 35 – 45dBA
3.1.6.2 ท่อไอเสีย (Exhaust pipe) ต้องเป็นชนิดท่อเหล็กดา (Black steel pipe) ตามมาตรฐาน มอก. หรือ
เทียบเท่าหรือวัสดุอื่นซึ่งสามารถทนอุณหภูมิของแก๊สไอเสียได้ไม่น้อยกว่า 600 องศาเซลเซียส โดยไม่เสีย
รูป
3.1.6.3 ท่ออ่อนไอเสีย (Flexible exhaust pipe) ใช้สาหรับเชื่อมต่อระหว่างเครื่องยนต์และท่อไอเสีย เพื่อ
ป้ อ งกั น การขยายตั ว ของท่ อ ไอเสี ย เนื่ องจากความร้ อ น, การเคลื่ อ นที่ ข องเครื่อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า และ
แรงสั่นสะเทือน ท่ออ่อนไอเสียทาจากท่อสแตนเลสชนิดลูกฟูกไม่มีตะเข็บ (Seamless corrugated
stainless steel) สาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่หรือมากกว่า 200 กิโลวัตต์ ต้องมีความยาวอย่าง
น้อย 610 มม. หรือ 24 นิ้ว ส่วนเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กหรือขนาดต่ากว่า 200 กิโลวัตต์ต้องมีความ
ยาวอย่างน้อย 457 มม. หรือ 18 นิ้ว
3.1.6.4 ฉนวนหุ้มท่อไอเสียต้องทาจากวัสดุชนิดไม่ติดไฟ (Non–combustible material) สามารถทนความร้อน
ได้ไม่น้อยกว่า 600 oC
3.1.6.5 วัสดุหุ้มระบบท่อไอเสีย (Jacket) ต้องทาจากแผ่นอลูมิเนียม หรือ สเตนเลสสตีล หนาไม่น้อยกว่า 0.50 มม.
3.1.7 ระบบน้ามันเชื้อเพลิง
3.1.7.1 ชนิดของถังน้ามันเชื้อเพลิง (Fuel Tank) มี 4 ชนิดดังนี้
(1) ถังน้ามันเชื้อเพลิงประจาเครื่อง (Fuel Day Tank) ติดตั้งอยู่ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีความจุ
ตามระดับชั้น (Class) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากาหนดไว้ แต่อย่างน้อยต้องสามารถจ่ายน้ามัน
เชื้อเพลิงให้เครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าได้ไม่ต่ากว่า 4 ชั่วโมง เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าเต็มที่ (Full load)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
32
(2) ถังน้ามันเชื้อเพลิงติดตั้งอยู่ภายในห้องแยก (Enclosed Fuel Tank) ต่างหากจากห้องเครื่องยนต์
กาเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ต่าง ๆ
(3) ถังน้ามันเชื้อเพลิงติดตั้งมาจากบริษัทผู้ผลิตเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Integral Fuel Tank)โดยติดตั้งมา
บนเครื่องยนต์ (Mounted on the engine) หรือติดตั้งอยู่ภายใต้แท่นเครื่อง (Under a sub
base)
(4) ถังน้ามันสารอง (Main Fuel Tank หรือ Fuel Storage Tank) สาหรับจ่ายน้ามันเชื้อเพลิงให้
เครื่องยนต์หรือถังน้ามันเชื้อเพลิงประจาเครื่อง (Fuel Day Tank)
3.1.7.2 ถังน้ามันเชื้อเพลิงใต้พื้นดินต้องมีลักษณะและวิธีการติดตั้งดังต่อไปนี้ :-
 ตัวถังต้องทาด้วยเหล็กที่มีความเค้นคราก (Yield stress) ไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของความเค้นที่เกิดขึ้น
(Allowable stress) เนื่องจากการรับแรงและน้าหนักบรรทุกต่าง ๆ หรือทาด้วยวัสดุไม่ติดไฟอื่นที่มี
มาตรฐานเทียบเท่า
 ตัวถังต้องติดตั้งและยึดแน่นกับฐานรากในลักษณะที่ไม่อาจเคลื่อนที่หรือลอยตัวเนื่องจากแรงดันของ
น้าใต้ดิน และฐานรากต้องออกแบบและก่อสร้างให้สามารถรับน้าหนักของตัวถังและน้ามันเชื้อเพลิงที่
บรรจุอยู่ในถัง รวมทั้งน้าหนักอื่น ๆ ที่กระทาบนตัวถังได้โดยปลอดภัย และห้ามมีสิ่งก่อสร้างใด ๆ อยู่
เหนือส่วนบนของผนังถัง
 ผิวภายนอกของตัวถังต้องมีการป้องกันการกัดกร่อน
 ส่วนบนของผนังถังต้องอยู่ต่ากว่าระดับพื้นดินไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร
 ต้องมีระยะห่างระหว่างผนังถังแต่ละถังไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร
 ตัวถังต้องตั้งอยู่ในเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงและผนัง ถังต้องอยู่ห่างจากเขตสถานที่เก็บ
รักษาน้ามันเชื้อเพลิงไม่น้อยกว่า 300 เซนติเมตร
 ต้องติดตั้งท่อระบายไอน้ามันเชื้อเพลิงไว้ทุกถัง สาหรับถังที่แบ่งเป็นห้อง (Compartment) ต้องติดตั้ง
ท่อระบายไอน้ามันเชื้อเพลิงไว้ทุกห้องแยกจากกัน โดยท่อระบายไอน้ามันเชื้อเพลิงต้องมีลักษณะและ
วิธีการติดตั้ง ดังต่อไปนี้ :-
(ก) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 4 เซนติเมตร
(ข) ปลายท่อระบายไอน้ามันเชื้อเพลิงต้องอยู่สูงจากระดับพื้นดินไม่น้อยกว่า 400 เซนติเมตร และ
อยู่ห่างจากเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงไม่น้อยกว่า 150 เซนติเมตร
 ปลายท่อรับ น้ ามัน เชื้อเพลิ งต้องอยู่ห่ างจากเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิ งไม่น้อยกว่า 150
เซนติเมตร
 รายละเอียดอื่น ๆ ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงว่าด้วยสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงฉบับล่าสุด
3.1.7.3 ถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิงเหนือพื้นดินต้องมีลักษณะและวิธีการติดตั้งดังต่อไปนี้ :-
 ตัวถังต้องทาด้วยเหล็กที่มีความเค้นคราก (Yield stress) ไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของความเค้นที่เกิดขึ้น
(Allowable stress) เนื่องจากความดันใช้งานสูงสุดของน้ามันเชื้อเพลิงในถัง หรือทาด้วยวัสดุไม่ติด
ไฟอื่นที่มีมาตรฐานเทียบเท่า
 ตัวถังต้องติดตั้งและยึดแน่นกับฐานราก โดยฐานรากต้องออกแบบและก่อสร้างให้สามารถรับน้าหนัก
ของตัวถังและน้ามันเชื้อเพลิงที่บรรจุอยู่ในถัง รวมทั้งน้าหนักอื่น ๆ ที่กระทาบนตัวถังได้โดยปลอดภัย
 ผิวภายนอกของตัวถังต้องมีการป้องกันการกัดกร่อน
ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
33
 รอบตัวถังต้องมีเขื่อนหรือกาแพงล้ อมรอบ โดยเขื่อนหรือกาแพงดังกล่าวต้องมีขนาดพอที่จะเก็บ
น้ามันเชื้อเพลิงได้เท่ากับปริมาณความจุของถังใบใหญ่ที่สุดภายในเขื่อนหรือกาแพง โดยผนังของเขื่อน
หรือกาแพงจะต้องสามารถป้องกันของเหลวไหลผ่าน และสามารถทนแรงดันของน้าหนักบรรทุกสูงสุด
ได้
 ต้องติดตั้งท่อระบายไอน้ามันเชื้อเพลิงไว้ทุกถัง ตามที่ระบุในกฎกระทรวงว่าด้วยสถานที่เก็บรักษา
น้ามันเชื้อเพลิงฉบับล่าสุด
 ปลายท่อรับ น้ ามัน เชื้อเพลิ งต้องอยู่ห่ างจากเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิ งไม่น้อยกว่า 150
เซนติเมตร
 รายละเอียดอื่น ๆ ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงว่าด้วยสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงฉบับล่าสุด
3.1.7.4 ระบบท่ อ น้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง และอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ กั บ ถั ง น้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง ต้ อ งมี ลั ก ษ ณะและวิ ธี ก ารติ ด ตั้ ง
ดังต่อไปนี้:-
(1) ต้องออกแบบและก่อสร้างให้ สามารถรับแรงและน้าหนักต่าง ๆ ที่มากระทาต่อระบบท่อได้โดย
ปลอดภัย
(2) ท่อที่น ามาใช้ในระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิ งต้องทาด้วยเหล็ กกล้ า หรือทาด้ว ยวัส ดุไม่ติดไฟอื่นที่มี
มาตรฐานเทียบเท่า
(3) ระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงที่ต่อกับเครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิงต้องจัดให้มีลิ้นปิดเปิดสาหรับท่อทางเข้า
และท่อทางออกจากเครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อหยุดการสูบน้ามันเชื้อเพลิงในกรณีฉุกเฉิน
3.1.7.5 การติดตั้งระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงเหนือพื้นดินต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้ :-
(ก) ท่อต้องวางอยู่บนฐานรองรับที่ทาด้วยคอนกรีตหรือคานเหล็กที่มีความมั่นคงแข็งแรงเหนือพื้นดิน
และมีระยะสูงจากพื้นดินเพียงพอเพื่อป้องกันการกัดกร่อน
(ข) มีการป้ องกั น มิให้ ย านพาหนะหรือสิ่ งอื่นมากระทาให้ เกิดการช ารุดเสี ยหายต่อระบบท่อ น้ามั น
เชื้อเพลิง ละมีการป้องกันมิให้เกิดการกัดกร่อน
(ค) ท่อที่วางไว้เหนือพื้นดินและพาดผ่านทางสัญจร ให้แสดงระยะความสูงจากพื้นผิวจราจรถึงจุดต่าสุด
ของท่อโครงสร้าง หรือส่วนประกอบอื่น ๆ ของท่อนั้น
3.1.7.6 การติดตั้งระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงใต้พื้นดินต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้ :-
(ก) ท่อที่ใช้ต้องเป็นท่อที่มีความต้านทานการกัดกร่อน หรือมีการป้องกันการกัดกร่อน
(ข) จัดให้มีเครื่องหมายแสดงแนววางท่ออย่างชัดเจน
(ค) กรณีที่มีการติด ตั้งลิ้นปิดเปิดหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ใต้พื้นดินต้องติดตั้งให้สามารถตรวจสอบและ
บารุงรักษาได้โดยสะดวก
3.1.7.7 วัสดุที่ใช้ในระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิง เช่น ลิ้นปิดเปิด, ปะเก็น หรือวัสดุป้องกันการรั่วซึมต้องเป็นชนิดที่ใช้
กับน้ามันเชื้อเพลิงโดยเฉพาะ และไม่ทาปฏิกิริยากับน้ามันเชื้อเพลิง
3.1.7.8 การทดสอบถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิงและระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิง
 เมื่อติดตั้งถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิงแล้วต้องทาการทดสอบการรั่วซึมของตัวถังและข้อต่อต่าง ๆ โดยใช้
แรงดันน้า แรงดันอากาศ หรือก๊าซเฉื่อยอัดด้วยแรงดันไม่น้อยกว่า 20.6 กิโลปาสกาล (3 ปอนด์ต่อ
ตารางนิ้ว) แต่ไม่เกิน 34.5 กิโลปาสกาล (5 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) ในกรณีใช้แรงดันน้าให้ใช้เวลาในการ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
34
ทดสอบไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง ในกรณีใช้แรงดันอากาศหรือก๊าซเฉื่อยให้ใช้เวลาในการทดสอบไม่น้อย
กว่า 24 ชั่วโมง

ในกรณีที่พบการรั่วซึม ให้ตรวจสอบหารอยรั่วซึ มแล้วทาการแก้ไขและทาการทดสอบตามวรรคหนึ่ง


ซ้า จนกระทั้งไม่ปรากฏการรั่วซึม
 ให้ทาการทดสอบการรั่วซึมของถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิงทุกสิบปี
 เมื่อติดตั้งระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงและอุปกรณ์เสร็จแล้ว ก่อนการใช้งานต้องทาการตรวจสอบและ
ทดสอบ ดังต่อไปนี้ :-
(1) ตรวจพินิจ (Visual check) วัสดุหรือชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงว่าอยู่
ในสภาพดีและได้มาตรฐาน
(2) ทาการทดสอบการรั่วซึมโดยใช้แรงดันน้า แรงดันอากาศ หรือก๊าซเฉื่อยอัดด้วยแรงดัน 345 กิโล
ปาสกาล (50 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบนาที ในกรณีเป็นท่อที่มี ผนังสอง
ชั้นให้ทดสอบเฉพาะท่อชั้นใน

ไม่อนุญาตให้นาท่อต่าง ๆ เหล่านี้มาใช้เป็นท่อน้ามันเชื้อเพลิง
 ท่อเหล็กหล่อและท่ออลูมิเนียม (Cast iron and aluminum pipe) เนื่องจากวัสดุทั้งสองมีคุณสมบัติ
เป็นรูพรุน (Porous) ซึ่งน้ามันเชื้อเพลิงสามารถรั่วออกมาได้
 ท่อเหล็กอาบสังกะสี (Galvanized fuel pipe Line) เนื่องจากอาจทาให้เครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิง
และไส้กรองน้ามันเชื้อเพลิงอุดตันได้
 ท่อทองแดง (Copper fuel pipe Line) เนื่องจากในระยะยาวอาจทาให้หัวฉีดอุดตัน (Clog fuel
injectors) อีกประการหนึ่ง ท่อทองแดงจะมีความหนาน้อยกว่าและเกิดการแตกหักเสียหายง่ายกว่า
ท่อเหล็กดา
3.1.7.9 เครื่ องสูบ น้ามัน เชื้อเพลิงต้องเป็นชนิด หอยโข่ง (Centrifugal pump) หรือชนิดอัตราการไหลคงที
(Positive displacement pump) ที่เหมาะสมสามารถใช้กับน้ามันดีเซลได้ดีเนื่องจากน้ามันมีความหนืด
และอย่างน้อยต้องมีคุณสมบัติดังนี้
 ต้องมี safety relief valve ติดตั้งอยู่ด้วย
 ตัวซีล (Seal) เป็นแบบ Mechanical seal
 ต้องสามารถสูบน้ามันเชื้อเพลิงเข้าเต็มความจุของ ถังน้ามันประจาเครื่อง (Fuel Day Tank) ได้
ภายในเวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง

3.2 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternator)


3.2.1 แรงดันไฟฟ้า (Voltage)
(1) ชนิดแรงดันต่า (Low voltage) ระดับแรงดันไฟฟ้าต้องไม่เกิน 600 โวลท์ สามารถปรับค่าได้ +5% จาก
ระดับแรงดันไฟฟ้าปกติ (Nominal voltage) ใช้งานเป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองหรือเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน (Standby and emergency application)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
35
(2) ชนิดแรงดันปานกลาง (Medium voltage) ระดับแรงดันไฟฟ้า ตั้งแต่ 601โวลท์ ขึ้นไป ถึง 11,000
โวลท์ สามารถปรับค่าได้+5% จากระดับแรงดันไฟฟ้าใช้งานปกติเพื่อเป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้นกาลัง
(Prime power) หรือ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าหลัก (Base load) ซึ่งสามารถจ่ายกาลังไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง
(Continuous) ให้กับโหลดได้สูงถึง 100% ตลอดเวลา (Unlimited hours)
3.2.2 ฉนวนและพิกัดกาลัง
(1) เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่มีพิกัดกาลังตั้งแต่ 20 กิโลวัตต์ ขึ้นไป ฉนวนขดลวด (Winding insulation ต้อง
เป็นแบบ NEMA Class F หรือ NEMA Class H โดยฉนวนขดลวด NEMA Class H จะสามารถทน
อุณหภูมิได้สูงกว่าฉนวนขดลวด Class F เมื่อเทียบกับอุณหภูมิบรรยากาศที่ 40 °C และพิกัดกาลังของ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับข้อจากัดของอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น (Temperature rise)
(2) อุณหภูมิที่สูงขึ้น (Temperature rise) ของขดลวดแบ่งออกเป็น Class ต่าง ๆ ได้แก่ Class 80 °C ,
Class 105 °C , Class 125 °C และ Class 150 °C โดย Class ต่าง ๆ นี้ เป็นค่าอุณหภูมิที่สูงขึ้น
(Temperature rise) ของขดลวด (Winding) เทียบกับอุณหภูมิบรรยากาศที่ 40 °C เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ใช้งานที่อุณหภูมิขดลวดสู งขึ้น 80 °C (Class 80 °C Temperature rise) จากอุณหภูมิบรรยากาศจะมี
อายุการใช้งานนานกว่าเครื่องกาเนิดไฟฟ้าซึ่งใช้งานที่อุณหภูมิขดลวดสูงขึ้น 105 °C (Class 105 °C
Temperature rise) โดยทั่วไปเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะกาหนดพิกัดกาลังไว้ที่หลาย ๆ Temperature
rise class เช่น Class 125/105/80 °C หมายความว่าเครื่องกาเนิด ไฟฟ้านี้สามารถจ่ายกาลังไฟฟ้าได้
สูงสุดที่ Standby rating จะทาให้อุณหภูมิขดลวดสูงขึ้นเป็น 125 °C, ที่ Prime rating จะทาให้
อุณหภูมิขดลวดสูงขึ้นเป็น 105 °C และที่ Continuous rating จะทาให้อุณหภูมิขดลวดสูงขึ้นเป็น 80 °C
3.2.3 ขดลวดและรูปแบบการต่อสาย (Winding and Connections) เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะถูกออกแบบ
ขดลวดเป็นชนิด 4 Lead, 6Lead หรือ 12 Lead ซึ่งสามารถต่อสายออกมาเป็นแบบต่าง ๆ เช่น WYE หรือ
DELTA ได้และแรงดันไฟฟ้าจะอยู่ในช่วง 208 ถึง 240 โวลท์ หรือ 190 ถึง 220 โวลท์ หรือ 380 ถึง 480
โวลท์ ขึ้นอยู่กับการปรับระดับแรงดันกระตุ้น (Excitation level) และขดลวดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
สามารถออกแบบขดลวดชนิดพิเศษ (Special winding) ให้สามารถรับกระแสสตาร์ทมอเตอร์ได้สูง (Higher
motor starting current capability)
3.2.4 โครงสร้างพื้นฐานและการกระตุ้น (Fundamental & Excitation)
(1) เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องประกอบด้วยระบบการกระตุ้น (Excitation system) แบบ Self – excited
หรือแบบ Separately – excited (Permanent Manet Generator : PMG)
 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบ Self – excited ชุด Excitation system จะรับสัญญาณแรงดันไฟฟ้า จาก
ชุดควบคุมแรงดันอัตโนมัติ (AVR) ซึ่งรับสัญญาณมาจากกาลังไฟฟ้าด้านออกของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
(By tapping or shunting power from the generator power output) แล้วเปรียบเทียบกับ
ค่าอ้างอิง (Reference values) หลังจากนั้นจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง (DC output) ไปยังขดลวด
Exciter field windings และชุด Exciter field จะผลิตไฟฟ้ากระแสสลับภายใน Exciter rotor
แล้วถูกแปลง (Rectified) เป็นไฟฟ้ากระแสตรง (DC) โดย Rotating diode เพื่อจ่ายให้Main
rotor หรือ Generator field ชุดควบคุมแรงดันอัตโนมัติ จะเพิ่มหรื อลด Exciter current ขึ้นอยู่
กับการเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้าขาออก (Output voltage) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ซึ่งขึ้นอยู่
กับการเปลี่ยนแปลงของโหลดด้วย

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
36

รูปที่ 3.2 การกระตุ้นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบ Self – excited

 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบ Separately – excited ชุดระบบกระตุ้นแยกต่างหาก (Excitation


system)แบบนี้เหมือนกับชุด Self – excited ยกเว้นมีชุดแม่เหล็กถาวรแยกต่างหาก (Permanent
Magnet Generator –PMG) ติดตั้งอยู่บริเวณปลายของ Main generator shaft เพื่อให้
กาลังไฟฟ้าแก่ชุดควบคุมแรงดันอัตโนมัติ (AVR) จากสาเหตุที่ชุดให้กาลังไฟฟ้าแยกต่างหากนี้ทาให้
วงจร Excitation ไม่ได้รับผลกระทบจากโหลดสามารถทนกระแสไฟฟ้าสูงสุดได้สองถึงสามเท่าเป็น
เวลาไม่น้อยกว่า 10 วินาทีจากเหตุผลนี้ทาให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิด Separately – excited
สามารถรับโหลดชนิดมอเตอร์, Non – linear load ได้ดีและสามารถต้านทานการลัดวงจร (Short
circuit) ได้นานขึ้นเมื่อจาเป็น

รูปที่ 3.3 การกระตุ้นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบ Separately – excited (PMG)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
37
(2) โหลดชั่วขณะ (Transient load)
 โหลดชั่วขณะจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนโหลดขนาดใหญ่ในทันที ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการกระเพื่ อมชั่ว
ครู่ของทั้งแรงดันและความถี่ ทั้งนี้ ระดับและเวลาในการกระเพื่อมจะขึ้นอยู่กับประเภทและขนาด
ของโหลดเทียบกับขนาดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Alternator) โดยทั่วไปค่า แรงดันกระเพื่อมชั่วครู่
จะต้องไม่เกิน 10 % ของแรงดันปกติ เมื่อจ่ายโหลด 60 % ของพิกัดกาลังของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ครั้งเดียว (60% one step load)
 เวลาในการปรับค่าแรงดันกระเพื่อม (Voltage recovery time) เป็นเวลาระหว่างที่เกิดแรงดัน
กระเพื่อม (Voltage Dip) เนื่องจากมีการเปลี่ยนโหลดจนกระทั่งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าปรับแรงดันให้
อยู่ในกรอบแรงดันปกติ โดยทั่วไปจะอยู่ที่ +/- 2% ของแรงดันปกติ ทั้งนี้เวลาในการปรับค่าแรงดัน
กระเพื่อมจะต้องอยู่ในช่วง 1-10 วินาที ขึ้นอยู่กับธรรมชาติของโหลดและการออกแบบเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า
 ค่าความถี่กระเพื่อม (Frequency Dip) เกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนโหลดขนาดใหญ่ โดยเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าจะพยายามปรับความเร็วรอบเครื่องยนต์ให้สอดคล้องกับภาระโหลดเพื่อให้เวลาปรับค่าแรงดัน
กระเพื่อมสั้นที่สุด ทั้งนี้ ค่าความถี่กระเพื่อมจะต้องอยู่ในช่วง ±5 % ของความถี่ปกติ เมื่อจ่ายโหลด
ครั้งเดียวไม่น้อยกว่า 60% ของพิกัดกาลังของเครื่องกาเนิดไฟ (60% One step load) ทั้งนี้ขนาด
การจ่ายโหลดครั้ งเดียวขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้ ออกแบบโดยความถี่กระเพื่อมจะต้องอยู่ในค่าที่
กาหนดไว้

รูปที่ 3.4 รูปแบบของแรงดันไฟฟ้าขณะจ่ายโหลดและปลดโหลด


(Typical Voltage Profile on Load Application and Removal)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
38

(3) Locked Rotor kVA


การสตาร์ทมอเตอร์จะกินกระแสประมาณ 6 เท่าของกระแสพิกัด ซึ่งทาให้เกิดการกระเพื่อมของ
แรงดันไฟฟ้า (Voltage Dip ) (ดูรูปที่ 3.5) ดังนั้นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจึงต้องมีขนาดกาลังของเครื่องยนต์
ให้เพียงพอในการขับมอเตอร์ที่จุดสูงสุด (Peak) ไม่น้อยกว่า 3 เท่าของพิกัดกาลังของมอเตอร์ที่
ความเร็วรอบ 80% ของความเร็วพิกัด

รูปที่ 3.5 คุณลักษณะการสตาร์ทมอเตอร์โดยตรง


(Typical Across-the-Line Motor Starting Characteristics)

3.3. ตู้ครอบเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า – Enclosures (Canopies Type)


ตู้ครอบเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ แบบป้องกันสภาวะอากาศ (Weatherproof enclosures),
แบบป้องกันเสียง (Soundproof enclosures) และแบบสามารถเข้าไปทางานภายในได้ (Walk-in enclosures)
ซึง่ แต่ละชนิดมีลกั ษณะดังนี้:-
3.3.1 แบบป้องกันสภาวะอากาศ (Weatherproof Enclosures)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
39
ตู้ครอบแบบนี้ต้องสามารถป้องกันเครื่ องยนต์กาเนิดไฟฟ้าจากสภาวะอากาศต่าง ๆ เช่น ลม, ฝน เป็นต้นได้
ประกอบด้วยตู้ครอบ, ประตูตู้ครอบพร้อมสลักสาหรับล็อก, บานเกล็ด (Louver) หรือแผ่นเหล็กเจาะรู
(Perforated panels) ซึ่งอากาศสาหรับใช้ในการระบายความร้อนสามารถไหลผ่านได้โดยสะดวก
3.3.2 แบบป้องกันเสียง (Soundproof Enclosures)
ตู้ครอบแบบนี้ต้องสามารถป้องกันเสียงดังจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า และสามารถลดเสียงของเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าให้ได้ตามข้อกาหนด และเป็นไปตามกฎหมาย ภายในตู้จะต้องติดตั้งวัสดุป้องกันเสียง (Soundproof
material) และกล่องเก็บเสียง (Sound attenuator) ซึ่งถูกออกแบบเหมาะสมสามารถใช้กับเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.3.3 แบบสามารถเข้าไปทางานภายในได้ (Walk-in Enclosures)
ตู้ครอบแบบนี้ถูกออกแบบและสร้างให้เหมาะสมกับการใช้งาน ภายในประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น
กล่องเก็บเสียง (Sound attenuator), ผนังป้องกันเสียง, ตู้ควบคุมระบบจ่ายไฟฟ้า (Power switching
and monitoring equipments), ไฟฟ้าแสงสว่าง, ถังดับเพลิง, ถังน้ามันเชื้อเพลิง, อุปกรณ์อื่น ๆ เป็นต้น
ลักษณะพิเศษของตู้ครอบแบบนี้ คือสามารถเข้าไปทางาน, ทาการซ่อมบารุงรักษาอุปกรณ์ซึ่งอยู่ภายในตู้
ครอบได้สะดวก โดยมีการติดตั้งระบบระบายอากาศ, ระบบไฟฟ้า และอื่น ๆ ที่เหมาะสมไว้ครบถ้วน

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
40
บทที่ 4 มาตรฐานการติดตั้งทางเครื่องกล
(Mechanical Installation)

สิ่งสาคัญที่จะต้องพิจารณาในการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ประกอบด้วย ฐานแท่นเครื่องคอนกรีต, พื้นห้อง


เครื่อง และหลังคาห้องเครื่องซึ่งจะต้องมีความแข็งแรงทนทานสามารถที่จะรับน้าหนักของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า และ
อุปกรณ์ประกอบได้ พร้อมทั้งจะต้องสามารถต้านทานแรงที่กระทา เนื่องจากการจุดระเบิดของเครื่องขับ (Dynamic
load) โดยไม่ส่งความสั่นสะเทือน (Vibration) และเสียงดังไปยังส่วนต่างๆ ของห้องเครื่องฯ และภายนอกห้องเครื่องฯ
โดยการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะรวมถึงการติดตั้งอุปกรณ์ส่วนประกอบ และระบบส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวพันกับเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าดังนี:้ -
4.1 แท่นรองรับความสั่นสะเทือน (Vibration isolator)
การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า บนแท่ น รองรั บ ความสั่ น สะเทื อ นชนิ ด สปริ ง ซึ่ ง สามารถลดแรงสั่ น สะเทื อ น
(Vibration force) ซึ่งจะส่งผ่านไปยังแท่นเครื่องได้ถึง 98% โดยจุดที่ติดตั้งแท่นรองรับความสั่นสะเทือนชนิด
สปริงนี้อาจจะมีจานวน 4, 6, 8 หรือ 12 จุด ขึ้นอยู่กับน้าหนักของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า และอัตราการทรุด ตัวของ
สปริง (Deflection) ที่กาหนดแท่นรองรับความสั่นสะเทือน (Vibration isolator) ชนิดสปริงนี้จะต้องติดตั้งอยู่
ระหว่างฐานแท่นของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Base frame) กับฐานแท่นคอนกรีต (Concrete foundation) หรือ
ถ้าเป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาดเล็ก (ต่ากว่า 200 กิโลวัตต์ลงมา) จะต้องใช้แท่นรองรับความสั่นสะเทือนชนิดยาง
(Rubber type vibration isolator) หรือตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต ติดระหว่างเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
(Engine generator assembly) กับฐานแท่นเครื่อง (Skid or base-frame) เมื่อติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าบน
ฐานแท่นคอนกรีต (Concrete foundation) หรือพื้น (Floor) แล้วจะต้องยึดแท่นรองรับความสั่นสะเทือนชนิด
สปริง หรือตามคาแนะน าของบริษัทผู้ผลิต (สาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่ ) หรือชนิดยางหรือตาม
คาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต สาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาดเล็ก ) เข้ากับฐานแท่นคอนกรีตหรือพื้ นเพื่อป้องกัน
การเคลื่อนออกจากตาแหน่งที่วางหรือติดตั้งขณะใช้งาน โดยการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าบนพื้น (Slab floor)
บนถังน้ามัน (Sub-base tank) หรือบนแท่นรองรับความสั่นสะเทือน (Vibration isolator foundation) มี
รายละเอียดที่แสดงในรูปที่ 4.1

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
41

รูปที่ 4.1 แสดงการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าบนแท่นรองรับความสั่นสะเทือน

4.1.1 การติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าบนพื้น (Slab floor)


การติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าบนพื้น (slab floor) จะต้องเตรียมแท่นคอนกรีต โดยแท่นคอนกรีตมีการเสริม
เหล็ก ความหนาอย่างน้อย 15 เซนติเมตร หรือ 6 นิ้ว ความกว้างยาวของแท่นคอนกรีตต้องมีขนาดใหญ่กว่า
แท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Base frame or Skid base) 15 เซนติเมตร หรือ 6 นิ้ว ทุกด้านส่วนกาลังอัด
คอนกรีตของแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าใช้กาลังอัดคอนกรีตไม่น้อยกว่ ากาลังอัดของคอนกรีตโครงสร้างพื้น ณ
จุดนั้น
4.1.2 การติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าบนถังน้ามันใต้แท่นเครื่อง (Sub-base fuel tank)
เมื่อจาเป็นต้องติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าบนถังน้ามันใต้แท่นเครื่อง (Sub-base fuel tank) ชุดรองรับความ
สั่นสะเทือน (Vibration isolator) จะถูกติดตั้งอยู่ระหว่างฐานแท่นของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า และ Frame ของ
ถั ง น้ ามั น โดยถั ง น้ ามั น จะต้ อ งมี โ ครงสร้ า งแข็ ง แรงสามารถรั บ น้ าหนั ก ของเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า และ
แรงสั่นสะเทือน (Dynamic load) ได้ และจะต้องมีช่องว่าง (Air space) ระหว่างใต้ถังน้ามันกับพื้นไม่น้อย
กว่า 10 ซม.เพื่อลดการผุกร่อน (Reduce corrosion) รวมทั้งสามารถตรวจเช็ครอยรั่วของถังน้ามันได้
สะดวก
4.1.3 การติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าบนแท่นรองรับความสั่นสะเทือน (Vibration isolator foundation)
การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า บนแท่ น ซึ่ ง แยกจากพื้ น อาคารเพื่ อ ลดความสั่ น สะเทื อ นซึ่ ง ส่ ง ผ่ า น
(Transmission) ไปยังตัวอาคารห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้านั้น น้าหนักของแท่นเครื่อง (Foundation) จะต้องมี
ค่าอย่างน้อย 2 เท่าของน้าหนักเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อต้านทานแรงสั่นสะเทือน (Dynamic load) ในที่นี้
น้าหนักของน้ามันในถังสารองใต้เครื่อง (Sub-base fuel tank) ไม่ต้องนามาพิจารณาในการกระจายน้าหนัก
(Contributing to the weight) ลงบนแท่นคอนกรีตรองรับความสั่นสะเทือนรูปที่ 2.4 แสดงรูปแบบของ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
42
ฐานแท่ น คอนกรี ต รองรั บ ความสั่ น สะเทื อ น ซึ่ ง การพิ จ ารณารู ป แบบของแท่ น คอนกรี ต รองรั บ ความ
สั่นสะเทือนมีรายละเอียดตามหัวข้อ 2.2 ฐานแท่นเครื่อง (Foundation) ในบทที่ 2

4.2 ระบบท่อไอเสีย (Exhaust system)


ระบบท่อไอเสีย คือ ระบบที่นาไอเสีย (Exhaust gas) ของเครื่องยนต์ไปทิ้งภายนอกห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เพื่อ
ป้องกันสะเก็ดไฟ, เขม่า, และเสียงดัง ไม่ให้เป็นอันตรายหรือทาความเสียหายให้อาคารและบุคคลได้ การติดตั้ง
ระบบท่อไอเสีย มีมาตรฐานดังต่อไปนี้
4.2.1 ข้อต่ออ่อนท่อไอเสียชนิดสเตนเลสสตีล (Stainless steel flexible exhaust pipe) จะต้องติดตั้งอยู่ระหว่าง
ทางออกท่อไอเสียของเครื่องยนต์ (Engine exhaust outlet) และท่อไอเสีย (Exhaust pipe) เพื่อป้องกัน
การขยายตัวของท่อไอเสียเนื่องจากความร้อน (Thermal expansion) การเคลื่อนที่ของกาเนิดไฟฟ้า, ความ
สั่นสะเทือน (Vibration) และการติดตั้งเยื้องศูนย์ (Misalignment)
4.2.2 หม้อระงับเสียง หรือท่อเก็บเสียงไอเสีย (Exhaust muffler or Exhaust Silencer) จะต้องติดตั้งให้ใกล้
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ามากที่สุดที่เท่าที่จะเป็นไปได้ เนื่องจากจะทาให้ความร้อนภายในท่อเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
(Heats up quickly) เป็นการป้องกันการกลั่นตัวกลายเป็นหยดน้าเพื่อลดการผุกร่อน (Corrosion due to
condensate)
4.2.3 จุดต่าสุดของท่อไอเสียจะต้องมีรูระบายน้าพร้อมท่อและประตูระบายน้าขนาดไม่น้อยกว่า 15 มม. (½ นิ้ว)
เพื่อระบายน้าที่เกิดจากการกลั่นตัวการเป็นหยดน้าของไอเสีย และจะต้องติดตั้ง ทุกตาแหน่งที่ท่อไอเสีย
เปลี่ยนทิศทางจากแนวนอนเป็นแนวตัง้
4.2.4 ท่อเก็บเสียงและท่อไอเสียจะต้องถูกยึดด้วย Support ซึ่งทาด้วยวัสดุไม่ติดไฟ (Non-combustible hanger
or supports) โดยห้ามใช้ทางออกของท่อไอเสีย (Engine exhaust outlet) ของเครื่องยนต์เป็นตัวรับ
น้าหนักเพราะจะทาให้ท่อร่วมไอเสีย (Exhaust manifold) เกิดการเสียหายและเป็นการบั่นทอนอายุการใช้
งานของเทอร์โบชาร์จเจอร์ด้วย
4.2.5 ท่อไอเสีย (Exhaust pipe) ต้องเป็นชนิดท่อเหล็กดา (Black steel pipe) ตามมาตรฐาน มอก. หรือ
เทียบเท่าหรือวัสดุอื่นซึ่งสามารถทนอุณหภูมิของแก๊สไอเสียได้ไม่น้อยกว่า 600 องศาเซลเซียส โดยไม่เสียรูป
4.2.6 ข้องอ (Elbow) ต้องใช้ชนิด Long radius elbow
4.2.7 ต้องใช้ท่อไอเสียซึ่งมีขนาดเหมาะสมกับเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า โดยพิจารณาจากค่าของExhaust
back pressure ภายใน Engine data sheet ของเครื่องยนต์ ห้ามใช้ท่อไอเสียซึ่งมีขนาดเล็กกว่า
ทางออกท่อไอเสีย (Exhaust outlet) ของเครื่องยนต์และการใช้ท่อไอเสียขนาดใหญ่เกินความจาเป็น
ถึงแม้จะทาให้แรงเสียดทาน (Friction loss) ในท่อ มีค่าน้อยแต่ก็จะทาให้เกิดการผุกร่อนเนื่องจากการ
กลั่นตัวกลายเป็นหยดน้าภายในท่อ (Corrosion due to condensate) และเป็นการลดความเร็วของ
ไอเสีย ทาให้ความสามารถไล่ไอเสียและความสามารถเอาชนะลมภายนอก (Outdoor wind stream)
ลดลงด้วยทั้งนี้ความเร็วของแก๊สไอเสียภายในท่อต้องไม่เกิน 4,546 เมตรต่อนาที หรือ 15,000 ฟุตต่อ
นาที
4.2.8 ท่อไอเสีย (Exhaust pipe) และท่อเก็บเสียง (Exhaust muffler) จะต้องหุ้มด้วยฉนวนป้องกันความร้อน
(Thermal insulation) เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการสัมผัส (Accidental contact) การเกิดไฟไหม้ และลด
ปริมาณความร้อนจากระบบไอเสียที่แผ่ออกมายังห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Heat radiated to the
generator room from exhaust system) กรณีท่อร่วมไอเสียและเทอร์โบชาร์ทเจอร์ไม่ได้ระบายความ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
43
ร้อนด้วยน้าห้ามหุ้มฉนวนกันความร้อนที่ท่อร่วมไอเสียของเครื่อง (Engine exhaust manifolds) และ
เทอร์โบชาร์จเจอร์(Turbocharger housing)เพราะอาจเกิดความเสียหายขึ้นต่อท่อร่วมไอเสียและเทอร์
โบชาร์จเจอร์ได้ ทั้งนี้ท่ออ่อนท่อไอเสีย (Flexible exhaust pipe)และThermal expansion joint จะต้อง
เป็นชนิดที่ทนความร้อนจากไอเสียที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 600 องศาเซลเซียสได้ อนุญาตให้หุ้มฉนวนทนความ
ร้อนซึ่งสามารถทนความร้อนจากไอเสียที่มีอุณหภูมิสูงดังกล่าว และต้องเป็นชนิดให้ตัวได้
4.2.9 แนวท่ อ ไอเสี ย ที่ ไ ม่ ไ ด้ หุ้ ม ฉนวนจะต้ อ งห่ า งจากโครงสร้ า งของอาคารที่ ติ ด ไฟ ได้ (Combustible
construction) อย่างน้อย 229 มม. หรือ 9นิ้ว เมื่อวัดจากผิวท่อไอเสีย และให้ใช้ช่องลอด (Sleeve) ซึ่งมี
ขนาดใหญ่กว่าท่อไอเสียโดยให้มีช่องระหว่างท่อไอเสียกับช่องลอดไม่น้อยกว่า 25 มม. หรือ 1 นิ้ว โดยรอบ
และต้ องหุ้ ม ฉนวนป้ องกั น ความร้ อนเมื่อจ าเป็ นต้อ งเดิ นท่อ ไอเสี ยผ่ านผนังหรือฝ้ า ซึ่ งสามารถติด ไฟได้
(Combustible wall or Ceilings)
4.2.10 ความสูงของแนวท่อไอเสียที่ไม่ได้หุ้มฉนวน (Routing of exhaust piping) จากพื้นห้องเครื่องถึงใต้ท้องท่อ
ไอเสียต้องสูงอย่างน้อย 2.4 เมตร หรือ 8 ฟุต เพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัส ยกเว้นท่อไอเสียที่หุ้ม
ฉนวนความสูงให้เป็นดุลยพินิจของผู้ออกแบบ
4.2.11 เนื่องจากท่อไอเสีย ขยายตัวประมาณ 1.14 มม. ทุกๆ อุณหภูมิที่สูงขึ้น 100 ๐C จากอุณหภูมิบรรยากาศ
หรืออุณหภูมิห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (หรือประมาณ 0.0076 นิ้ว ต่อความยาว 1 ฟุต ทุก ๆ อุณหภูมิที่สูงขึ้น
100 ๐F) ดังนั้นThermal expansion joint ต้องเป็นแบบทาด้วยสเตนเลสสตีลซึ่งสามารถรับการขยายตัวได้
ตามความยาวของท่อและจะต้องติดตั้งทุกตาแหน่งที่ท่อไอเสียเปลี่ยนทิศทาง
4.2.12 การติดตั้งท่อไอเสียต้องติดตั้งให้ลาดลงจากตัวเครื่องยนต์ (Slope downwards away the engine to the
out of doors or to a condensate trap) ไม่น้อยกว่า 1 ต่อ 100 จากแนวระนาบหรือแนวนอน
4.2.13 ท่อไอเสียจะต้องเดินออกไปภายนอกอาคารโดยปลายท่อไอเสีย จะต้องห่างจากช่องอากาศเข้า (Air intake
or air inlet grill) ไม่น้อยกว่า 5 เมตร และอยู่ในตาแหน่งที่เขม่าท่อไอเสีย (Soot) ไม่ทาให้อาคาร ผนัง
อาคาร และหน้าต่างดา ปลายท่อไอเสียต้องติดตั้งห่างจากผนังภายนอก หรือหลังคาไม่น้อยกว่า 3 ฟุตหรือ 1
เมตร และไอเสียที่ปล่อยออกไปต้องไม่รบกวนอาคารข้างเคียง
4.2.14 ต้องติดตั้งฝาครอบกันฝน (Rain cap) สาหรับปลายท่อไอเสีย (Exhaust outlet point up)
4.2.15 ห้ามต่อเชื่อมระบบท่อไอเสียของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเข้ากับระบบท่อไอเสียของเครื่องจักร หรือ เครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าอื่น เพราะ เขม่า, การกลั่นตัวกลายเป็นหยดน้า (Corrosive condensate) และอุณหภูมิของไอเสียที่
สูงขึ้น จะทาให้เกิดความเสียหายกับอุปกรณ์เดินเบาของเครื่องที่ไม่ได้ทางานได้
4.2.16 ความดันย้อนกลับ (Exhaust back pressure)จะต้องไม่เกินค่า ความดันย้อนกลับ ที่ยอมรับได้ (Allowable
back pressure) ใน Engine data sheet ของบริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์ ถ้าค่า ความดันย้อนกลับมีค่าเกิน
กว่าที่กาหนดไว้จะทาให้กาลังของเครื่องยนต์ตก, อายุการใช้งานสั้นลง (Reduce engine life) ก่อนทาการ
ติดตั้งระบบท่อไอเสียต้องทาแบบติดตั้ง (Layout) และคานวณค่า ความดันย้อนกลับ ให้อยู่ภายในข้อกาหนด
ของบริ ษัทผู้ ผ ลิ ตเสี ย ก่อน และเมื่อทาการติด ตั้งเสร็จเรีย บร้อยแล้ ว ต้อ งทาการทดสอบวัด ค่า ความดั น
ย้อนกลับ ที่ท่อไอเสียภายใต้สภาวะจ่ายโหลดเต็มที่ (Full load operation)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
44

รูปที่ 4.2 ระบบท่อไอเสีย (Typical exhaust system)

4.3 ระบบระบายอากาศ (Ventilation system) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


4.3.1 ระบบระบายอากาศภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเป็นระบบระบายความร้อนที่แผ่ออกมาจากเครื่องยนต์
(Engine) เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Alternator) และอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า การไล่แก๊สไอ
เสียที่อยู่ภายในห้องเครื่องออกไปภายนอกห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า รวมถึงการนาอากาศดีเข้ามาเพื่อใช้ในการ
จุดระเบิดของเครื่องยนต์ (Combustion air) การออกแบบระบบระบายอากาศที่ไ ม่เหมาะสมเป็นสาเหตุทา
ให้อุณหภูมิโดยรอบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสูงขึ้นทาให้ประสิทธิภาพในการจุดระเบิดลดลงหรือเกิดการเผาไหม้ไม่
สมบูรณ์,อายุการใช้งานของส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าลดลง และอุณหภูมิของเครื่องยนต์
สูงเกินเกณฑ์ที่กาหนด (Overheating of the engine)
4.3.2 การกาหนดหรือเลือกตาแหน่งของอากาศเข้า (Inlet air) และอากาศออก (Outlet air) จะต้องเหมาะสมกับ
การทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า อากาศ (Ventilation air) จะไหลเข้ามาในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและถูก
เป่าออกโดยพัดลมของรังผึ้งระบายความร้อน (Radiator fan) การไหลของอากาศนี้ต้องออกแบบให้ไหลผ่าน
ตลอดชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าตามรูปที่ 4.4 หรือรูปที่ 4.5 เพื่อให้สามารถระบายความร้อนภายในห้องเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าที่เกิดจากความร้อนที่แผ่ออกจากเครื่องยนต์ ความร้อนที่ระบายจากเครื่องยนต์ให้ของเหลว
ระบายความร้อน ความร้อนที่เกิดจากการจุดระเบิดส่งผ่านให้แก๊สไอเสีย และความร้อนที่แผ่ออกมาจาก
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าเป็นต้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ในการติดตั้งต้องเป็นไปตามข้อกาหนดดังต่อไปนี้
4.3.2.1 ท่อนาอากาศออกจากรังผึ้งระบายความร้อน (Radiator discharge duct) จะต้องเป็นชนิด Self – supporting
4.3.2.2 ช่องอากาศเข้า (Inlet air) และอากาศออก (Outlet air) จะต้องไม่อยู่บนผนังเดียวกัน

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
45
4.3.2.3 ช่องอากาศออกจะต้องติดตั้งเพื่อระบายลมร้อนออกนอกอาคาร (Downwind side)
4.3.2.4 ตาแหน่งช่องอากาศเข้า (Inlet air) จะต้องห่างจากปลายท่อไอเสีย (Exhaust Outlet) ไม่น้อยกว่า 5 เมตร

รูปที่ 4.3 แสดงตาแหน่งที่เหมาะสมของอากาศเข้าและอากาศออกจากห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

4.3.3 ขณะที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากาลังเดินเครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้าเต็มที่ (Rated Load) ปริมาณอากาศที่ไหลผ่านห้อง


เครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องมีปริมาณเพียงพอที่จะรักษาอุณหภูมิสูงสุดภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (To Limit
the Maximum Air Temperature in The EPS Room) ไม่ให้สูงเกินค่าอุณหภูมิสูงสุด (40 °C ทั้งนี้ให้วัดอุณ
ภูมิที่ทางเข้าเครื่องกรองอากาศ)
4.3.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่จ่ายให้โหลดระดับ 1 อากาศสาหรับระบายความร้อนห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและอากาศ
สาหรับใช้ในการสันดาปต้นกาลัง จะต้องนามาจากภายนอกอาคารโดยตรง กรณีใช้ระบบส่งอากาศจาก
ภายนอกอาคารจะต้องส่งผ่านระบบที่สามารถทนไฟได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
4.3.5 ช่องลมออก (Radiator air discharge) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่จ่ายให้โหลดระดับ 1 จะต้องส่งผ่านระบบที่
สามารถทนไฟได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
4.3.6 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่จ่ายให้โหลดระดับ 1 ไม่อนุญาตให้ใช้ Fire damper, Shutters หรือ Self – closing
devices อื่นๆ ที่ช่องลมเข้า – ออก หรือระบบท่อสาหรับดูดหรือจ่ายอากาศเข้า-ออกห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
46
4.3.7 ความเร็วที่เหมาะสมของอากาศ (Ventilation air) ที่ไหลเข้า (Inlet air) ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องมีค่า ไม่
เกิน 150 – 220 เมตรต่อนาที หรือ 500-700 ฟุตต่อนาที
- ถ้าความเร็วของอากาศสูงเกินไปเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะดึงฝนเข้ามาภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้ขณะ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าทางาน
- ช่องอากาศไหลเข้า (Inlet air) ต้องมีขนาดพื้นที่สุทธิ (Free Area) ใหญ่กว่าช่องอากาศไหลออก (Outlet
air) ไม่น้อยกว่า 1.5 เท่า
4.3.8 กรณีรังผึ้งระบายความร้อน (Radiator) ติดตั้งอยู่บนฐานแท่นเดียวกับชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าค่า Total airflow
restriction ของลมเข้า – ออกจากห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้ารวมระบบท่อลมที่ช่องลมออก (Discharge duct at
the radiator outlet) จะต้องไม่เกินค่า Static head ของพัดลมระบายความร้อน (Radiator fan) ตาม
ข้อกาหนดของบริษัทผู้ผลิต แต่ถ้าไม่ได้กาหนดไว้ให้ค่า Max. air flow restriction มีค่าไม่เกิน 125 ปาสกาล
(0.50 นิ้วน้า)
4.3.9 กาแพงกันลมหรือกันเสียง (Wind/Noise barrier) ด้านหน้าหม้อน้า (รูปที่ 4.2) จะต้องมีระยะห่างจากตัว
อาคารไม่น้อยกว่า 3 เท่าของความสูงขนาดช่องลมออก (3 x)
4.3.10 อุณหภูมิที่เหมาะสมของห้ องเครื่ องกาเนิดไฟฟ้าต้องไม่เกิน 50 °C (125 °F) อย่างไรก็ตามการกาหนด
อุณหภูมิห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ 40 °C (100 °F) จะทาให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีขนาดเล็กลง และสามารถลด
ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องกาลังของเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าตกเนื่องจากอุณหภูมิของอากาศดีห รืออากาศ
สาหรับใช้ในการจุดระเบิดได้

รูปที่ 4.4 แสดงระดับอุณหภูมิโดยรอบขณะเครื่องกาเนิดไฟฟ้าทางาน

4.3.11 การคานวณหาปริมาณอากาศรวมสาหรับห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Total air flow calculation) ปริมาณ


อากาศส าหรับ ระบายความร้ อนห้ องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อรักษาอุณหภูมิภ ายในห้ องให้ มีค่าเหมาะส ม
สามารถหาได้จากสูตร
H Total
Q =
Cp  T  d

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
47
Q = ปริมาณอากศที่ต้องการ (Mass flow rate of air into the room) หน่วยเป็น cfm. หรือ
m3/min
H Total = ปริมาณความร้อนรวมที่แผ่ออกมาจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า และอุปกรณ์อื่น ๆ ภายในห้อง
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Heat rejection into the room from the genset and other heat
sources) หน่วยเป็น BTU/min หรือ MJ/min
Cp = ความร้อนจาเพาะความดันอากาศคงที่ (Specific heat at constant pressure)
= 0.241 BTU/lb-oF
หรือ = 1.01 x 10-3 MJ/kg- oC
T = ผลต่างของอุณหภูมิภายในและภายนอกห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Temperature rise in the
generator set room over outdoor ambient) หน่วยเป็น oF หรือoC
d = ความหนาแน่นของอากาศ (Density of air)
= 0.0754 lb/ft3
หรือ = 1.21 kg/m3
H Total 55  H Total
Q = = cfm.
0.241 0.0757 T T (

F)
H Total 818  H Total 3
หรือ = = m /min.
(1.01 10- 3 )  1.21 T ๐
T( C)

4.3.12 การออกแบบระบบระบายอากาศจะต้ อ งออกแบบให้ ค วามดั น ภายในห้ อ งเป็ น ลบเล็ ก น้ อ ย (Slightly


negative pressure) และเมื่อเครื่องกาเนิดไฟฟ้าทางานประตูทุกบาน (All entry/service door) จะต้อง
ปิดเพื่อให้อัตราการไหลของอากาศเป็น ไปตามที่ได้ออกแบบไว้ (To maintain the designed ventilation
flow)
4.3.13 ห้ามติดตั้งอุปกรณ์ที่มีการเผาไหม้ เช่น หม้อไอน้า (Boiler) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพราะมีผลกระทบ
กับประสิทธิภาพของการระบายอากาศภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

4.4 ระบบระบายความร้อนด้วยน้าหรือของเหลวระบายความร้อนของเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
(Engine cooling system)
เครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะถูกระบายความร้อนด้วยน้าหรือของเหลวระบายความร้อนโดยอาศัยเครื่อง
สูบ (Pump) เป็นตัวส่งน้าหรือของเหลวระบายความร้อนผ่านทางเดินของระบบภายในตัวเครื่องยนต์ผ่านเสื้อสูบ
(Cylinder block) และฝาสูบ (Cylinder head) เป็นต้นโดยทั่วไประบบระบายความร้อนของเครื่องยนต์ขับ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะประกอบด้วยรังผึ้งระบายความร้อนชนิดติดตั้งบนฐานแท่นเดียวกันกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
(Skid-mounted radiator) และพัดลมระบายความร้อน (Radiator fan) ชนิดขับด้วยเครื่องยนต์ (Engine-

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
48
driven fan) เพื่อใช้สาหรับระบายความร้อนของเครื่องยนต์ผ่านน้าหรือของเหลวระบายความร้อน (Coolant
mixture) และระบายอากาศภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าด้วย นอกจากระบบนี้แล้วยังมีระบบระบายความ
ร้อนแบบอื่น ๆ อีกหลายแบบ ได้แก่ ระบบถังแลกเปลี่ยนความร้อนชนิดของเหลวสู่ของเหลวแบบติดตั้งบน
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Skid-mounted liquid to liquid heat exchanger) รังผึ้งระบายความร้อนชนิดแยกส่วน
จากตัวเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ( Remote radiator), ถังแลกเปลี่ยนความร้อนชนิดของเหลวสู่ของเหลวแบบแยก
ส่วนจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Remote liquid to liquid heat exchanger) และหอผึ่งน้า (cooling tower)
เป็นต้น

4.5 ระบบความร้อนของเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าด้วยน้าหรือของเหลวระบายความร้อนแบบต่าง ๆ แต่


ละแบบจะมีลักษณะดังนี้
4.5.1 แบบรังผึ้งระบายความร้อนติดตั้งอยู่บนฐานแท่นเดียวกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Skid-Mounted radiator)

รูปที่ 4.5 ระบายความร้อนชนิดรังผึ้งระบายความร้อนติดตั้งอยู่บนแท่นเดียวกับเครื่องยนต์

โดยทั่วไปเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ติดตั้งใช้งานอยู่จะเป็นแบบรังผึ้งระบายความร้อนติดตั้งอยู่บนแท่นเดียวกัน (Skid-
mounted radiator cooling) ซึ่งมีความสะดวกและง่ายในการติดตั้ง ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งมีมูลค่าต่าที่สุดเมื่อเทียบ
กับแบบอื่น ๆ สาเหตุเพราะใช้อุปกรณ์ประกอบการติดตั้ง เช่น ท่อน้า,การเดินสายคอนโทรล ,ปริมาณน้าระบายความ
ร้อน และงานติดตั้งระบบอื่ นๆที่เกี่ยวข้องน้อยกว่าแบบอื่น ๆ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบนี้จะมีพัดลมระบายความร้อน
(Radiator fan) เป็นแบบขับด้วยเครื่องยนต์ (Mechanically driven by the engine) และมีลักษณะทั่วไปดังนี้
 จะต้องมีชุดเทอร์โมสตรัทติดตั้งในระบบระบายความร้อนเพื่อใช้สาหรับอุ่น (Warm up) น้าหรือของเหลวระบาย
ความร้อนทาให้อุณหภูมิของน้าหรือของเหลวระบายความร้อนด้านร้อน (Hot side) สูงขึ้น

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
49
 การออกแบบน้าหรือของเหลวระบายความร้อนจะต้องเผื่อการขยายตัวของน้าหรือของเหลวระบายความร้อนเมื่อ
อุณหภูมิสูงขึ้นด้วย
 เครื่องสูบหรือปั๊ม (Pump) จะต้องถูกออกแบบให้ความดันเป็นบวก (Positive head) ตลอดเวลา
 อัตราการไหล (Flow rate) ของน้าหรือของเหลวระบายความร้อนที่เหมาะสมจะขึ้นอยู่กับค่าต่าสุดของ Static และ
Friction head ของเครื่องสูบหรือปั๊ม (Pump) ระบบระบายความร้อนจะไม่สามารถระบายความร้อนของเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพถ้า Static และ Friction head ของเครื่องสูบมีค่าเกินกว่าข้อกาหนดใน
Engine data sheetของบริษัทผู้ผลิตและจะทาให้เครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเกิดความร้อนสูงเกินเกณฑ์ปกติ
(Overheating) ได้
4.5.2 แบบรังผึ้งระบายความร้อนแยกจากตัวเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Remote radiator)

รูปที่ 4.6 ระบบระบายความร้อนชนิดรังผึ้งระบายความร้อนแยก (Remote radiator cooling)

โดยทั่วไปเมื่อไม่สามารถจัดระบบระบายอากาศซึ่งต้องการอากาศปริมาณมากให้กับห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้ก็
จะเลือกใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบรั งผึ้งระบายความร้อนแยกจากตัวเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Remote radiator) แต่
อย่างไรก็ตามเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบนี้ก็ยังต้องการอากาศสาหรับระบายความร้อนห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าอยู่ดีเพียงแต่
อากาศที่ต้องการส าหรั บ ระบายความร้ อนจะมีปริมาณน้อยกว่าแบบรังผึ้ งระบายความร้อนชนิด ติ ดตั้งอยู่บนแท่น
เดียวกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Skid-mounted radiator)
เมื่อจาเป็นต้องเลือกใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดรังผึ้งระบายความร้อนแยก (Remote radiator) จะต้องพิจารณา
เลือกแบบของรังผึ้งระบายความร้อนที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่จะติดตั้งชุด รังผึ้งระบายความร้อนชนิดแยกซึ่งจะ
เกี่ยวข้องกับระยะห่างของชุดรังผึ้งระบายความร้อนกับชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าอันมีผลต่อค่า Friction head ของเครื่อง

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
50
สูบ (Pump) และความสูงของชุดรังผึ้งระบายความร้อนวัดจาก Centerline ของเพลาข้อเหวี่ยง (Crankshaft) อันมีผล
ต่อค่า Static head ของเครื่องสูบ โดยสรุปค่า Static และ Friction head ของระบบของเหลวระบายความร้อนต้องมี
ค่าไม่เกินข้อกาหนดใน Engine data sheetของบริษัทผู้ผลิต
แบบของระบบระบายความร้อนชนิดรังผึ้งระบายความร้อนแยกแบ่งออกเป็นประเภทต่างตามค่าของ Static
และ Friction head ได้ดังต่อไปนี้
 ถ้าค่า Static และ Friction head ไม่เกินค่าที่กาหนดใน Engine data sheet ของบริษัทผู้ผลิตการติดตั้ง
ระบบระบายความร้อนชนิดรังผึ้งระบายความร้อนแยก จะต้องติดตั้งตามรูปที่ 4.7 ถ้าค่า Friction head มี
ค่าเกินกว่าค่าที่บริษัทผู้ผลิตกาหนดแต่ Static head มีค่าไม่เกินกว่าค่าที่บริษัทผู้ผลิตกาหนดใน Engine
data sheet การติดตั้งระบบระบายความร้อนชนิดรังผึ้งระบายความร้อนแยก (Remote radiator) จะต้อง
ติดตั้งตามรูปที่ 4.8

รูปที่ 4.7 แสดงการติดตั้งรังผึ้งระบายความร้อนชนิดแยกพร้อมด้วยเครื่องสูบและถังน้า หรือของเหลวระบายความ


ร้อนช่วย (Remote radiator with auxiliary coolant pump and auxiliary tank)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
51
ถ้าค่า Friction head และ Static head มีค่าเกินกว่าค่าที่บริษัทผู้ผลิตกาหนดใน Engine data sheet การ
ติดตั้งระบบระบายความร้อนชนิดรังผึ้งระบายความร้อนแยกจะต้องติดตั้งตามรูปที่ 4.9

รูปที่ 4.8 รังผึ้งระบายความร้อนชนิดแยกพร้อมถัง (Hot well tank) และเครื่องสูบน้า หรือ


ของเหลวระบายความร้อนช่วย (Auxiliary coolant pump)

ข้อกาหนดการติดตั้งระบบระบายความร้อนแบบรังผึ้งระบายความร้อนชนิดแยกส่วนจากตัวเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
(Remote radiator)
- ค่าสูงสุดของ Coolant static และ Friction heads ในระบบระบายความร้อนจะต้องไม่เกินข้อกาหนด ของ
บริษัทผู้ผลิต
- ขนาดของท่อน้าหรือของเหลวระบายความร้อนที่ต่อระหว่างรังผึ้งระบายความร้อนชนิดแยกและเครื่องยนต์
ต้องมีขนาดเท่ากับหรือโตกว่าท่อน้าหรือของเหลวระบายความร้ อนเข้า-ออกของเครื่องยนต์ (Engine inlet
and outlet connection)
- ต้องทาความสะอาดภายในท่อน้าหรือของเหลวระบายความร้อนและข้อต่อ -ข้องอต่างๆให้ ส ะอาดก่อน
เชื่อมต่อเข้ากับเครื่องยนต์
- จะต้องพิจารณาการขยายตัวเนื่องจากความร้อน (Thermal expansion) ของระบบท่อน้า หรือของเหลว
ระบายความร้อนด้วย
- ท่อน้ าหรื อของเหลวระบายความร้ อนจะต้ องเป็น ท่อ เหล็ กอาบสั งกะสี ช นิ ดหนา หรือ ท่อ เหล็ กด า ตาม
มาตรฐาน มอก., ATSM, JIS,BS หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า
- ข้อต่อต่าง ๆ (Flexible Tube) ระหว่างเครื่องยนต์ รังผึ้งระบายความร้อนชนิดแยกและท่อน้าหรือของเหลว
ระบายความร้อนจะต้องสามารถทนความร้อนและแรงดันของน้าหรือของเหลวระบายความร้อนได้

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
52
- ข้อต่อต่าง ๆ (Flexible Tube) ระหว่างเครื่องยนต์ รั งผึ้งระบายความร้อนชนิดแยกและท่อน้าหรือของเหลว
ระบายความร้อนจะต้องสามารถทนความสั่นสะเทือน (Vibration) เนื่องจากเครื่องยนต์ขณะทางาน ขณะ
สตาร์ทหรือดับเครื่องยนต์ได้โดยข้อต่อต่าง ๆ จะต้องเป็นแบบ Flexible stainless steel connections
หรือ Double-clamped hoses ก็ได้
- ข้อต่อ (Connection Hose) ทางด้านดูด (Suction side) ของเครื่องสูบ ต้องสามารถป้องกันการยุบตัว
(Resist collapse)
- ข้อต่อ (Coolant Hose) ต่างๆจะต้องถูกยึดมั่นคงแข็งแรงด้วย T-bolt หรือ Constant torque clamps ไม่
อนุญาตให้ใช้ Worm screw-Type
- Deaerating Tankหรือ Auxiliary Tank
(ก) จะต้องติดตั้งที่ตาแหน่งสูงสุดของระบบระบายความร้อน
(ข) จะต้องประกอบด้วยฝาปิด (Fill/pressure cap) ติดตั้งอยู่ที่จุดสูงสุดของถัง, สวิทช์ดับเครื่องยนต์เมื่อ
ระดับน้าหรือของเหลวระบายความร้อนต่าเกินเกณฑ์กาหนด (Low coolant level shutdown
switch)
(ค) ปริมาตรของถังต้องมีปริมาตรตามมาตรฐานของบริษัทผู้ผลิต
(ง) จะต้องมีหลอดแก้ว (Sight glass) แสดงระดับน้าหรือของเหลวระบายความร้อน
(จ) จะต้องมีท่อหายใจติดตั้งเหนือระดับน้าหรือของเหลวระบายความร้อน (Have vent lines above the
coolant level)
(ฉ) ต้องมีจุดต่อสาหรับท่อหายใจแต่ละท่อ (Have a delicated connection point for each vent
line)
- ทุก ๆ จุดสูงสุดของระบบท่อระบายความร้อนและ Engine coolant jacket จะต้องมี่ท่อหายใจต่อไปยัง
Deaerating tank.
- Hotwell tank
(ก) ความจุถังน้าหรือของเหลวระบายความร้อนในถัง Hot well tank จะต้องไม่น้อยกว่าผลรวมของค่า
ดังนี้.-
(ก.1) 25% ของอัตราการไหลของน้าหรือของเหลวผ่านเครื่องยนต์ในระบบระบายความร้อน
(ก.2) 25% ของอัตราการไหลของน้าหรือของเหลวผ่านรังผึ้งระบายความร้อน (Radiator)
(ก.3) ปริมาตรของน้าหรือของเหลวที่ใช้เติมรังผึ้งระบายความร้อนและในท่อของระบบน้าระบายความ
ร้อนบวกด้วย 5% ของปริมาตรทั้งหมดเพื่อการขยายตัว (Thermal expansion)
(ข) ก้นถัง (The bottom of hot well tank) จะต้องสูงกว่าท่อน้าหรือของเหลวไหลออกจากเครื่องยนต์
(The bottom of the hot well should be above the engine coolant outlet)
4.5.3 แบบถังแลกเปลี่ยนความร้อน (Heat exchanger cooling system) การระบายความร้อนแบบนี้ความร้อน
จะถูกระบายออกจากน้าหรือของเหลวระบายความร้อนของเครื่องยนต์ขับ (The engine coolant) ซึ่งเป็น
ระบบปิด (Closed system) โดยใช้น้าจากแหล่งอื่น ๆ เช่น หอผึ่งน้า (Cooling tower) หรือถังเก็บน้าของ
อาคาร (Water tank) เป็นต้น เป็นตัวกลางในการระบายความร้อนออกไป ซึ่งเครื่องยนต์ขับ, เครื่ องสูบน้า
หรือของเหลวระบายความร้อน (The engine pump) และถังแลกเปลี่ยนความร้อนจะสร้างความดันขึ้นมา
ภายในระบบระบายความร้อนของเครื่องยนต์ ซึ่งเป็นระบบปิดเพื่อให้น้าหรือของเหลวไหลเวียนและน้าหรือ
ของเหลวระบายความร้อนในระบบนี้จะเป็นส่วนผสมของของเหลว (น้าผสมน้ายาระบายความร้อน) หรือ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
53
เป็นของเหลวระบายความร้อน (Coolant) ส่วนน้าที่เป็นตัวกลางในระบบระบายความร้อน (Raw water)
ที่มาจากหอผึ่งน้า หรือถังน้าของอาคารจะต้องเป็นน้าสะอาดธรรมดาห้ามมีส่วนผสมของสารเคมี (เนื่องจาก
บางครั้งน้าระบายความร้อนเป็นน้าที่ใช้งานเพื่อการอุปโภค-บริโภคภายในอาคาร) การติดตั้งระบบระบาย
ความร้อนแบบนี้จะต้องพิจารณาถึงข้อกาหนดต่าง ๆ ดังนี้ :-
4.5.3.1 อัตราการไหลของน้าหรือของเหลวระบายความร้อน (Raw water or coolant flow rate) แรงดันและ
อุณหภูมิเข้า-ออก ต้องเป็นไปตามข้อกาหนดของบริษัทผู้ผลิต (Engine data sheet)
4.5.3.2 ก่อนออกแบบติดตั้งจะต้องกาหนดว่าน้าหรือของเหลวระบายความร้อน (Raw water orcoolant) จะ
นามาจากไหน และมีผลกระทบกับระบบอื่น ๆ อย่างไร เช่น นามาจากหอผึ่งน้า ถังเก็บน้าของอาคาร,
แม่น้าหรือแหล่งน้าสาธารณะ เป็นต้น และเมื่อระบายความร้อนแล้วจะนาน้าระบายความร้ อนไปทิ้งที่
ไหน หรือนากลับมาใช้ใหม่ได้อย่างไร
4.5.3.3 การติดตั้งต้องมีระบบระบายอากาศที่เหมาะสมและเพียงพอ (Sufficient ventilation system)
4.5.3.4 เลือกชนิดของถังแลกเปลี่ยนความร้อน (Shell and Tube หรือ Plate type) และวัสดุที่ใช้ทาต้อง
เหมาะสมกับคุณภาพของน้าหรือของเหลวระบายความร้อน (Quality of raw cooling water)
4.5.3.5 การคานวณหาปริมาณน้าระบายความร้อน (Raw water) ที่จะใช้ระบายความร้อนสามารถหาได้จากสูตร
RWR =
HR
T c 
RWR = ปริมาณน้าหรือของเหลวระบายความร้อนที่ต้องการ (Raw water or coolant required)
หน่วยเป็นแกลลอนต่อนาที (ลิตรต่อนาที)
HR = ความร้อนที่ระบายให้น้าระบายความร้อน (Heat rejection to water or coolant)
หน่วยเป็นบีทียูต่อนาที (กิโลจูลต่อนาที)
T = อุณหภูมิของน้าหรือของเหลวระบายความร้อนที่สูงขึ้น (Temperature rise of water or
coolant across cooler core) หน่วยเป็นองศาฟาเรนไฮท์ (องศาเซลเซียส)
c = ค่าความร้อนจาเพาะของน้า หรือของเหลวระบายความร้อน (Specific heat of water)
= 8 บีทียูต่อองศาฟาเรนไฮท์ต่อแกลลอน (4 กิโลจูลต่ออาศาเซลเซียสต่อลิตร) กรณีเป็นน้า
หมายเหตุ : ค่ำควำมร้อนที่ระบำยให้น้ำหรือของเหลวระบำยควำมร้อน (Heat reject to coolant) สำมำรถหำได้
จำกข้อมูลของบริษัทผู้ผลิต (Engine data sheet) ระบบระบำยควำมร้อนแบบถังแลกเปลี่ยนควำมร้อน
(Heat Exchanger) แบ่งออกเป็นแบบติดตั้งมำพร้อมชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำ (Set – mounted heat
exchanger) รูปที่ 4.10 และแบบติดตั้งแยก (Remote heat exchanger) ซึ่งถังแลกเปลี่ยนควำมร้อน
ชนิ ด นี้ จ ะถู ก แยกออกไปจำกชุ ด เครื่ อ งยนต์ ก ำเนิ ด ไฟฟ้ ำ แบบเดี ย วกั บ ชนิ ด หม้ อ น้ ำแยก (Remote
radiator)
กรณีติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดระบบระบายความร้อนแบบถังแลกเปลี่ยนความร้อนแต่ Static head
ของระบบน้าระบายความร้อนมีค่าเกินข้อกาหนดของบริษัทผู้ผลิต ให้ใช้ระบบระบายความร้อนแบบ Dual heat
exchanger system เป็นระบบระบายความร้อนโดยใช้รังผึ้งระบายความร้อน (Radiator) เป็นชุดระบายความร้อน
ให้กับน้าระบายความร้อน (Raw water) ตามรูปที่ 4.11 ซึ่งขนาดรังผึ้งระบายความร้อนจะต้องมีขนาดใหญ่กว่าถัง
แลกเปลี่ยนความร้อน (Heat exchanger)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
54

รูปที่ 4.9 ระบบระบายความร้อนชนิดถังแลกเปลี่ยนความร้อนติดตั้งอยู่บนเครื่องยนต์


(Set-mounted heat exchanger cooling)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
55

รูปที่ 4.10 ระบบระบายความร้อนชนิดถังแลกเปลี่ยนความร้อนคู่


(Dual heat exchanger systemwith secondary remote radiator)

4.6 ระบบน้ามันเชื้อเพลิง
การติดตั้งระบบน้ามันเชื้อเพลิงของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องพิจารณาสิ่งต่าง ๆ อย่างน้อยดังนี้ :-
4.6.1 การสร้างถังน้ามันเชื้อเพลิง ตาแหน่งติดตั้ง ระบบท่อหายใจ ระบบท่อทางและอุปกรณ์ การทดสอบและการ
ตรวจสอบต้องเป็นไปตามมาตรฐานนี้ หรือข้อบังคับกฎหมายของท้องถิ่นนั้น ๆ
4.6.2 ตาแหน่งติดตั้งถังน้ามันเชื้อเพลิงต้องสะดวกในการเติมน้ามันเชื้อเพลิง การติดตั้ง ห่างจากผนังห้อง หรือช่อง
เปิดต่าง ๆ ต้องเป็นไปตามมาตรฐานหรือข้อบังคับตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
4.6.3 ความจุของถังน้ามันเชื้อเพลิงจะต้องเพียงพอที่จะเดินเครื่องตลอดระยะเวลาที่เกิดเหตุฉุกเฉินได้โดยไม่ต้อง
เติมน้ ามัน เชื้อ เพลิ งเพิ่ มอีก ปริ มาตรของถัง น้ามั นเชื้อ เพลิ งสามารถคานวณได้จ ากอั ตราการสิ้ นเ ปลื อ ง
เชื้อเพลิงที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจ่ายโหลดเต็มที่ (Full load fuel consumption rate) คูณด้วยระยะเวลาที่
ต้องการให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจ่ายกระแสไฟฟ้าอายุของน้ามันเชื้อเพลิงที่เหมาะสมจะอยู่ระหว่าง 1.5 – 2 ปี
4.6.4 ถังน้ามันเชื้อเพลิงจะต้องมีระบบท่อหายใจที่เพีย งพอเพื่อป้องกันมิให้เกิดแรงดันขึ้นภายในถัง ซึ่งระบบท่อ
หายใจต้องเป็น ไปตามมาตรฐานและข้อบังคับตามกฎหมาย ถังน้ามันจะต้องมีพื้นที่ส าหรับป้องกันการ
ขยายตัว เมื่อน้ามันเชื้อเพลิงมีอุณหภูมิสูงขึ้นอย่างน้อย 10 เปอร์เซนต์ของปริมาตรถัง และจะต้องทาการ
ระบายหรือไล่น้า สิ่งสกปรกออกจากน้ามันเชื้อเพลิง (Manually draining or pumping out water and
sediment) อย่างสม่าเสมอ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
56
4.6.5 จะต้องมีไส้กรอง (Pre – filter) เพื่อกรองหรือไล่สิ่งสกปรกออกจากน้ามันเชื้อเพลิง ก่อนเข้าปั๊มน้ามัน
เชื้อเพลิง (The fuel lift pump) เครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิง (Day tank transfer pump) และวาล์วลูกลอย
(Float valve)
4.6.6 ต้องไม่ใช้ถังน้ามันเชื้อเพลิงร่วม หรือ เชื่อมถังน้ามันเชื้อเพลิงเข้ากับถังน้ามันเชื้อเพลิงของอุปกรณ์ชนิดอื่นๆ
4.6.7 ในกรณีติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหลาย ๆ ชุด ห้ามใช้ท่อน้ามันไหลกลับ (Fuel return lines) ร่วมกัน โดยแต่
ละชุดให้เดินแยกกัน (Separate fuel return lines) กลับไปยังถังน้ามันเชื้อเพลิงเพื่อป้องกันการเกิดแรงดัน
ขึ้นในชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่กาลังอยู่ในช่วงเดินเบาอยู่ (To prevent pressurizing the return lines of
idle sets) และห้ามติดตั้งวาล์ว (Shutoff device) ในระบบท่อน้ามันไหลกลับ (Return line) เพราะ
เครื่องยนต์จะเกิดความเสียหาย ถ้าเดินเครื่องยนต์โดยปิดท่อน้ามันไหลกลับ
4.6.8 เมื่อน้ามันเชื้อเพลิงไหลจากเครื่องยนต์ กลับมาถังน้ามันเชื้อเพลิง อุณหภูมิของน้ามันเชื้อเพลิงภายในถัง
น้ามันเชื้อเพลิงจะสูงขึ้นเป็นเหตุให้ความหนาแน่นของน้ามันเชื้อเพลิงต่าลง กาลังของเครื่องยนต์ลดลง และ
ความสามารถในการหล่อลื่นอุปกรณ์ส่งน้ามันเชื้อ เพลิง เช่น ปั๊มน้ามันเชื้อเพลิง หัวฉีดเป็นต้นลดลง ดังนั้น
ถ้ามีถังน้ามันเชื้อเพลิง 2 ถัง ประกอบด้วย ถังน้ามันเชื้อเพลิงสารอง (Fuel storage tank) และถังน้ามัน
ประจาเครื่อง (Fuel day tank ) ท่อน้ามันไหลกลับ (Fuel return line) ควรไหลกลับไปลงถังน้ามัน
เชื้อเพลิงสารองมากกว่าไหลกลับไปลงถังน้ามันประจาเครื่อง (Fuel day tank) ในกรณีทไี่ ม่มีถังน้ามันสารอง
หรือไม่สามารถเดินท่อน้ามันไหลกลับไปยังถั งน้ามันเชื้อเพลิงสารองได้ การเดินท่อน้ามันไหลกลับ จะต้อง
เป็นไปตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต เช่น ติดตั้ง Oil Cooler เพิ่มเติมเป็นต้น
4.6.9 ถังน้ามันเชื้อเพลิงต้องบรรจุน้ามันเชื้อเพลิงได้ไม่เกินร้อยละเก้าสิบ ของปริมาตรของถังน้ามันเชื้อเพลิง และ
ต้องจัดเตรียม เขื่อนหรือกาแพงล้อมรอบถังน้ามันเชื้อเพลิง (Bund wall) ให้มีความจุเท่ากับปริมาตรของถัง
น้ามันเชื้อเพลิงถังใหญ่ที่สุดที่อยู่ภายในกาแพงล้อมรอบถังน้ามันเชื้อเพลิงนั้น
4.6.10 ต้องมีเครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิงแบบมือโยกหรือมือหมุน สาหรับเติมน้ามันเชื้อเพลิงเข้าถังน้ามันประจาเครื่อง
(Fuel Day Tank)
4.6.11 ต้องมีระบบป้องกันอัคคีภัยตามมาตรฐานวสท. ฉบับล่าสุด และข้อบังคับตามกฎหมาย กรณีเกิดเพลิงไหม้
ห้องเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้าต้องมีร ะบบตัดการไหลของน้ามันเชื้อเพลิ ง จากถังน้ามันส ารองภายนอก (Fuel
Storage Tank) เข้าไปภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
4.6.12 ระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิง
4.6.12.1 ต้องใช้ ท่ออ่อน (Flexible hose) เชื่อมต่อระหว่างท่อน้ามันเชื้อเพลิง และเครื่องยนต์เพื่อป้องกันการ
เคลื่อนที่และการสั่นสะเทือนที่เกิดจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
4.6.12.2 ท่อน้ามันเชื้อเพลิงจากถังน้ามันเชื้อเพลิงประจาเครื่อง (Fuel day tank) ไปยังเครื่องยนต์ต้องเดินลาดลง
(Down hill) จากถังน้ามันเชื้อเพลิงไปยังเครื่องยนต์ และต้องไม่เดินเหนือศีรษะ ซึ่งจะทาให้มีฟองอากาศ
ในระบบท่อได้
4.6.12.3 ระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงต้องมี อุปกรณ์จับยึด (Support ) สาหรับยึดท่อที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการ
สั่นสะเทือนและท่อแตกระยะห่างระหว่าง อุปกรณ์จับยึด (Support) แต่ละชุดต้องไม่เกิน1.5 เมตร เมื่อ
ท่อน้ามันเชื้อเพลิงมีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 40 มม.(1.5 นิ้ว)
4.6.12.4 ต้องไม่เดินท่อน้ามันเชื้อเพลิงผ่านบริเวณท่อ ซึ่งมีความร้อน (Heating pipes) สายไฟฟ้าหรือส่วนต่าง ๆ
ของระบบท่อไอเสีย

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
57
4.6.12.5 ก่อนใช้งานให้ทาความสะอาด (Flush) ระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิง ด้วยลมหรือก๊าซเฉื่อยเพื่อไล่สิ่งสกปรก
ต่าง ๆ ภายในท่อ และให้ทาการทดสอบการรั่วซึมโดยใช้แรงดันน้า แรงดันอากาศ หรือก๊าซเฉื่อยอัดด้วย
แรงดัน 345 กิโลปาสกาล (50 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบนาที ในกรณีเป็นท่อที่มี
ผนังสองชั้นให้ทดสอบเฉพาะท่อชั้นใน
4.6.12.6 ขนาดของท่อน้ามันเชื้อเพลิงจะขึ้นอยู่กับอัตราการไหลสูงสุดของน้ามันเชื้อเพลิงภายในท่อดังนี้

ตารางที่ 4.1 ขนาดของท่อน้ามันเชื้อเพลิงจะขึ้นอยู่กับอัตราการไหลสูงสุดของน้ามันเชื้อเพลิงภายในท่อ


อัตราการไหลสูงสุดของน้ามันเชือ้ เพลิง NPS DN Pipe size
แกลลอนต่อชั่วโมง (ลิตรต่อชั่วโมง) Pipe size (inch) (mm)
น้อยกว่า 80 (303) 1/2 15
81 – 100 (304 – 378) 1/2 15
101 – 160 (379 – 604) 3/4 20
161 – 230 (605 – 869) 3/4 20
231 – 310 (870 – 1,170) 1 25
1
311 – 410 (1,171 – 1,550) 1 /4 32
411 – 610 (1,550 – 2,309) 11/2 40
611 – 920 (2,309 – 3,480) 11/2 40

รูปแบบการติดตั้งระบบน้ามันเชื้อเพลิงของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าพร้อมอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ในกรณีที่ถังน้ามัน
สารองอยู่สูงกว่าเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะเป็นไปตามรูปที่ 4.12 และกรณีที่ถังน้ามันสารองอยู่ต่ากว่าเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะ
เป็นไปตามรูปที่ 4.13

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
58

รูปที่ 4.11 ระบบน้ามันเชื้อเพลิงกรณีถังน้ามันเชื้อเพลิงสารองอยู่สูงกว่าเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

รูปที่ 4.12 ระบบน้ามันเชื้อเพลิงกรณีถังน้ามันเชื้อเพลิงสารองอยู่ต่ากว่าเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
59
4.7 ระบบป้องกันเสียง (Soundproof System) ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
4.7.1 แหล่งกาเนิดเสียงเมื่อเดินเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะมีเสียงดังเนื่องจากการจุดระเบิด, ชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหวได้ของ
เครื่องยนต์, เสียงพัดลมรังผึ้งระบายความร้อน (Radiator Fan) เกิดขึ้น เราสามารถแบ่งเสียงที่เกิดขึ้น
ออกเป็นเสียงที่เกิดจากแหล่งกาเนิดเสียงใหญ่ ๆ 3 ประเภท คือ
4.7.1.1 เสียงที่เกิดจากการจุดระเบิด (Engine Exhaust) ซึ่งเป็นเสียงความถี่ต่า (Low Frequency Sound)
4.7.1.2 เสียงที่เกิดจากชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหวได้ของเครื่องยนต์ (Engine Moving Part) ซึ่งเป็นเสียง ความถี่ต่าและ
ความถี่สูง (Low and High Frequency Sound)
4.7.1.3 เสียงลมจากพัดลมระบายความร้อน (Radiator Discharge Air) ซึ่งเป็นเสียงความถี่สูง (High Frequency Sound)
4.7.2 การลดเสียงที่ส่งผ่านโครงสร้างของอาคาร (Reducing structure Transmitted noise) โครงสร้างของ
อาคารที่เกิดความสั่นสะเทือนจะทาให้เกิดเสียงดังเกิดขึ้นในอากาศโดยรอบ การติดตั้งหรือเชื่อมต่อระบบต่าง ๆ
ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่เป็นสาเหตุให้เกิดความสั่นสะเทือนเข้ากับโครงสร้างต่าง ๆ ของอาคาร จะทาให้เกิด
เสียง ดังนั้นในการติดตั้งหรือเชื่อมต่อระบบต่าง ๆ ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเข้ากับโครงสร้างของอาคารจะต้อง
มีอุปกรณ์รองรับความสั่นสะเทือน (Vibration Isolator) เป็นตัวเชื่อมเพื่อลดแรงสั่นสะเทือนของโครงสร้าง
อาคารและเป็ น การลดเสี ย งที่ส่ งผ่ านโครงสร้า งของอาคารด้ว ย การติด ตั้ง เครื่อ งก าเนิ ดไฟฟ้ าจะต้ องมี
Vibration Isolator รองรับระหว่างตัวเครื่องยนต์, เครื่องกาเนิดไฟฟ้า กับฐานแท่นเครื่อง (Base Frame)
หรื อรองรับ ระหว่างฐานแท่นเครื่องกับแท่นเครื่อง (Concrete Foundation) และต้องมี Flexible
Connections สาหรับระบบท่อไอเสีย, ท่อลม (Air duct) ท่อน้ามันเชื้อเพลิง, ท่อน้าหรือของเหลวระบาย
ความร้อน, ระบบสายไฟที่ต่อเข้ากับเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าเพื่อลดการส่งผ่านแรงสั่นสะเทือนที่จะส่งผ่านไป
ยังโครงสร้างของอาคาร
4.7.3 การลดเสียงในอากาศ (Reducing Airborne Noise)
- การลดเสีย งเครื่ องกาเนิดไฟฟ้า สามารถทาได้ด้ว ยวิธีง่าย ๆ คือบังคับทิศทางของเสียงที่เกิดจากรังผึ้ ง
ระบายความร้อน หรือปลายท่อไอเสียขึ้นไปตามแนวดิ่งให้ห่างจากบริเวณที่ต้องการลดเสียง
- สร้างกาแพงป้องกันเสียงซึ่งทาด้วยวัสดุ ซึ่งมีความหนาแน่นของมวลสูง เช่น ผนังคอนกรีต หรืออิฐ ในกรณี
นี้ต้องระวังเสียงที่จะลอดผ่ านช่องเปิดต่าง ๆ เช่น ประตู, ช่องท่อไอเสี ย, ช่องท่อน้ามันเชื้อเพลิง หรือ
ช่องทางสาหรับสายไฟฟ้า
- ติดตั้งวัสดุป้องกันเสียงบนกาแพง, เพดาน และภายในท่อลม (Air duct) และให้เปลี่ยนทิศทางการเดินทาง
ของเสียงในท่อโดยใช้ท่อโค้ง 90 องศา เพื่อลดเสียงความถี่สูง (High frequency noise) การติดตั้งวัสดุ
ป้องกันเสียงบนผนังห้องหรือเพดานสามารถลดเสียงได้ดี แต่วัสดุป้องกันเสียง ที่ใช้จะต้องมีคุณสมบัติไม่ติด
ไฟ, ทนต่อการขีดข่วน, มีความหนาแน่นเหมาะสม
- ผนังคอนกรีต (Concrete block) มีคุณสมบัติป้องกันเสียงได้ดีภายในบรรจุทราย เพื่อเพิ่มมวลของผนัง
และเพิ่มการป้องกันหรือลดเสียง
- กรณีรังผึ้งระบายความร้อนแยก (Remote radiator) สามารถลดเสียงได้โดยลดอัตราการไหลของอากาศที่
ใช้ระบายความร้อน หรือติดตั้งพัดลมระบายความร้อนให้ห่างจากบริเวณที่ต้องการลดเสียง และพัดลมที่ใช้
ต้องเป็นชนิดความเร็วต่าเพื่อลดเสียง
4.7.4 การลดเสียงจากท่อไอเสีย การติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า จะต้องมีการลดเสียงที่เกิดจากแก๊สไอเสียโดยใช้ท่อ
เก็บเสียงไอเสีย (Exhaust muffler) ชนิดที่เหมาะสมโดยท่อเก็บเสียงไอเสียจะแบ่งออกเป็นชนิดต่าง ๆ ดังนี้:-
- แบบใช้กับงานอุตสาหกรรม (Industrial type) สามารถลดเสียงได้ 12 – 18 dBA

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
60
- แบบใช้กับที่พักอาศัย (Residential type) สามารถลดเสียงได้  18 – 25 dBA
- แบบพิเศษ (Critical type) สามารถลดเสียงได้  25 dBA – 35 dBA
- แบบพิเศษมาก (Super critical type) สามารถลดเสียงได้  35 dBA – 45 dBA

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
61
บทที่ 5 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับระบบจ่ายไฟฟ้าสารอง
(Standby Electrical System Installation)

5.1 รูปแบบการติดตั้งทั่วไปสาหรับระบบแรงดันต่า (Typical Low Voltage System)


5.1.1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า 1 ชุดติดตั้งเพื่อรองรับการจ่ายโหลดทั้งหมด ดังแสดงในรูปที่ 5-1

รูปที่ 5.1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า 1 ชุดติดตั้งเพื่อรองรับการจ่ายโหลดทั้งหมด

5.1.1.1 ต้องจัดเตรียมอุปกรณ์เพื่อป้องกันการจ่ายกระแสเกิน (Overcurrent Protection) และ อุปกรณ์ป้องกัน


การเกิดกระแสลัดวงจรของสายป้อนระหว่างเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากับแผงจ่ายไฟฟ้า สาหรับเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า ทั้งนี้อุปกรณ์ป้องกันดังกล่าวสามารถติดตั้งได้ที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าหรือ กรณีที่อุปกรณ์ป้องกัน
ดังกล่าวมีขนาดใหญ่เกินกว่า ที่จะติดตั้งที่เครื่องกาเนิ ดไฟฟ้าได้ ก็สามารถติดตั้งที่แผงจ่ายไฟแยก ซึ่งต้อง
ตั้งอยู่ในบริเวณห้องเดียวกัน
5.1.1.2 ต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันการเกิดความเสียหายจากการเกิดความผิดพร่อง (Fault) ของวงจรจ่าย
โหลดที่แผงจ่ายไฟฟ้า
5.1.1.3 กรณีที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าถูกออกแบบให้สามารถตัดวงจรโดยอั ตโนมัติเมื่อเกิดการผิดพร่อง (Fault) โดย
ไม่ได้ติดตั้ง อุปกรณ์ตัดวงจรอัตโนมัติ (Circuit Breaker) ที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ให้ติดตั้งอุปกรณ์ตัด -ต่อ
วงจร (Disconnecting Switch) แทนเพื่อให้สามารถตัดต่อ เครื่องกาเนิดไฟฟ้า เข้าออกจากวงจรการ
จ่ายไฟได้
5.1.2 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ามากกว่า 1 ชุดติดตั้งเพื่อรองรับการจ่ายโหลดทั้งหมด ดังแสดงในรูปที่ 5-2

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
62

รูปที่ 5.2 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ามากกว่า 1 ชุดติดตั้งเพื่อรองรับการจ่ายโหลดทั้งหมด

5.1.2.1 อุปกรณ์เพื่อป้องกันกระแสเกินและการเกิดความผิดพร่องสาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้เป็นไปตามข้อ 5.1.1


5.1.2.2 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแต่ละชุดอาจมีขนาดไม่เท่ากันก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการจัดกลุ่มของโหลดและการจ่าย
โหลดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ออกแบบไว้ โดยต้องมีการควบคุมการจ่ายโหลดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้
สอดคล้องกับการใช้งาน ทั้งนี้ การควบคุมดังกล่าวอาจเป็นชนิดควบคุมด้วยมือหรืออัตโนมัติ
ในกรณีที่ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ต่อร่วมกันเพื่อจ่ายโหลด มีขนาดที่ไม่เท่ากัน จะต้องคานึงถึงการจัดเตรียม
ระบบสายดิน (Grounding System) ซึ่งจะต้องพิจารณาจัดเตรียมเป็นพิเศษ
5.1.3 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า 1 ชุดติดตั้งเพื่อสารองไว้สาหรับการจ่ายโหลดที่จัดไว้ดังแสดงไว้ในรูปที่ 5.3

รูปที่ 5.3 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า 1 ชุดติดตั้งเพื่อสารองไว้สาหรับการจ่ายโหลดที่จัดไว้

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
63

5.1.3.1 อุปกรณ์เพื่อป้องกันกระแสเกินและการเกิดความผิดพร่องสาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้เป็นไปตามข้อ 5.1.1


5.1.3.2 ต้องจัดเตรียมอุปกรณ์จากัดการเกิดความเสียหายจากการเกิดความผิดพร่อง (Fault) ของวงจรที่จะเกิด
กับอุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch, ATS)
5.1.3.3 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch, ATS) จะเป็นชนิด Contactor
หรือ Circuit Breaker หรือ ชนิดที่ผลิตเพื่อการนี้โดยเฉพาะ ก็ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในหมวด
อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch, ATS)
5.1.3.4 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch, ATS) จะเป็นแบบ 3 ขั้ว หรือ
4 ขั้วก็ได้ ขึ้นอยู่กับรูปแบบการจัดเตรียมระบบสายดินและอุปกรณ์ป้องกันการผิดพร่องลงดิน โดยให้
เป็นไปตามที่กาหนดในหมวด อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch,
ATS) และหมวดระบบสายดิน (Grounding System)

5.1.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ามากกว่า 1 ชุดติดตั้งเพื่อสารองไว้สาหรับการจ่ายโหลดที่จัดไว้

รูปที่ 5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ามากกว่า 1 ชุดติดตั้งเพื่อสารองไว้สาหรับการจ่ายโหลดที่จัดไว้

5.1.4.1 อุปกรณ์เพื่อป้องกันกระแสเกินและการเกิดความผิดพร่องสาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้เป็นไปตามข้อ 5.1.1


5.1.4.2 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch : ATS) ให้เป็นแบบ 4 ขั้ว โดย
ใช้ร่วมกับ Circuit Breaker หรือ Fuse Switch ชนิด 3 ขั้ว โดยให้เป็นไปตามที่กาหนดในหมวด อุปกรณ์
สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch : ATS) และหมวดระบบสายดิน
(Grounding System)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
64
5.2 การจัดระดับชั้นของระบบจ่ายไฟฟ้าสารอง (Classification of Emergency Power Supply Systems)
5.2.1 การจัดระดับความสาคัญการจ่ายโหลดของระบบจ่ายไฟฟ้าสารองแบ่งเป็น 2 ระดับดังนี้
5.2.1.1 ระดับ 1 (Level 1) เป็นระบบการจ่ายไฟฟ้าสาหรับอุปกรณ์ที่กรณีเกิดความล้มเหลวของระบบการจ่าย
ไฟฟ้าแล้วอุปกรณ์นั้นไม่สามารถทางานตามปกติได้และเป็นเหตุให้เกิดการสูญเสียชีวิตหรือการบาดเจ็บ
หนักได้เช่น
5.2.1.1.1 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินเพื่อการช่วยชีวิต ( Life safety illumination)
5.2.1.1.2 ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ( Fire detection and alarm systems)
5.2.1.1.3 ระบบลิฟท์ ( Elevators)
5.2.1.1.4 เครื่องสูบน้าดับเพลิง ( Fire pumps)
5.2.1.1.5 ระบบสื่อสารสาธารณะ ( Public safety communications systems)
5.2.1.1.6 กระบวนการผลิตอื่นที่เมื่อหยุดกระบวนการแล้วเป็นเหตุให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต หรือ
สุขอนามัย ( Industrial processes where current interruption would produce serious life
safety or health hazards)
5.2.1.1.7 ระบบระบายอากาศและระบบระบายควันไฟที่จาเป็น ( Essential ventilating and smoke
removal systems)
5.2.1.1.8 ระบบอื่นที่พิจารณาแล้วเห็นควรจัดให้อยู่ในระดับ 1

5.2.1.2 ระดับ 2 (Level 2) เป็นระบบการจ่ายไฟฟ้าสาหรับอุปกรณ์ที่กรณีเกิดความล้มเหลวของระบบจ่ายไฟฟ้า


แล้วอุปกรณ์นั้นไม่สามารถทางานตามปกติได้และยังไม่มีผลกระทบต่อความปลอดภัยในชีวิตของผู้ใช้งาน
หรือ อุปกรณ์ในระดับที่ 1 ที่ได้รับการพิจารณาแล้วจากผู้ใช้งานยินยอมให้มีความยืดหยุ่นในการใช้งานให้
สูงขึ้น เช่น
5.2.1.2.1 ระบบปรับอากาศ (Heating and refrigeration systems)
5.2.1.2.2 ระบบสื่อสาร (Communications systems)
5.2.1.2.3 ระบบระบายอากาศและระบบระบายควัน (Ventilation and smoke removal systems)
5.2.1.2.4 ระบบบาบัดน้าเสีย (Sewage disposal)
5.2.1.2.5 ระบบแสงสว่าง (Lighting)
5.2.1.2.6 กระบวนการผลิตทางด้านอุตสาหกรรม ( Industrial processes)
5.2.1.2.7 ระบบอื่นที่พิจารณาแล้วเห็นควรจัดให้อยู่ในระดับ 2

5.2.1.3 อุปกรณ์ทุกชุดตามข้อ 5.2.1.1 และข้อ 5.2.1.2 ต้องเป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งในระบบเป็นการถาวร


5.2.1.4 อุปกรณ์เครื่องมือวัดที่ติดตั้งที่แผงควบคุมของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองสาหรับอุปกรณ์หรือวงจรไฟฟ้า
ระดับที่ 1 (Level 1) จะต้องมีรายการอย่างน้อยดังนี้
5.2.1.4.1 AC Voltmeter สาหรับแต่ละเฟสทุกเฟส หรือ Phase Selector Switch
5.2.1.4.2 AC Ammeter สาหรับแต่ละเฟสทุกเฟส หรือ Phase Selector Switch
5.2.1.4.3 Frequency meter
5.2.1.4.4 ชุดปรับแรงดันไฟฟ้าโดยให้สามารถปรับได้+/- 5 %

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
65
5.2.1.5 ให้จัดเตรียมชุดอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ (Surge Suppressor) สาหรับป้องกันแผงควบคุมของเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าสารอง
5.2.1.6 ระบบไฟฟ้าที่จ่ายให้อุปกรณ์ที่ติดตั้งในข้อ 5.2.1.1และข้อ 5.2.1.2 จะต้องมีคุณสมบัติสอดคล้องกับทุกข้อ
ตามข้อกาหนดต่อไปนี้
5.2.1.6.1 มีคุณภาพตลอดระยะเวลาการจ่ายโหลดตามที่กาหนดไว้
5.2.1.6.2 มีระยะเวลาเปลี่ยนถ่ายแหล่งจ่ายไฟสูงสุดตามที่กาหนดไว้ในตารางที่ 5-1
5.2.1.6.3 มีระยะเวลาการจ่ายโหลดต่าสุดได้ตามที่ระบุไว้ในตารางที่ 5-2

5.2.2 การจัดประเภทของระบบตามเวลาการเปลี่ยนถ่ายแหล่งจ่ายไฟที่กาหนดไว้เป็นค่าสูงสุดที่ยอมรับได้เป็น
วินาที ตามตารางที่ 5-1

ตารางที่ 5.1 ประเภทของระบบการจ่ายไฟฟ้าสารอง

ประเภทของระบบ (Type) เวลาในการเปลี่ยนถ่ายแหล่งจ่ายไฟ (Power Restoration)


ประเภท U จ่ายไฟต่อเนื่องโดยไม่มีการหยุด ( UPS )
ประเภท 10 10 วินาที
ประเภท 60 60 วินาที
ประเภท 120 120 วินาที
ประเภท M เปลี่ยนถ่ายด้วยมือหรือแบบไม่อัตโนมัติ-ไม่มีกาหนดเวลา

5.2.3 การจัดระดับชั้น (Class) ของระบบการจ่ายไฟฟ้าสารองให้โหลดเป็นระยะเวลาต่าสุดโดยไม่ต้องเติมเชื้อเพลิง


หรืออัดประจุซ้า มีหน่วยชั่วโมงตามตารางที่ 5.2

ตารางที่ 5.2 ระดับชั้นของระบบการจ่ายไฟฟ้าสารองให้โหลดเป็นระยะเวลาต่าสุดโดยไม่ต้องเติมเชื้อเพลิง


หรืออัดประจุซ้า
ระดับชั้น (Class) เวลาน้อยที่สุด
ระดับชั้น 0.083 0.083 ชั่วโมง (5 นาที)
ระดับชั้น 0.25 0.25 ชั่วโมง ( 15 นาที )
ระดับชั้น 2 2 ชั่วโมง
ระดับชั้น 6 6 ชั่วโมง
ระดับชั้น 48 48 ชั่วโมง
ระยะเวลาอื่นที่กาหนดเป็นชั่วโมงตามความต้องการโดยการใช้งาน,
ระดับชั้น X
ข้อกาหนดอื่นหรือโดยผู้ใช้งาน

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
66

การพิจารณาการจัดระดับชั้น (Class) ของระบบการจ่ายไฟฟ้าสารองนั้นจะต้องพิจารณาถึงความสามารถใน


การจั ด หาและจั ด ส่ งเชื้อ เพลิ ง ส ารองไปยั ง สถานที่นั้ น เป็ นหลั ก โดยให้ คานึ งถึ งเงื่อ นไขทางภู มิอ ากาศ การขนส่ ง
ภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ความเสี่ยงในการเกิดภัยพิบัติ เช่น น้าท่วม แผ่นดินไหว เป็นต้น ทั้งนี้ โดยทั่วไปกาหนดให้
การจัดระดับชั้นของระบบการจ่ายไฟฟ้าสารองให้โหลดระดับ 1 (Level 1) ไม่น้อยกว่าระดับชั้น (Class) 6 ยกเว้น
โหลดในสถานพยาบาลที่ระบุในข้อ 5.4.4 ให้สารองเชื้อเพลิงไว้ไม่น้อยกว่า ระดับชั้น (Class) 48

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
67
ตารางที่ 5.3 เกณฑ์ทั่วไปประกอบการพิจารณาเบื้องต้นในการกาหนดประเภทการจ่ายระบบไฟฟ้าสารอง (Condensed General Criteria for Preliminary
Consideration)
ประเภทของ
ลำด ับ ระยะเวลำทีไ่ ฟด ับ ระยะเวลำน้อยทีส
่ ด
ุ ที่ ระบบไฟฟ้ำ
กำรใช้งำน ว ัตถุประสงค์ ข้อพิจำรณำในกำรเลือกใช้ระบบ
ที่ สูงสุดทีย
่ อมร ับได้ แนะนำในกำรสำรองไฟ
ฉุกเฉิน สำรอง
1 ไฟฟ้ าแสงสว่าง เพือ
่ การอพยพ (Evacuation of ทีเ่ หมาะสมไม่ควรเกิน 3 2 ชั่วโมง x 1 ป้ องกันการตืน่ ตระหนก บาดเจ็บ หรือเสียชีวต

personnel) วินาที แต่อนุโลมให ้สูงสุด 2 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของอาคาร หน่วยงาน
ได ้ถึง 10 วินาที ปกครองท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
3 เพือ่ ลดเบีย
้ ประกันภัย
4 ป้ องกันความเสียหายของทรัพย์สนิ
5 บรรเทาความเสียหายอันเกิดจากการฟ้ องร ้องตามกฎหมาย
เพือ
่ การรักษาความปลอดภัย 10 วินาที 10-12 ชั่วโมงตลอดยาม x x 1 ลดความสูญเสียจากการจารกรรม หรือ ความเสียหายของทรัพย์สน ิ
(Perimeter and Sucurity) วิกาล
2 เพือ่ ลดเบีย ้ ประกันภัย
3 เพือ ่ ป้ องกันการบาดเจ็บ
เพือ
่ การแจ ้งเหตุ (Warning) 10 วินาที - 3 นาที To return to prime power x 1 ป้ องกันหรือลดความเสียหายของทรัพย์สน ิ
2 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของอาคาร หน่วยงาน
ปกครองท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
3 ป้ องกันการบาดเจ็บ หรือเสียชีวต ิ
่ การกลับสูร่ ะบบไฟฟ้ าปกติ
เพือ 1 วินาที ขึน
้ ไปไม่จากัด ไม่ระบุ จนกว่าการซ่อม x x 1 ความเสีย ่ งขึน
้ อยูก
่ บ
ั ระยะเวลาของการซ่อมบารุง
(restoration of normal power system) จนกระทั่งระบบไฟฟ้ าแสง บารุงจะแล ้วเสร็จและ
สว่างสามารถทาได ้ กลับคืนสูร่ ะบบจ่ายไฟปกติ
ได ้
เพือ
่ ไฟฟ้ าแสงสว่างทั่วไป (General ไม่ระบุ ขึน
้ อยูก
่ บ
ั การ ไม่ระบุ ขึน ้ อยูก
่ บ
ั การ x 1 ป้ องกันการเสียโอกาสทางการค ้า
Lighting ) วิเคราะห์และประเมิน วิเคราะห์และประเมิน 2 ลดการสูญเสียในการผลิต
3 ควมเสีย ่ งในการถูกโจรกรรมตา่
4 ลดเบีย ้ ประกันภัย
่ การใช ้งานในโรงพยาบาลและ
เพือ ต่อเนื่อง-10 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ่ การรักษาพยาบาลทีต ่ อ
่ เนื่องโดยบุคลากรทางการแพทย์
ขอบเขตการให ้บริการทางการแพทย์ (อนุญาตให ้ได ้ถึง10 วินาที 2 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของอาคาร หน่วยงาน
(Hospitals and medical areas) เพือ
่ การสตาร์ท ปกครองท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
แหล่งจ่ายไฟทางเลือกอืน ่ 3 ป้ องกันการบาดเจ็บ หรือเสียชีวต ิ
และหม ้อแปลงไฟฟ้ า) 4 บรรเทาความเสียหายอันเกิดจากการฟ้ องร ้องตามกฎหมาย
เพือ
่ หยุดระบบตามขัน
้ ตอน (Ordinary 0.1 วินาที - 1 ชั่วโมง 10 นาที - หลายชั่วโมง x 1 ป้ องกันการบาดเจ็บ หรือเสียชีวต ิ
Shut-down time) 2 ป้ องกันความเสียหายของทรัพย์สน ิ เนื่องจากการหยุดระบบบ่อยครัง้
หรือหยุดกระทันหันของระบบทีว่ ก ิ ฤติ
3 ควมเสีย ่ งในการถูกโจรกรรมตา่
4 ลดเบีย ้ ประกันภัย

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
68
ประเภทของ
ลำด ับ ระยะเวลำทีไ่ ฟด ับ ระยะเวลำน้อยทีส
่ ด
ุ ที่ ระบบไฟฟ้ำ
กำรใช้งำน ว ัตถุประสงค์ ข้อพิจำรณำในกำรเลือกใช้ระบบ
ที่ สูงสุดทีย
่ อมร ับได้ แนะนำในกำรสำรองไฟ
ฉุกเฉิน สำรอง
2 เริม
่ ต ้นระบบ (Startup หม ้อต ้มน้ าร ้อน (Boilers) 3 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ ่ ารผลิต
่ กลับสูก
power) หม้อไอน้ ำ 2 ป้ องกันความเสียหายเนื่องจากการสูญเสียความร ้อน
3 เตรียมการเพือ ่ กาลังไฟฟ้ าทีต
่ ้องการ
เครือ
่ งอัดลม (Air Compressors) 1 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ ่ ารผลิต
่ กลับสูก
2 เตรียมไว ้สาหรับอุปกรณ์ควบคุม
3 การขนส่ง (Transportation) ลิฟท์ (Elevator) 15 วินาที-1 นาที 1 ชั่วโมงจนกระทั่งกลับสู่ x 1 ่ ความปลอดภัยของผู ้ใช ้งาน
เพือ
ระบบปกติ 2 เพือ่ การอพยพ
3 เพือ ่ ความต่อเนื่องในการปฏิบัตงิ านตามปกติ
การขนส่งสินค ้า (Material Handling) 15 วินาที-1 นาที 1 ชั่วโมง-กลับสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ ่ ความสมบูรณ์แบบของการผลิต

2 เพือ
่ การหยุดระบบตามกาหนด
3 เพือ่ ความต่อเนื่องในการปฏิบัตงิ านตามปกติ
บันไดเลือ
่ น (Escalator) 15 วินาที-ไม่ต ้องการไฟฟ้ า 0 - กลับสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ ่ การอพยพตามทีก ่ าหนด
2 เพือ ่ ความต่อเนื่องในการปฏิบัตงิ านตามปกติ
4 ระบบอานวยความสะดวก ระบบน้ าดี 15 วินาที 30 นาที - กลับสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ ่ ความต่อเนื่องในการผลิต
ทางกล (Mechanical
Utility System) 2 เพือ
่ ป้ องกันความเสียหายของอุปกรณ์
3 เพือ่ จ่ายให ้ระบบป้ องกันอัคคีภัย
ระบบน้ าดืม
่ และสุขาภิบาล 1 นาที - ไม่ต ้องการ ไม่กาหนด ขึน ้ อยูก่ บ
ั การ x 1 เพือ ่ บริการลูกค ้าหรือผู ้ใช ้อาคาร
ประเมิน 2 เพือ ่ รักษาสมรรถภาพของผู ้ใช ้งาน
ระบบไฟสาหรับหม ้อต ้มน้ า (Boiler 0.1 วินาที 1 ชั่วโมง-กลับสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ ่ ป้ องกันการสูญเสียการผลิตไฟฟ้ าและไอน้ า
Power) 2 เพือ ่ รักษาการผลิต
3 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายของอุปกรณ์
เครือ่ งสูบน้ าดี , สุขาภิบาล,ของเหลว 10 วินาที - ไม่ต ้องการ ไม่กาหนดจนกว่าจะมี x 1 เพือ ่ ป้ องกันน้ าท่วม
เพือ
่ การผลิต การประเมิน 2 เพือ ่ รักษาระบบทาความเย็น
3 เพือ ่ ตอบสนองความต ้องการด ้านสุขอนามัย
4 เพือ ่ รักษาการผลิต
5 เพือ ่ รักษาการทางานของหม ้อต ้มน้ า
พัดลมและเครือ
่ งเป่ าลมสาหรับระบบ ่ กติ กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ
0.1 วินาที่ - ระบบกลับสูป x x 1 เพือ ่ รักษาการทางานของหม ้อต ้มน้ า
ระบายอากาศและความร ้อน 2 จัดหาเพือ ่ ส่วนการระบายและกาจัด GAS - Fire
3 เพือ ่ รักษาหน ้าทีก
่ ารทาความเย็น ความร ้อนสาหรับอาคารและการผลิต

5 ระบบทาความร ้อน ระบบจัดเตรียมอาหาร 5 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ


่ ป้ องกันการสูญเสียการขายและผลกาไร
( Heating ) 2 เพือ่ ป้ องกันส่วนเสียหายในขัน ้ ตอนการเตรียมการผลิต
ขัน
้ ตอนการผลิต 5 นาที ไม่กาหนดจนกว่าจะมี x 1 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายระหว่างการผลิต
การประเมิน 2 เพือ ่ ป้ องกันการเสียหายของทรัพย์สน ิ
3 เพือ ่ ความต่อเนื่องในการผลิต
4 เพือ ่ ป้ องกันรายจ่ายแก่คนงานระหว่างไม่มก
ี ารผลิต
5 ลดเบีย ้ ประกันภัย

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
69
ประเภทของ
ลำด ับ ระยะเวลำทีไ่ ฟด ับ ระยะเวลำน้อยทีส
่ ด
ุ ที่ ระบบไฟฟ้ำ
กำรใช้งำน ว ัตถุประสงค์ ข้อพิจำรณำในกำรเลือกใช้ระบบ
ที่ สูงสุดทีย
่ อมร ับได้ แนะนำในกำรสำรองไฟ
ฉุกเฉิน สำรอง
6 ระบบทาความเย็น อุปกรณ์หรือเครือ ่ งมีอพิเศษทีต่ ้องการ 5 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ
่ ป้ องกันอุปกรณ์หรือสินค ้าเสียหาย
(Refrigeration ) อุณหภูมต ิ า่ ( Cryogenics )
อุปกรณ์เก็บรักษาวัสดุธรรมชาติทส ี่ าคัญ 5 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ
่ ป้ องกันความเสียหายต่อวัสดุทถ
ี่ ก
ู เก็บรักษา
เช่น ธนาคารเลือด ฯลฯ
อุปกรณ์เก็บรักษาวัสดุธรรมชาติทไี่ ม่ 2 ชั่วโมง ไม่กาหนดจนกว่าจะมี x 1 เพือ่ ป้ องกันความยเสียหายต่อวัสดุทถ ี่ ก ู เก็บรักษา
สาคัญ เช่น เนื้อสัตว์ สินค ้า ฯลฯ การประเมิน 2 ลดเบีย ้ ประกันภัย
7 ระบบการผลิต ส่วนพลังงานการผลิตทีส ่ าคัญ(โรงงาน 1 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ ่ ป้ องกันสินค ้าหรือเครือ ่ งมือเสียหาย
(Production) น้ าตาล,โรงงานผลิตเหล็ก,งานผลิตเคมี หรือหยุดระบบตาม 2 เพือ ่ ความต่อเนื่องในการผลิตตามปกติ
,ผลิตแก ้ว ฯลฯ ) ขัน
้ ตอนทีก่ าหนด 3 เพือ ่ ลดรายจ่ายแก่คนงานระหว่างไม่มก ี ารผลิต
4 ลดเบีย ้ ประกันภัย
5 เพือ ่ ป้ องกันการหยุดการทางานระยะยาวเนื่องจากมีมก ี ารหยุดระบบตาม
กาหนด
ส่วนพลังงานควบคุมขัน
้ ตอนการผลิต ต่อเนื่อง-1 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ ่ ป้ องกันการสูญเสียต่อเครือ ่ งจักรและโปรแกรมควบคุมการผลิต
2 เพือ ่ รักษาการผลิต
3 เพือ ่ ป้ องกันการลุกลามต่อความปลอดภัย
4 เพือ ่ ป้ องกันสินค ้าทีไ่ ม่เป็ นตามคุณสมบัตท ิ กี่ าหนด
8 สภาวะของพืน ้ ที่ อุณหภูม ิ 10 วินาที 1 นาทีกระทั่งกลับคืนสู่ x x 1 เพือ ่ ป้ องกันอันตรายต่อผู ้คน
(Space conditioning ) ( ใช ้งานสาคัญ ) ระบบปกติ 2 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายต่อสินค ้าและทรัพย์สน ิ
3 ลดเบีย ้ ประกันภัย
4 เพือ ่ ความต่อเนื่องในการผลิตตามปกติ
5 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายต่อการทางานของคอมพิวเตอร์
แรงดัน (สาคัญ ) 1 นาที 1 นาทีกระทั่งกลับคืนสู่ x x 1 เพือ ่ ป้ องกันอันตรายต่อบุคคล
สภาวะแรงดันบรรยากาศ บวก/ลบ ระบบปกติ 2 เพือ ่ ความต่อเนื่องของกิจกรรมตามปรกติ
3 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายต่อสินค ้าและทรัพย์สน ิ
4 ลดเบีย ้ ประกันภัย
5 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของ หน่วยงานปกครอง
ท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
้ (สาคัญ )
ความชืน 1 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายต่อการทางานของคอมพิวเตอร์
2 เพือ ่ รักษาการผลิตและทดสอบให ้เป็ นปกติ
3 เพือ ่ ป้ องกันการระเบิดหรืออันตรายอืน ่ ๆ
ไฟฟ้ าสถิตย์ (Static Charge ) 10 วินาที่ หรือน ้อยกว่า กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ ่ ป้ องกันไฟฟ้ าสถิตย์และอันตรายทีเ่ กีย ่ วข ้องกัน
2 เพือ ่ ความต่อเนื่องของการผลิตตามปกติ(การพิมพ์แบบกด , การพิมพ์
แบบฉีดพ่น )
ระบบความร ้อนและความเย็นของอาคาร 30 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ ่ ป้ องกันความสูญเสียเนื่องจากภาวะเยือกแข็ง
2 เพือ ่ รักษาประสิทธิภาพของบุคคล
3 เพือ ่ ความต่อเนื่องของกิจกรรมตามปรกติ
ระบบระบายอากาศ (ไอพิษ ) 15 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ ่ ลดอันตรายต่อสุขภาพ
( Toxic Fumes ) หรือหยุดระบบตาม 2 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของ หน่วยงานปกครอง
ขัน
้ ตอนทีก ่ าหนด ท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
ระบบระบายอากาศ (ไอระเบิด ) 10 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ ่ ลดอันตรายจากการระเบิด
(explosive atmosphere ) หรือหยุดระบบตาม 2 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายของทรัพย์สน ิ
ขัน้ ตอนทีก ่ าหนด 3 ลดเบีย ้ ประกันภัย
4 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของหน่วยงานปกครอง
ท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
5 ลดอัตรายจากไฟ
6 ลดอัตรายต่อบุคคล

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
70
ประเภทของ
ลำด ับ ระยะเวลำทีไ่ ฟด ับ ระยะเวลำน้อยทีส
่ ด
ุ ที่ ระบบไฟฟ้ำ
กำรใช้งำน ว ัตถุประสงค์ ข้อพิจำรณำในกำรเลือกใช้ระบบ
ที่ สูงสุดทีย
่ อมร ับได้ แนะนำในกำรสำรองไฟ
ฉุกเฉิน สำรอง
8 สภาวะของพืน ้ ที่ ระบบระบายอากาศ ( อาคารทั่วไป ) 1 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ่ รักษาประสิทธิภาพของบุคคล
(Space conditioning ) 2 เพือ ่ จัดหาอากาศเพิม ่ เติมในอาคาร
ระบบระบายอากาศ ( อุปกรณ์พเิ ศษ ) 15 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ ่ จัดหาการเปิ ดและปิ ดอย่างปลอดภัยของการถ่ายทิง้
(Special equipment ) หรือหยุดระบบตาม 2 ลดอันตรายต่อบุคคลและทรัพย์สน ิ
ขัน
้ ตอนทีก่ าหนด 3 เพือ ่ ให ้ได ้ตามความต ้องการของบริษัทประกันภัย
4 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของหน่วยงานปกครอง
ท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
5 เพือ ่ ความต่อเนื่องของการดาเนินงานตามปกติ
ระบบระบายอากาศ ( ทุกประเภทที่ 1 นาที เป็ นทางเลือก (Optional) x 1 เพือ ่ รักษาความสะดวกสบาย
ไม่สาคัญ )
(all categories noncritical ) 2 เพือ
่ ป้ องกันการเสียหายต่อการทดสอบ
ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ 1 นาที ไม่กาหนดจนกว่าจะมีการ x 1 เพือ่ ความต่อเนื่องของการทางานตามปกติ
( Air pollution control ) ประเมิน การยินยอม 2 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของอาคาร หน่วยงาน
ดาเนินการใดๆ หรือ การ ปกครองท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
หยุดระบบถือเป็ นทางเลือก

9 ระบบป้ องกันเพลิงไหม ้ ระบบแจ ้งเหตุ 1 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของหน่วยงานปกครอง
ท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
( Fire Protection ) 2 ลดเบีย ้ ประกันภัย
3 ลดความเสียหายต่อชีวต ิ และทรัพย์สน ิ
ปั ้มน้ าดับเพลิง 10 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของอาคาร หน่วยงาน
ปกครองท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
2 ลดเบีย ้ ประกันภัย
3 ลดความเสียหายต่อชีวต ิ และทรัพย์สน ิ
แสงสว่างเพิม ่ เติม 10 วินาที 5 นาที กระทั่งกลับคืนสู่ x 1 เพือ่ การให ้การบริการปั ้มน้ าดับเพลิงหากไม่ทางาน
( Auxiliary lighting ) ระบบปกติ 2 เพือ ่ ให ้การนาทางทางสายตาแก่นักผจญเพลิง
10 การประมวลข ้อมูล หน่วยความจา CPU , หน่วยจัดเก็บ 1/2 ไซเคิล กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายต่อโปรแกรม
( Data processing ) Tape / Disc และระบบทีเ่ กีย
่ วข ้อง หรือหยุดระบบตาม 2 รักษาการทางานของระบบเงินเดือน ระบบควบคุม ระบบเครือ ่ งจักร
ขัน
้ ตอนทีก ่ าหนด คลังสินค ้า ระบบการจอง ฯลฯ
้ และอุณหภูม ิ
การควบคุมความชืน 5 - 15 นาที (1 นาทีสาหรับ กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 รักษาสภาวะการทางานเพือ ่ ป้ องกันความผิดพลาดในระบบ
อุปกรณ์น้ าเย็น) หรือหยุดระบบตาม การประมวลข ้อมูล
ขัน้ ตอนทีก ่ าหนด 2 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายต่ออุปกรณ์
3 เพือ ่ ความต่อเนื่องของการทางานตามปรกติ
11 ระบบสนับสนุนและให ้ความ X -ray 1/1000 วินาที - หลาย จากไม่ต ้องการจนกระทั่ง x x 1 เพือ ่ รักษาคุณภาพ
ปลอดภัยแก่ชวี ต
ิ (แพทย์ ชั่วโมง กลับคืนสูร่ ะบบปกติ 2 เพือ ่ ความพร ้อมของภาวะฉุกเฉิน
สนาม ,โรงพยาบาล ตามทีไ่ ด ้ประเมินไว ้
,คลินก
ิ ฯลฯ )
แสงสว่าง 1/1000 วินาที - หลาย กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของอาคาร หน่วยงาน
ชั่วโมง ปกครองท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
2 เพือ
่ ป้ องกันไม่ให ้มีการขัดขวางการทางานหรือความต ้องการทางาน
เครือ
่ งจักรและบริการทีม
่ ค
ี วามสาคัญ 1/2 ไซเคิล - 10 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ่ รักษาชีวต

ต่อชีวติ
2 เพือ่ ป้ องกันไม่ให ้มีการขัดขวางการรักษาหรือการผ่าตัด
3 เพือ ่ ความต่อเนื่องของการทางานตามปรกติ
4 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของหน่วยงานปกครอง
ท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
ระบบรักษาความเย็น (refrigeration ) 5 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ ่ รักษา เลือด พลาสมา และวัสดุทเี่ กีย ่ วข ้องตามอุณหภูมแ
ิ ละ
สภาวะทีไ่ ด ้ถูกแนะนาไว ้

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
71
ประเภทของ
ลำด ับ ระยะเวลำทีไ่ ฟด ับ ระยะเวลำน้อยทีส
่ ด
ุ ที่ ระบบไฟฟ้ำ
กำรใช้งำน ว ัตถุประสงค์ ข้อพิจำรณำในกำรเลือกใช้ระบบ
ที่ สูงสุดทีย
่ อมร ับได้ แนะนำในกำรสำรองไฟ
ฉุกเฉิน สำรอง
่ สาร
12 ระบบสือ ระบบพิมพ์ทางไกล 5 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ
่ รักษาการให ้บริการลูกค ้า

(teletypewriter) 2 เพือ
่ รักษาการควบคุมการผลิตและคลังสินค ้า
3 เพือ ่ สารตามปกติเพือ
่ ความต่อเนื่องของการสือ ่ ป้ องกันความเสียหาย
ทางเศรษฐกิจ
ภายในอาคาร (inner building) 10 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ ่ รักษากิจกรรมตามปกติและการควบคุม

โทรทัศน์ 10 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x 1 เพือ


่ รักษาความต่อเนื่องการขาย

( close circuit and commercail ) 2 เป็ นไปตามสัญญา


3 เพือ่ รักษาความปลอดภ ้ย
4 เพือ ่ รักษาความต่อเนื่องการผลิต
ระบบวิทยุ 10 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ ่ รักษาระบบแจ ้งเติอนความปลอดภัยและเพลิงไหม ้

2 เพือ
่ จัดหาข ้อปฏิบัตก ิ ารอพยพ
3 เพือ่ รักษาการให ้บริการลูกค ้า
4 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายทางเศรษฐกิจ
5 เพือ ่ นาทางยานพาหนะ
่ สารภายใน
ระบบสือ 10 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ ่ จัดหาข ้อปฏิบัตกิ ารอพยพ

( intercommunicatios system ) 2 เพือ่ นาทางยานพาหนะในกรณีฉุกเฉิน


3 เพือ ่ การสือ ่ สารกรณีปรกติ
4 เพือ ่ รักษาความปลอดภ ้ย
ระบบติดตามตัว 10 วินาที 1/2 ชั่วโมง x x 1 เพือ ่ กาหนดตาแหน่งบุคคลผู ้รับผิดชอบเกียวข ้องกับการขัด
(Paging systems ) ข ้องของระบบพลังงาน
2 เพือ ่ จัดหาข ้อปฏิบัตกิ ารอพยพ
3 ป้ องกันการตืน ่ ตระหนก
13 วงจรสัญญาณ ( Signal แจ ้งเตือนและแจ ้งเหตุ (Alarm and 1-10 วินาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 เพือ ่ ป้ องกันความสูญเสียจาก ขโมย ลอบวางเพลิง จลาจล
circuits ) annunciation)
2 เพือ่ รักษาระบบความปลอดภ ้ย
3 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับ หรือกฎหมาย
4 ลดเบีย ้ ประกันภัย
5 แจ ้งเตือนเมือ ่ มีภาวะเกินขอบเขตของอุณหภูม ิ แรงดัน ระดับน้ า
และอันตรายอืน ่ ๆ
6 เพือ ่ ป้ องกันความเสียหายทางเศรษฐกิจ
ระบบแจ ้งเตือนเรือ รถไฟ อากาศ 1 วินาที - 1 นาที กระทั่งกลับคืนสูร่ ะบบปกติ x x 1 สอดคล ้องกับมาตรฐาน ระเบียบข ้อบังคับของ หน่วยงานปกครอง
ยาน ทีม
่ ฐี านบนพืน้ ดิน ท ้องถิน ่ หรือกฎหมาย
2 เพือ ่ ป้ องกันการบาดเจ็บของบุคคล
3 เพือ ่ ป้ องกันการเสียหายของทรัพย์สนิ และเศรษฐกิจ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
72

5.4 การเชื่อมต่อทางไฟฟ้าและการเดินสายไฟฟ้า (Electrical Connection & Wiring)


5.4.1 ข้อกาหนดในการเดินสายและวัสดุให้เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย
ของ วสท.ฉบับล่าสุด
5.4.2 การจ่ายไฟฟ้าให้กับระบบลิฟท์ให้เป็นไปตามข้อกาหนดในมาตรฐานระบบลิฟท์ ของ วสท.ฉบับล่าสุด
5.4.3 การเดินสายไฟฟ้าสาหรับวงจรไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน ให้เดินแยกจากสายไฟฟ้าสาหรับวงจรไฟฟ้าปกติ
เพื่อป้องกันเหตุที่อาจสร้างความเสียหายทางกายภาพต่อสายไฟฟ้าได้พร้อมกัน เช่น เหตุเพลิงไหม้
น้าท่วม แผ่นดินไหว เป็นต้น
5.4.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉินที่ติดตั้งในสถานพยาบาลหรือในพื้นที่อื่นเพื่อจ่ายไฟให้กับพื้นที่วิกฤติ
(Critical Care Area) ของสถานพยาบาล ได้แก่ ICU (intensive care units) CCU (coronary
care units) ห้องฉายรังสีและถ่ายเอ็กซ์เรย์ (angiography laboratories) ห้องปฏิบัติการระบบ
หัวใจ (cardiac catheterization laboratories)ห้องคลอด (delivery rooms) ห้องผ่าตัด
(operating rooms)ห้องพักฟื้นหลังดมยา (postanesthesia recovery rooms) แผนกผู้ป่วย
ฉุกเฉิน (Emergency Departments) รวมทั้งพื้นที่อื่นที่เกี่ยวเนื่องหรือคล้ ายคลึงกันเพื่อให้
กระบวนการ การรักษาผู้ป่วยเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ต้องจ่ายไฟฟ้าจากแผงควบคุมที่รับไฟจากอุปกรณ์
ถ่ายโอนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) หนึ่งตัวแยกต่างหาก โดยการจ่าย
ไฟฟ้าให้กับพื้นที่วิกฤติ (Critical Care Area) นี้ต้องมีอย่างน้อย 1 วงจร ที่มาจากแหล่งจ่ายไฟปกติ
หรือจากอุปกรณ์ถ่ายโอนแหล่งจ่ายไฟ (Transfer Switch) จากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉินตัว
อื่น
5.4.5 สายไฟขนาดใหญ่จะมีความแข็ง ถึงแม้จะถูกพิจารณาว่ามีความยืดหยุ่นแต่อาจไม่สามารถดัดให้โค้งงอ
ตามที่ต้องการได้ เช่นเดียวกับท่อร้อยสายบางชนิด เช่นท่อ Liquid-Tight ทั้งสายไฟและท่อร้อยสาย
ไม่ มี ค วามสามารถยื ด หยุ่ น ตามแรงกดตามยาวได้ ดั ง นั้ น การยื ด หยุ่ น ตามแนวดั ง กล่ า วต้ อ งถู ก
เตรียมการเผื่อไว้ด้วยระยะการเผื่อความยาวที่พอเพียงเพื่อการชดเชย หรือการโค้ง งอทั้งนี้ ให้ยึด
สายไฟขนาดใหญ่หรือท่อดังกล่าวเข้ากับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองเพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวไปพร้อม
กันได้ โดยให้เผื่อ ความยาวสายไฟขนาดใหญ่หรือท่อส่วนที่เดินอยู่นอกเครื่องกาเนิดไฟฟ้าดังกล่าว
ตามความเหมาะสม
5.4.6 จุดเชื่อมต่อทางไฟฟ้าบนเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน – Bushings, Bus-Bars, Terminal Block
และอื่นๆ นั้น ไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อดูดซับการเคลื่อนไหวของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขณะทางานปกติ
รวมทั้งความเครียดที่เกี่ยวเนื่อง หากไม่สามารถมีการยืดหยุ่นที่พอเพียงแล้วจะส่งผลให้เกิดความ
เสียหายแก่ เปลือก สายตัวนา สายไฟ ฉนวน จุดเชื่อมต่อ ดังนั้น หากจุดต่อสายของอุปกรณ์ประกอบ
อยู่ในตาแหน่งที่มีการเคลื่อนไหว ให้เตรียมท่อร้อยสายแบบยืดหยุ่นได้ (Flexible Conduit) สาหรับ
การต่อระหว่างเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉินเข้ากับอุปกรณ์ต่างๆ ทุกชนิด
5.4.7 ให้ใช้สายไฟฟ้าแบบตีเกลียว (Strand) หรือตัวนาไฟฟ้าที่ยืดหยุ่นได้ในขนาดที่เหมาะสมกับโหลดที่จุด
ต่อ เพื่อลดความเสียหายจากการเคลื่อนไหวของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในขณะใช้งานปกติ
5.7.8 สายไฟฟ้าที่จ่ายให้อุปกรณ์ในระดับ 1 (Level 1) ตั้งแต่เครื่องกาเนิดไฟฟ้ามายังแผงจ่ายไฟฟ้ารวมทั้ง
สายวงจรย่อยไปยังโหลดจะต้องเป็นสายทนไฟ (Fire Resistance Cable) และเดินในทางเดินสายไฟ
(Race Way) ชนิดโลหะแยกจากวงจรอื่น

5.5 การป้องกันทางไฟฟ้า (Electrical Protection)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
73

5.5.1 การเดินสายระหว่างขั้วต่อทางไฟฟ้า (Terminal) เพื่อจ่ายโหลดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน


กับอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (Over Current Protective Devices) สาหรับส่วนจ่ายโหลดชุดแรก
ควรอยู่ในตาแหน่งที่เดินสายสั้นที่สุดเพื่อความมั่นคง เชื่อถือได้ของระบบและเพื่อความปลอดภัยใน
การใช้งาน
5.5.2 อุปกรณ์ตัดตอนหลัก (Main Circuit Breaker)
5.5.2.1 อุปกรณ์ตัดตอน (Circuit Breakers) สาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสามารถใช้ได้ทั้งประเภท
Molded Case หรือ Power Circuit Breaker
5.5.2.2 Molded Case Circuit Breaker จะติดตั้งที่ตัวเครื่องกาเนิดไฟฟ้า หรือติดตั้งในตู้ติดผนังแยก
ต่างหากก็ได้ ทั้งนี้จะมีขนาดอยู่ในช่วง 10 – 1,600 A
5.5.2.3 Power Circuit Breaker จะมีขนาดอยู่ในช่วง 800 – 6,300 A ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า และทางาน
ได้รวดเร็วกว่า Molded Case Circuit Breaker, จะติด Power Circuit Breaker ในตู้ชนิดแยก
ต่างหากจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเนื่องจากมีขนาดใหญ่หรือหากติดตั้งที่ตัวเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ก็ต้อง
มีอุปกรณ์ป้องกันแรงสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันความเสียหายเนื่องจากการสั่นสะเทือน
5.5.2.4 ในการจัดเตรียม main line breakers จะต้องระบุชนิดของอุปกรณ์ตัดตอน (Circuit Breakers),
ชนิดของชุดสั่งการ (Trip Unit) และประเภทการใช้งานของอุปกรณ์ว่าเป็นประเภท ใช้งาน
ต่อเนื่องหรือไม่ (Continuous or non – continuous)
5.5.3 การป้องกันการเกิดความผิดพร่ อง (Fault) และกระแสไฟฟ้าเกินการหาขนาด Circuit Breaker
ป้องกันสายเมน (MAN LINE ) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองให้เป็นไปดังนี้
5.5.3.1 กรณีที่ Circuit Breaker ถูกผลิตมาให้ใช้กับกระแสโหลดเต็มพิกัดต่อเนื่อง (Continuous Full
Load) ได้ตลอดเวลาก็สามารถใช้เท่ากับกระแสพิกัด (Rated Current) เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง
ได้หรือจะใช้ ขนาดกระแสที่ใหญ่ขึ้นถัดไปหรือสูงกว่าโดยให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ออกแบบ
5.5.3.2 กรณีที่ Circuit Breaker ถูกผลิตมาให้รับกระแสโหลดต่อเนื่องได้ 80% ขนาดกระแสของ Circuit
Breaker ต้องออกแบบ ให้มากกว่ากระแสพิกัด (Rated Current) 1.25 เท่า
5.5.3.3 กรณีที่มีโหลดต่าง ๆ ใช้งานร่วมกันมาก และเป็น Load ต่างชนิดกัน การหาขนาดของ Circuit
Breaker จะต้องเท่ากับหรือมากกว่าผลรวมของกระแสตามรายการดังนี้
5.5.3.3.1 1.25กระแสต่อเนื่องของโหลดที่ไม่ใช่มอเตอร์
5.5.3.3.2 กระแส Load ไม่ต่อเนื่องที่ไม่เป็นมอเตอร์  DF (Demand Factor)
5.5.3.3.3 1.25  กระแสเต็มพิกัดของมอเตอร์ตัวที่ใหญ่ที่สุด
5.5.3.3.4 ผลบวกของกระแสเต็มพิกัดของมอเตอร์ทุกตัว
5.5.3.3.5 ขนาดสายเมนไฟฟ้าของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้เป็นไปตามมาตรฐานของ วสท

5.5.4 การป้องกันการใช้งานเกินกาลังของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Over Load Protection) ขนาดแรงดันต่า


ตั้งแต่แรงดัน 600 โวลต์ลงมา ซึ่งใช้เป็นเครื่องฉุกเฉินหรือสารอง แม้ในแต่ละปีจะใช้งานไม่กี่ชั่วโมง ก็
ต้องจัดให้มี เครื่องป้องกันต่าง ๆ อย่างน้อยตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานของ วสท. ทั้งนี้ ในบางกรณีที่
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องจ่ายโหลดที่เป็นวิกฤตอย่างต่อเนื่อง การติดตั้งเครื่องป้องกันไฟฟ้าเพิ่มเติมให้
ถือเป็นดุลยพินิจของผู้ออกแบบ
5.5.5 การป้ องกันอาจจะแบ่งป้องกัน เป็ น Zone เช่น ป้องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ป้องกันสายป้อน
(Feeder) หรือป้ องกัน ความร้อ นที่เกิดขึ้นในขดลวดจากการไหลของกระแส ซึ่งตรวจสอบจาก

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
74

Damage Curve ของ Alternator การป้องกันกระแสเกินของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ารวมถึง การป้องกัน


การเกิดการลัดวงจรในทุก ๆ ส่วนใน Zone นั้น ๆ
5.5.6 อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (overcurrent protective devices) ที่ติดตั้งในระบบไฟฟ้าสารอง
ฉุกเฉินจะต้องทางานประสานกันโดยเลือกให้อุปกรณ์ทางาน ณ จุดที่เหมาะสมเมื่อเกิดเหตุกระแส
ลัดวงจรในระบบ
5.5.7 ขนาดของกระแสลัดวงจรสูงสุด (Maximum Interrupting Capacity, IC) ทั้งที่เกิดจากทางด้าน
จ่ า ยไฟหลั ก และด้ านจ่ า ยไฟฉุก เฉิ น จะต้ อ งได้ รั บการประเมิ น เพื่ อก าหนดขนาดของการท างาน
ประสานกันของอุปกรณ์
5.5.8 ขนาดพิกัดกระแสลัดวงจรของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (Overcurrent Protective Device
Rating) จะต้องเท่ากับ หรือมากกว่าขนาดกระแสลั ดวงจรสู งสุ ด (Maximum Interrupting
Capacity, IC) ที่อาจเกิดขึ้นที่จุดที่ตั้งอุปกรณ์นั้น.
5.5.9 การเข้าถึงอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินสาหรับวงจรไฟฟ้าสารองฉุกเฉินจะสามารถกระทาได้เฉพาะ
เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น .
5.6 ระบบสายดิน (Grounding System)
5.6.1 ระบบสายดินที่กล่าวถึงในหมวดนี้จะครอบคลุมถึงเฉพาะเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองชนิดแรงดันด้าน
ออกไม่เกิน 600 V และให้เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งระบบไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยของ วสท.
ฉบับล่าสุด
5.6.2 สายดินต้องถูกต่อเข้ากับส่วนที่เป็นโลหะที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน โดยขนาดของสายดินให้คิดตาม
พิกัดของเครื่ อ งป้ องกั น กระแสเกิน และต้ องเป็น ไปตามมาตรฐาน การติดตั้ งระบบไฟฟ้า ส าหรั บ
ประเทศไทย ของ วสท.ฉบับล่าสุด
5.6.3 ระบบสายดินสาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองจะแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ระบบสายดินสาหรับระบบ
ไฟฟ้า และระบบสายดินสาหรับอุปกรณ์ ทั้งนี้ สายดินทั้ง 2 จะต้องถูกเชื่อมถึงกัน
5.6.4การต่อสายดินสาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองเป็นดังนี้
5.6.4.1 ระบบ 3 เฟส 3 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติชนิด 3 ขั้ว การต่อระบบสายดินจะ
เป็นชนิด Solid Grounded หรือ Resistance Grounded หรือ Ungrounded ก็ได้

รูปที่ 5.5 ระบบ 3 เฟส 3 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติชนิด 3 ขั้ว

5.6.4.2 ระบบ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติชนิด 3 ขั้วที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าไม่มี


การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันความผิดพร่องลงดิน (Ground Fault Protection : GFP) แต่มีการ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
75

ติดตั้งที่เมนแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก การต่อระบบสายดินจะต่อที่เมนไฟฟ้าเข้าอาคารเพี ยงจุดเดียว


ทั้งนี้ ให้จัดเตรียมป้ายสัญลักษณ์บอกถึงตาแหน่งการต่อลงดินของสายศูนย์ (Neutral) ของเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าสารองด้วย

รูปที่ 5.6 ระบบ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติชนิด 3 ขั้ว การต่อ


ระบบสายดินจะต่อที่เมนไฟฟ้าเข้าอาคารเพียงจุดเดียว

5.6.4.3 ระบบ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติชนิด 4 ขั้วที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้ามี


การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันความผิดพร่องลงดิน (Ground Fault Protection, GFP) การต่อระบบ
สายดินจะต่อที่เมนไฟฟ้าเข้าอาคารที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง

รูปที่ 5.7 ระบบ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติชนิด 4 ขั้ว การต่อ


ระบบสายดินจะต่อที่เมนไฟฟ้าเข้าอาคารที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง

5.6.4.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจ่ายไฟโดยอิสระแยกต่างหาก ให้ทาการต่อลงดินที่สายนิวทรัลโดยต่อลงดินจุด


ใดก็ได้ระหว่างเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากับแผงเมนสวิทซ์

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
76

รูปที่ 5.8 การต่อลงดินของระบบจ่ายไฟแยกต่างหาก

5.6.4.5 ระบบ 1เฟส 2 สาย


- ระบบ 1 เฟส 2 สาย การต่อระบบสายดินจะต่อที่สายเมนไฟฟ้าเส้นใดเส้นหนึ่งตามรูปที่ 5.9

รูปที่ 5.9 การต่อสายดินของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าระบบ 1 เฟส 2 สาย

- ระบบ 1 เฟส 3 สาย 110 V การต่อสายดินจะต่อที่เส้น L0 (Center Tap) ตามรูปที่ 5.10 ก

รูปที่ 5.10 ก. การต่อสายดินของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าระบบ 1 เฟส 3 สาย 110 V/220 V

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
77

- ระบบ 1 เฟส 3 สาย 220 V การต่อสายดินจะต่อที่สายเมนไฟฟ้าเส้นใดเส้นหนึ่งตามรูปที่ 5.10ข

รูปที่ 5.10 ข. การต่อสายดินของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าระบบ 1 เฟส 3 สาย 220 V

5.7 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟ (Transfer Switch)


5.7.1 ทั่วไป
5.7.1.1 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟ (Transfer Switch ) มี 2 ประเภทคือ
5.7.1.1.1 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) เป็นอุปกรณ์ที่จะทา
การสับเปลี่ยนถ่ายโหลดจากแหล่งจ่ายไฟหนึ่งมาอีกแหล่งจ่ายไฟหนึ่งได้เองโดยอัตโนมัติใน
กรณีที่ใช้อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) ระหว่าง
แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ
(Automatic Transfer Switch) จะต่อด้านแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก ยกเว้นในกรณีที่ด้าน
แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักบกพร่อง จึงจะโอนถ่ายโหลดไปด้านเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน ถ้าในกรณี
ที่มีไฟทั้งสองด้าน อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch)
จะต้องเลือกต่อด้านแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักเสมอ
5.7.1.1.2 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟแบบไม่อัตโนมัติ (Non-Automatic Transfer Switch) เป็น
อุปกรณ์ที่ทาการสับเปลี่ยนถ่ายโหลดจากแหล่งจ่ายไฟหนึ่งมาอีกแหล่งจ่ ายไฟหนึ่งด้วยมือ
โดยตรงหรือชุดควบคุมทางไกลด้วยไฟฟ้า
5.7.1.2 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้
5.7.1.2.1 สามารถทนต่อกระแสพุ่งสูงชั่วขณะที่เกิดขึ้นในช่วงการสับถ่ายโหลดโดยหน้าสัมผัสไม่ละลาย
5.7.1.2.2 สามารถรับกระแสเต็มพิกัดของโหลดได้อย่ างต่อเนื่องโดยไม่เกิดการเสียหายเนื่องจากความ
ร้อนสูงเกินพิกัด
5.7.1.2.3 สามารถทนกระแสลัดวงจรที่เกิดขึ้นโดยหน้าสัมผัสไม่เสียหาย
5.7.1.2.4 มีความแม่นยาในการตัดและสั บเปลี่ยนโหลดเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดวาบไฟตามผิ วระหว่าง
แหล่งจ่ายไฟทั้ง 2 แหล่ง
5.7.1.3 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟสามารถรับกระแสต่อเนื่องได้ 100 % ของกระแสพิกัดอุปกรณ์
สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟนั้น ที่อุณภูมิแวดล้อมไม่เกิน 40 ºC ยกเว้นอุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟ
นั้นติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (Integral overcurrent protective devices) ซึ่งจะ
จากัดให้รองรับกระแสต่อเนื่องได้ไม่เกิน 80% ของกระแสพิกัดของอุปกรณ์ ไม่ว่าผู้ผลิตจะระบุ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
78

พิกัดอุปกรณ์ในข้อมูลทางเทคนิค (Specification Sheet) ว่าสามารถรองรับกระแสต่อเนื่องได้


100% ก็ตาม
5.7.1.4 ในกรณีที่ในระบบมีการติดตั้งอุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟมากกว่า 1 ชุดจะต้องติดตั้งอุปกรณ์
สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟในกล่องหรือมีผนังกั้นแยกจากกัน
5.7.1.5 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟจะต้องเป็นอุปกรณ์ที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้งานในกรณีฉุกเฉิน และต้อง
ประกอบเสร็จจากโรงงานผู้ผลิตรวมทั้งได้รับการทดสอบการทางานด้วยเครื่องมือทดสอบเป็นการ
เฉพาะทีโ่ รงงาน
5.7.1.6 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอาจเป็นชนิด 2 ขั้ว หรือ 3 ขั้ว (ไม่รวมนิวทรัล) หรือ 4 ขั้ว (รวม
นิวทรัล) ก็ได้ขึ้นอยู่กับลักษณะการติดตั้งระบบสายดินและความจาเป็นในการใช้งาน
5.7.1.7 ค่ากระแสลัดวงจรของ อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟต้องมีการระบุไว้อย่างชัดเจนว่าได้ผ่านการ
ทดสอบกั บ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น กระแสลั ด วงจรประเภทฟิ ว ส์ ห รื อ เซอร์ กิ ต เบรคเกอร์ ซึ่ ง ถ้ า การ
ออกแบบใช้เซอร์กิตเบรคเกอร์ อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟที่นามาใช้ก็ต้องมีค่าทนกระแสลัด
จงวรเมื่อทดสอบกับเซอร์กิตเบรคเกอร์เท่ากับหรือสูงกว่าค่าที่คานวณได้

5.7.2 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch)


5.7.2.1 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) จะต้องมีองค์ประกอบอย่าง
น้อยดังนี้
5.7.2.1.1 ทางานด้วยไฟฟ้าและมีด้ามจับเพื่อให้ทางานด้วยแรงกลได้
5.7.2.1.2 สับเปลี่ยนโหลดได้โดยอัตโนมัติทั้งไปและกลับ
5.7.2.1.3 สามารถเห็นการแจ้งเตือนด้วยตาเปล่ากรณีที่อุปกรณ์อยู่ในสภาวะการทางานแบบไม่อัตโนมัติ (Not-
in-automatic)
5.7.2.2 การตรวจสอบแหล่งจ่ายไฟ (Source Monitoring)
5.7.2.2.1 จะต้องเตรียมอุปกรณ์ตรวจจับแรงดันไฟตกที่สามารถปรับตั้งค่าได้เพื่อตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า
ในสายส่งจากแหล่งจ่ายไฟหลักทุกเส้นโดยมีการทางานดังนี้
5.7.2.2.1.1 กรณีแรงดันไฟฟ้าในเฟสใด ๆ ลดลงต่ากว่าแรงดันพิกัดที่จะสามารถป้อนให้อุปกรณ์ใน
ระบบทางานได้อย่างปลอดภัยซึ่งโดยปกติตั้งไว้ที่ 85% ของแรงดันอุปกรณ์สั บเปลี่ ยน
แหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ จะกระตุ้นให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองทางานอย่างอัตโนมัติ และ
เริ่มกระบวนการสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟไปยังแหล่งจ่ายไฟสารอง
5.7.2.2.1.2 กรณีแรงดันไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟหลักกลับมามีค่าตามพิกัดที่กาหนดในทุกเฟส ซึ่งโดย
ปกติ ตั้ ง ไว้ ที่ 90% ของแรงดั น อุ ป กรณ์ สั บ เปลี่ ย นแหล่ ง จ่ า ยไฟอั ต โนมั ติ จะเริ่ ม ต้ น
กระบวนการเปลี่ยนถ่ายแหล่งจ่ายไฟมายังแหล่งจ่ายไฟหลัก
5.7.2.2.2 จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับแรงดันและอุปกรณ์ตรวจจับความถี่ที่สามารถปรับตั้งค่าได้เพื่อ
เฝ้าระวังสายเมนของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง
5.7.2.2.3 การสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟไปยังเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองจะไม่สามารถทาได้จนกว่าแรงดัน
และความถี่ไฟฟ้าจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะอยู่ในระดับที่กาหนดไว้เพื่อป้องกันไม่ให้โหลดได้รับ
ความเสียหายถ้าการโอนถ่ายเกิดขึ้น
5.7.2.3 อุปกรณ์การโอนถ่ายโดยไม่มีการขาดหายของแหล่งจ่ายไฟ (Closed Transition Transfer
Switch)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
79

ในบางกรณีที่ผู้ ใช้ต้องการไฟฟ้าที่มีเสถียรภาพมากขึ้น การโอนถ่ายโดยไม่มีการขาดหายของ


แหล่งจ่ายไฟจึงเป็นทางเลือกหนึ่ง การทางานแบบนี้ได้ต้องใช้ อุปกรณ์การโอนถ่ายโดยไม่มีการ
ขาดหายของแหล่งจ่ายไฟที่สามารถทางานได้ทั้งแบบ Break before Make หรือ Make before
Break นั้น ต้องมีชุดควบคุมที่สามารถสั่งงานแบบ Break before Make เมื่อมีแหล่งจ่ายเพียง
ด้านเดียวและสั่งงานแบบ Make before Break เมื่อมีแหล่งจ่ายทั้งสองด้านและทั้งสอง
แหล่งจ่ายเชื่อมประสานกัน (Synchronized)
5.7.2.3.1 ในกรณีที่กระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟหลักขัดข้องอุปกรณ์การโอนถ่ายโดยไม่มีการขาดหาย
ของแหล่งจ่ายไฟ (Closed Transition Transfer Switch) จะโอนถ่ายแหล่งจ่ายไฟไปยัง
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินแบบ Break before Make (เปิดหน้าสัมผัสด้านแหล่งจ่ายไฟหลัก
ก่อน ปิดหน้าสัมผัสด้านเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน) เพราะว่ามีแหล่งจ่ายด้านเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าเพียงด้านเดียว
5.7.2.3.2 เมื่ อ ไฟด้ า นแหล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า หลั ก กลั บ มา อุ ป กรณ์ ก ารโอนถ่ า ยโดยไม่ มี ก ารขาดหายของ
แหล่งจ่ายไฟ (Closed Transition Transfer Switch) จะทาการโอนถ่ายแหล่งจ่ายไฟไปยัง
แหล่งจ่ายไฟหลักแบบ Make before Break (ปิดหน้าสัมผัสด้านแหล่งจ่ายไฟหลักก่อน เปิด
หน้ าสั มผั ส ด้านเครื่ องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน) เมื่อแหล่ งจ่ายทั้งสองแหล่ ง เชื่อมประสานกัน
(Synchronized) ทาให้ไม่เกิดไฟกระพริบที่ด้านโหลด
5.7.2.4 อุปกรณ์ป้องกันการทางานพร้อมกัน (Interlocking) เป็นชนิดทางานทางกลหรือชนิดอื่น ที่ได้รับ
การอนุ มั ติ ใ ห้ ใ ช้ ง านแทนกั น ได้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น การท างานพร้ อ มกั น ของแหล่ ง จ่ า ยไฟหลั ก กั บ
แหล่ ง จ่ า ยไฟส ารองหรื อ ระหว่ า งแหล่ ง จ่ า ยไฟอื่ น ที่ แ ยกกั น ทั้ ง นี้ ยกเว้ น ในกรณี ที่ อุ ป กรณ์
สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) เป็นอุปกรณ์การโอนถ่ายโดยไม่
มีการขาดหายของแหล่งจ่ายไฟ (Closed Transition Transfer Switch)
5.7.2.5 จะต้องจัดเตรียมคาแนะนาพร้อมอุปกรณ์เพื่อ ให้สามารถทางานด้วยมือ (Manual Operation)
ในกรณีอุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติไม่สามารถทางานได้ตามปกติ
5.7.2.6 ต้องจัดเตรีย มอุป กรณ์หน่ วงเวลาในการทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าส ารองเพื่อป้องกันการ
สตาร์ทของเครื่องโดยไม่จาเป็นในกรณีที่เกิดไฟกระพริบและการหายไปชั่วขณะ (D.P) ของ
แหล่งจ่ายไฟหลัก
5.7.2.7 จะต้องจัดเตรียมอุปกรณ์หน่วงเวลาสาหรับการสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟสาหรับอุปกรณ์ที่ติดตั้งใน
ระดับ 1 เพื่อป้องกันแรงดันไฟตกมากเกินกาหนด และจะเริ่มทางานเมื่อเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง
สามารถผลิตระดับแรงดันไฟฟ้าและความถี่ไฟฟ้าได้ค่าตามที่กาหนด
5.7.2.8 ค่าหน่วงเวลาสตาร์ทเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง (Engine Starting Time Delay) เป็นการหน่วง
เวลาก่อนสตาร์ทเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองหลังจากที่ไฟด้านแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักไม่ได้คุณภาพ
ตามที่ตั้งไว้ เพื่อลดการสตาร์ทเครื่องกาเนิดไฟฟ้าบ่อยเกินไป โดยสามารถปรับตั้งได้ทั้งที่ อุปกรณ์
สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) หรือที่ชุดควบคุมของเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าสารองโดยปกติกาหนดไว้ที่ 3 วินาทีหรือตามความต้องการของผู้ใช้งาน
5.7.2.9 ค่าหน่วงเวลาโอนถ่ายไปเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง (Normal to Emergency Time Delay) เป็น
การหน่วงเวลาก่อนที่ อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch)
จะโอนถ่ า ยไปเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ส ารอง โดยสามารถปรั บ ตั้ ง ได้ ทั้ ง ที่ อุ ป กรณ์ สั บ เปลี่ ย น
แหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) และเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองปกติ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
80

กาหนดไว้ไม่เกิน 1 นาทีหรือตามความต้องการของผู้ใช้งานซึ่งการเริ่มนับเวลานั้นจะเริ่มเมื่อ
แรงดันและความถี่ของไฟฟ้าด้านเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเท่ากับหรือสูงกว่าค่าที่ตั้งไว้
5.7.2.10 ค่าหน่วงเวลาโอนถ่ายกลับมาแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก (Emergency to Normal Time Delay) เป็น
การหน่วงเวลาก่อนที่ อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch)
จะโอนถ่ายไปแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักเพื่อให้มั่นใจว่าไฟด้านแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักได้คุณภาพจริง โดย
ที่อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) ต้องมีสวิทช์สาหรับ
ยกเลิกค่าหน่วงเวลา (Override) นี้ไว้ด้วย โดยปกติสามารถกาหนดได้ตั้งแต่ 0 – 30 นาที หรือ
มากกว่า ขึ้นอยู่กับการใช้งาน
5.7.2.11 ในขณะที่รอการนับเวลาในข้อ 5.7.2.10 อยู่นั้น กรณีที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าไม่สามารถสร้างแรงดัน
และความถี่ ได้ตามที่ต้องการ การนับเวลาจะถูกยกเลิ กและ อุปกรณ์สั บเปลี่ ยนแหล่ งจ่ายไฟ
อัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) ต้องทาการโอนถ่ายไปด้านแหล่งจ่ายไฟหลัก เมื่อ
แรงดันและความถี่ของไฟฟ้าด้านแหล่งจ่ายไฟหลักอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
5.7.2.12 ค่าหน่วงเวลา เพื่อทาการระบายความร้อน (Engine Cool Down Time Delay) เป็นค่าหน่วง
เวลาเพื่อให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าทาการระบายความร้อนเป็นเวลาอย่างน้อย 5 นาที โดยที่สามารถ
ปรับตั้งได้ทั้งที่ อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) หรือที่
ชุดควบคุมของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
5.7.2.13 การเดินเครื่องเพื่อตรวจสอบความพร้อมของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Exercised) เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
จะต้องทาการเดินเครื่องเพื่อตรวจสอบความพร้อมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ๆ ละอย่างน้อย 30
นาที โดยมีวิธีการเดินเครื่องดังนี้ :-
5.7.2.13.1 เดิ น เครื่ อ งจ่ า ยโหลดโดยรั ก ษาอุ ณ หภู มิ ต่ าสุ ด ของก๊ า ซไอเสี ย ไว้ ต ามข้ อ ก าหนดของ
บริษัทผู้ผลิต
5.7.2.13.2 จ่ายโหลด 30 เปอร์เซ็นต์ของขนาดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Name Plate KW) ภายใต้สภาวะ
อุณหภูมิใช้งาน (Under Operating Temperature Condition) โปรแกรมสาหรับการ
เดินเครื่องเพื่อตรวจสอบความพร้อม (Exercise) เครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องถูกติดตั้งไว้ที่ อุปกรณ์
สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) หรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

5.7.2.14 สวิทช์หรือปุ่มกดสาหรับทดสอบ (Test Switch)


สวิทช์หรือปุ่มกดสาหรับทดสอบ อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer
Switch) ต้องถูกติดตั้งไว้ที่ อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer
Switch) ทุกตัวเพื่อจาลองการทางานขณะที่เกิดไฟฟ้าดับและโอนถ่ายแหล่งจ่ายไฟไปยังเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า
5.7.2.15 อุปกรณ์บอกตาแหน่งของ อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่ งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer
Switch) ต้องมีหลอดไฟแสดงตาแหน่งพร้อมป้ายบอกตาแหน่ง หรืออุปกรณ์บอกตาแหน่งแบบอื่น
ที่ได้รับการอนุมัติเพื่อแสดงว่า อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer
Switch) ในขณะนั้นต่ออยู่ด้านแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักหรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและติดตั้งอยู่ในจุดที่
สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
5.7.2.16 การโอนถ่ายโหลดที่เป็นมอเตอร์

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
81

ในการโอนถ่ายโหลดที่เป็นมอเตอร์ บางครั้งจะเกิดกระแสกระชาก (Inrush Current) เนื่องจาก


ความต่างเฟสกัน อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) ต้อง
มีคุณสมบัติในการลดกระแสกระชากขณะโอนถ่ายโหลดมอเตอร์เพื่อลดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับ
โหลดมอเตอร์และการทริปของอุปกรณ์ป้องกันโดยไม่จาเป็น
5.7.2.17 หน้าสัมผัสสายศูนย์ (Neutral Contact)
ในกรณีที่มีการแยกระบบสายดินระหว่างสองแหล่งจ่ายคือแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักและเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าเพื่อให้การทางานของชุดป้องกันความผิดพร่องลงดิน (Ground fault) ถูกต้อง ต้องมีขั้ว
หน้าสัมผัสสายศูนย์ติดตั้งที่ อุปกรณ์สับเปลี่ย นแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer
Switch) เพื่อแยกสายศูนย์ของแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าออกจากกัน เพื่อลด
กระแสไหลวนเมื่อเกิดความผิดพร่องลงดิน (Ground fault) ที่มีผลทาให้การตรวจเช็คของชุด
ป้องกันความผิดพร่องลงดิน (Ground fault) ผิดพลาด

5.7.3 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบไม่อัตโนมัติ (Non-Automatic Transfer Switch) เป็น


อุป กรณ์สั บ เปลี่ ย นแหล่ งจ่ ายไฟด้ ว ยมือโดยตรงหรือด้ว ยไฟฟ้าโดยการควบคุมระยะไกลด้ว ยมื อ
(Remote Manual Control) ทั้งนี้ จะต้องมีอุปกรณ์อย่างน้อยดังนี้
5.7.3.1 อุปกรณ์ป้องกันการต่อถึงกัน (Interlocking) เป็นชนิดทางานทางกลหรือชนิดอื่นที่ได้รับการ
อนุมัติให้ใช้งานแทนกันได้เพื่อป้องกันการต่อถึงกันของแหล่งจ่ายไฟหลักกับแหล่งจ่ายไฟสารอง
หรือระหว่างแหล่งจ่ายไฟอื่นที่แยกกัน
5.7.3.2 อุปกรณ์บอกตาแหน่งของ อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟแบบไม่อัตโนมัติ (Non-Automatic
Transfer Switch) ต้องมีหลอดไฟแสดงตาแหน่งพร้อมป้ายบอกตาแหน่ง หรืออุปกรณ์บอก
ตาแหน่งแบบอื่นที่ได้รับการอนุมัติ เพื่อแสดงว่า อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟแบบไม่อัตโนมัติ
(Non-Automatic Transfer Switch) ในขณะนั้นต่ออยู่ด้านแหล่งจ่ายไฟฟ้า หลักหรือเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าและติดตั้งอยู่ในจุดที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนทั้งนี้ การสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟ้า
ของอุปกรณ์ข้างต้น จะต้องทาการสับเปลี่ยนในขณะไม่มีโหลด

5.7.4 สวิทช์ต่อตรง (Bypass-Isolation Switch)


5.7.4.1 สวิทช์ต่อตรงมีไว้สาหรับต่อตรงกระแสที่จ่ายไปยังโหลดให้ผ่านชุด สวิทช์ต่อตรงแทนที่จะผ่านตัว
อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) แล้วทาให้สามารถ
ถอดหรือแยกชุด อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch)
ออกมาได้โดยที่ไม่ต้องดับไฟที่จ่ายไปยังโหลดทั้งนี้ สวิทช์ต่อตรงดังกล่าวจะต้องมีกลไกสับเปลี่ยน
ไม่มากกว่า 2 ชุดเพื่อป้องกันความผิดพลาดในการทางาน
5.7.4.2 ต้ อ งมี ข นาดกระแสพิ กั ด และแรงดั น พิ กั ด เท่ า กั บ อุ ป กรณ์ สั บ เปลี่ ย นแหล่ ง จ่ า ยไฟอั ต โนมั ติ
(Automatic Transfer Switch) ที่ต่ออยู่ และต้องผลิต ประกอบและทดสอบสมบูรณ์เรียบร้อย
มาจากโรงงานผู้ผลิต
5.7.4.3 การต่อตรงสู่โหลดต้องสามารถต่อตรงไปด้านแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก (Bypass to Normal) หรือ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Bypass to Emergency) อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างก็ได้
5.7.4.4 ต้องเตรียมสวิทช์ต่อตรงไว้สาหรับการต่อตรงสู่โหลดไปยังด้านแหล่งจ่ายไฟหลัก (Bypass to
Normal) และเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Bypass to Emergency) สาหรับโหลดระดับ 1 (Level 1)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
82

5.8 การขนานแหล่งจ่ายไฟเข้าระบบ (Synchronization)


การทาการขนานแหล่งจ่ายไฟเข้าระบบต้องเป็นแบบอัตโนมัติโดยจะต้องใช้ Synchronizing Relay และ
Main protective Device ต้อง เป็น เซอร์กิตเบรคเกอร์แบบที่ใช้มอเตอร์ขับ (Motor Operated) เมื่อ
Synchronizing Relay ตรวจสอบได้ว่า แหล่งจ่ายไฟมีเฟสที่ทิศทางตรงกันและทาบกันได้พอดี (In
Phase) แล้วอุปกรณ์จะสั่งให้ สับ เซอร์กิตเบรกเกอร์โดยอัติโนมัติเมื่อค่าต่าง ๆ ได้ถูกปรับเปลี่ยนให้เป็น
ค่าเดียวกัน ดังนี้
 แรงดันเท่ากัน
 ความถี่เท่ากัน
 การหมุนของเฟสไปทางเดียวกัน
 เครือ่ งต้องมีเฟสที่ทิศทางตรงกันและทาบกันได้พอดี (In Phase) เมื่อจะทาการสับเซอร์กิตเบรคเกอร์
 อุปกรณ์ควบคุมแรงดัน (Voltage Regulator) มีคุณสมบัติคล้ายกัน
 อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบ (Governor) ของเครื่องยนต์มีคุณสมบัติคล้ายกัน

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
83

บทที่ 6 การทดสอบเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า
การทดสอบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องทาการทดสอบภายหลังการติดตั้งแล้วเสร็จสมบูรณ์ ณ.สถานที่
ติดตั้งเพื่อให้ทราบสมรรถนะ (Performance) ที่แท้จริงในการใช้งาน การทดสอบเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีหลาย
ขั้นตอนดังต่อไปนี้.-
6.1 การทดสอบเพื่อส่งมอบงาน (On site acceptance test)
- หลังจากทาการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองพร้อมอุปกรณ์ประกอบต่างๆ สมบูรณ์และสามารถใช้
งานได้ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องถูกทาการทดสอบเพื่อให้มั่นใจว่ า สามารถทางานได้ตามมาตรฐานทั้ง
ทางด้านความสามารถในการจ่ายกระแสไฟฟ้า (Power output) และฟังค์ชั่นการทางาน ซึ่งการ
ทดสอบจะต้องทาในขั้นตอนสุดท้ายของการส่งมอบงาน มีรายละเอียดและขั้นตอนดังนี้ :-
6.1.1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า พร้อมอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ สมบูรณ์และสามารถใช้ งานได้และโหลดฉุกเฉิน
(The Emergency Load) อยู่ที่ระดับมาตรฐาน (Standard Operating Level) การเริ่มต้นทดสอบ
ให้เริ่มทาโดยสับ (Close) สวิทซ์หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ทุกตัว ซึ่งจ่ายกระแสไฟฟ้า ให้กับอาคารหรือ
โหลดต่างๆ
6.1.2 บันทึกช่วงเวลาที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้รับคาสั่งสตาร์ท (Time Delay On Start)
6.1.3 บันทึกช่วงเวลาตั้งแต่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าเริ่มสตาร์ทจนสตาร์ทติด (The Cranking Time Until The
Prime Mover Starts and Runs)
6.1.4 บันทึกช่วงเวลาตั้งแต่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสตาร์ทติดจนถึงความเร็วรอบใช้งาน (The Time Taken to
Reach Operating Speed)
6.1.5 บันทึกช่วงเวลาที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าใช้ในการเข้าสู่สภาวะคงที่และสวิทซ์สับถ่ายจากตาแหน่งรับ
กระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก (Normal Source) ไปรับกระแสไฟฟ้าจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
(Emergency Source)
6.1.7 บันทึกอัตราการประจุแบตเตอรี่ (The Battery Charge Rate) หรือแรงดันแบตเตอรี่ ระยะแรกทุกๆ
5 นาทีของช่วงเวลา 15 นาที และต่อไปทุกๆ 15 นาที
6.1.8 การทดสอบ Load Test ให้ทาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง รวมทั้งต้องบันทึกค่าต่าง ๆ
เช่นขนาดของโหลด,ค่าแรงดันไฟฟ้า (Voltage), ความถี่ (Frequency), กระแสไฟฟ้า (Current) ค่า
แรงดันน้ามันหล่อลื่น (Oil Pressure) อุณหภูมิน้าระบายความร้อน (Water Temperature) อัตรา
การสิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิง เป็นต้น ไว้ด้วยโดยการทดสอบจะต้องทาเป็นขั้นตอนดังนี้ :-
6.1.8.1 จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 30 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw) เป็นเวลา 30 นาที
6.1.8.2 จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 50 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw) เป็นเวลา 30 นาที
6.1.8.3 จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 100% ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw) เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 60 นาที
โหลดต่าง ๆ ของอาคารอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของโหลด หรือเป็นโหลดทั้งหมดที่ใช้ทดสอบก็ได้ ใน
กรณีที่โหลดต่าง ๆ ของอาคารไม่เพียงพอ จะต้องหาโหลดเทียม (Load Bank) มาเสริม เพื่อให้
โหลดครบ 100% ของ พิกัดกาลัง (Name plate Kw) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองหักด้วย
กาลังที่ลดลง (Derating Factor) เนื่องจากสภาวะของสถานที่ติดตั้ง (Site Conditions)
6.1.9 เมื่อกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ ายไฟฟ้าหลัก กลั บมาตามปกติให้ บันทึกช่ว งเวลาที่สวิทซ์สั บ เปลี่ยน
แหล่งจ่ายไฟฟ้า จากตาแหน่ งรั บ กระแสไฟฟ้าจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามาเป็นรับกระแสไฟฟ้าจาก
แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักสวิทซ์แต่ละตัวจะตั้งเวลาไว้ต่าที่สุด 5 นาที

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
84

6.1.10 บันทึกช่วงเวลาที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองระบายความร้อน (Cool down) และดับเองโดยอัตโนมัติ


(Shutdown)
6.1.11 หลั งจากทาการทดสอบประสิ ทธิภาพเครื่ องกาเนิดไฟฟ้าตามหัว ข้อ 6.1 แล้ ว เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
จะต้องถูกเดินโดยไม่จ่ายกระแสไฟฟ้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 นาที เพื่อระบายความร้อนแล้วจึงดับ
เองโดยอัตโนมัติ
6.1.12 ถ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองติดตั้งแบบขนาน (Paralleled) หลาย ๆ ชุด เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง
แต่ละชุดจะต้องทดสอบสมรรถนะแยกแต่ละชุดตามขนาดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองชุดนั้น ๆ
6.1.13 การทดสอบแบบจ่ายโหลดครั้งเดียว (Single Step Load Test) ให้เริ่มทันทีหลังจากเดินเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าสารองเพื่อระบายความร้อนตามข้อ 6.1.11 โดยการสตาร์ทเครื่องกาเนิดไฟฟ้า และเมื่อ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีความเร็ว รอบและแรงดันไฟฟ้าถึงค่าใช้งานให้จ่ายโหลด 60% ของพิกัดกาลัง
(Name plate Kw) ให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Single Step Load) ทันที แล้วบันทึกค่า แรงดันไฟฟ้า
และความถี่กระเพื่อม (Voltage and Frequency Dip) และ เวลาเข้าสู่สภาวะใช้งาน (Recovery
Time)
6.1.14 ข้อมูลซึ่งกาหนดในหัวข้อ 6.1.8 จะต้องถูกบันทึกครั้งแรก และทุก ๆ 15 นาที หลังจากนั้นจนครบ
กาหนด 2 ชั่วโมง
6.1.15 ระบบป้องกันต่าง ๆ จะต้องถูกทดสอบตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต

6.2 การทดสอบประจาสัปดาห์
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ จะต้องมีการตรวจสอบทุกสัปดาห์และต้องทาการกระตุ้น
(Exercise) โดยไม่จ่ายโหลดเป็นเวลา 30 นาที และจะต้องมีการจดบันทึกการตรวจเช็คค่าต่า ง ๆ และ
การ กระตุ้น (Excercise) ด้วย
6.3 การทดสอบประจาเดือน
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องทาการทดสอบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ๆ ละ 30 นาที โดยการทดสอบ
จะต้องเลือกวิธีทดสอบข้อหนึ่งข้อใดดังนี้ :-
6.3.1 การทดสอบอย่างน้อยจะต้องให้อุณหภูมิของก๊าซไอเสียมีอุณหภูมิสูงถึงค่ าต่าสุดตามคาแนะนาของ
บริษัทผู้ผลิตหรือ
6.3.2 จะต้องจ่ายโหลดอย่างน้อย 30% ของพิกัดกาลัง(Name plate Kw Rating)

6.4 การทดสอบประจาปี
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องทาการทดสอบประจาปีโดยการจ่ายโหลดดังนี้.-
6.4.1 จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 50 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 30 นาที
6.4.2 จ่ายโหลด 75% ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 60 นาที
รวมระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบทั้งสิ้น 1.5 ชั่วโมงต่อเนื่อง (1.5 Continuous hours)
- การทดสอบประจาสัปดาห์, ประจาเดือน และประจาปีให้บันทึกค่าแรงดันน้ามันหล่อลื่น, อุ ณหภูมิ
น้ าระบายความร้ อ น, แรงเคลื่ อ นไฟฟ้า , กระแสไฟฟ้ า, กาลั งไฟฟ้ า, ความถี่ , อัตราการประจุ
แบตเตอรี่ หรือแรงดันแบตเตอรี่ ระยะแรกทุก ๆ 5 นาทีของช่วงเวลา 15 นาที และต่อไปทุก ๆ 15
นาที

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
85

6.5 ทุก ๆ 3 ปี หรือ 36 เดือน เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ที่จ่ายให้โหลดระดับ 1 จะต้องทาการทดสอบโดยการจ่าย


โหลดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 1 ครั้งเป็นเวลา 4 ชั่วโมง โดยการจ่ายโหลดดังนี้.-
6.5.1 จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 30 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 30 นาที
6.5.2 จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 50 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 30 นาที
6.5.3 จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 75 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 60 นาที
6.5.4 จ่ายโหลด 100 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 120 นาที
ในการจ่ายโหลด 100 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw) โหลดต่าง ๆ ของอาคารอาจจะเป็นส่วน
หนึ่งของโหลดหรือเป็นโหลดทั้งหมด ที่ใช้ทดสอบก็ได้ ในกรณีที่โหลดต่าง ๆ ของอาคารไม่เพียงพอ
จะต้องหาโหลดเทียม (Load bank) มาเพิ่มเพื่อให้โหลดครบ 100 % ของพิกัดกาลัง (Name plate
Kw) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหักด้วยกาลังที่ลดลง (Derating factor) เนื่องจากสภาวะของสถานที่
ติดตั้ง (Site condition)
 โหลดเทียม (Load bank) โดยทั่วไปจะเป็นชนิด Resistive AC load bank ซึ่งถูกออกแบบให้
สามารถผลิตโหลดซึ่งมีค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ เท่ากับ 1.0 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าส่วนใหญ่ถูกออกแบบ
ให้เพาเวอร์แฟคเตอร์มีค่าเท่ากับ 0.8 และเครื่องต้นกาลังขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Prime mover)
ก็ไม่สามารถจ่าย Full KVA ที่เพาเวอร์แฟคเตอร์มีค่าเท่ากับ 1.0 ได้

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
86

บทที่ 7 มาตรฐานการซ่อมบารุงรักษาเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า

7.1 เครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าจะมีสภาพสมบูร ณ์พร้อมใช้งานได้ทันทีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับการวางแผนให้มีการ


ซ่อมบารุงรักษาและทดสอบการใช้งานเครื่องกาเนิดไฟฟ้าอย่างถูกต้องตามมาตรฐานและคาแนะนาของ
บริษัทผู้ผลิตอย่างสม่าเสมอ
7.2 การวางแผนและปฏิบัติการบารุงรักษาเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องเริ่มทาทันทีหลังจากรับมอบเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าไว้ใช้งานและต้องทาอย่างสม่าเสมอ
7.3 การกาหนดตารางการบารุงรักษา (Schedule) และการทดสอบจะต้องถูกกาหนดไว้และทาการปฏิบัติ
ตามอย่างสม่าเสมอ
7.4 ต้องบันทึกประวัติการตรวจสอบ (Inspections), ทดสอบ (Test), การเดินเครื่อง (Exercising), การใช้
งาน, การซ่อมแซมและการซ่อมบารุงเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองไว้เป็ นหลักฐานภายในประวัติจะต้อง
ประกอบด้วย
(1) วันที่ เดือน ปี ทีทาการบันทึก
(2) รายชื่อผู้ปฏิบัติงาน
(3) รายละเอียดการซ่อมหรือทดสอบ เช่น อาการผิดปกติที่พบ, การแก้ไข, การเปลี่ยนอะไหล่ เป็นต้น
(4) การทดสอบต่างๆ หลังจากซ่อมแซม หรือตามเวลาที่บริษัทผู้ผลิตแนะนา
7.5 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติจะต้องทาการซ่อมบารุงรักษาตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต
รวมทั้งต้อง
(1) ตรวจเช็คข้อต่อสายไฟฟ้าต่าง ๆ (Checking of Connections)
(2) ตรวจเช็ ค หรื อ ทดสอบการเกิ ด ความร้ อ นสู ง เกิ น เกณฑ์ (Overheating) และการสึ ก กร่ อ นของ
หน้าสัมผัส (Contact Erosion)
(3) ทาความสะอาดดูดฝุ่นและสิ่งสกปรก
(4) เปลี่ยนหน้าสัมผัส เมื่อเกิดการสึกกร่อนหรือตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต
7.6 การตรวจสอบแบตเตอรี่แบบ Lead-Acid และระบบประจุแบตเตอรี่อัตโนมัติ
- ตรวจเช็คระดับน้ากลั่น (Electrolyte Level) ทุกสัปดาห์
- จะต้องบันทึกค่าความถ่วงจาเพาะของ Electrolyte ทุกเดือน
- ต้องทาการตรวจเช็คระบบประจุแบตเตอรี่อัตโนมัติ (Automatic Battery Charger) ทุกสัปดาห์
- ปฏิบัติตามมาตรฐานและคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิตอย่างสม่าเสมอ
7.7 คู่มือการใช้งาน (Operation Manual) เครื่องมือพิเศษหรือเฉพาะ (Special Tools) สาหรับการซ่อม
บารุงรักษา, อุปกรณ์การทดสอบ (Testing Devices) อะไหล่ประจาเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและอะไหล่
สิ้นเปลือง จะต้องเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า โดยเก็บไว้ในกล่องหรือตู้โลหะ
อย่างดีในตาแหน่งที่สามารถใช้งานได้สะดวก
7.8 วิธีการซ่อมบารุงรักษาและความถี่ในการซ่อมบารุงรักษาจะต้องปฏิบัติตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต
สาหรับตารางข้างล่างนี้ เป็นคาแนะนาวิธีการซ่อมบารุง รักษาและความถี่ในการซ่อมบารุง เพื่อใช้เป็น
แนวทางในการซ่อมบารุงรักษาคร่าว ๆ กรณีไม่มีคู่มือหรือคาแนะนาจากบริษัทผู้ผลิต

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
87

ตารางที่ 7.1 คาแนะนาวิธีการซ่อมบารุงรักษาและความถี่ในการซ่อมบารุง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ


ซ่อมบารุงรักษาคร่าว ๆ กรณีไม่มีคู่มือหรือคาแนะนาจากบริษัทผู้ผลิต
วิธีการซ่อมบารุง ความถี่ในการซ่อม
X = ปฏิบัติ (Action) บารุงรักษา
R = เปลี่ยนถ้าจาเป็น (Replace, if needed) W = ทุกสัปดาห์
ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ ตรวจเช็ค ตรวจเช็ค เปลี่ยน ทาความ ทดสอบ M= ทุกเดือน
ด้วยสายตา สะอาด Q = ทุก 3 เดือน
S = ทุก 6 เดือน
A = ทุกปี
ตัวเลขแสดง
ชั่วโมง
1. ระบบน้ามันเชื้อเพลิง (Fuel System)
(ก) ระดับน้ามันในถังน้ามันสารอง X M
(Fuel Storage Tank)
(ข) ระดับน้ามันในถังน้ามันประจา X X M
เครื่อง (Fuel Day Tank)
(ค) ลูกลอยของถังน้ามันประจาเครื่อง X X Q
(Fuel Float Tank)
(ง) การทางานของระบบส่ง หรือ X X Q
เครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิง
(จ) การทางานของโซลีนอยด์วาล์ว X X Q
(ฉ) ไส้กรองหยาบ (Strainer), X Q
ไส้กรองละเอียด (Filter)
(ช) น้าในระบบน้ามันเชื้อเพลิง X X Q
(ซ) ท่ออ่อนและข้อต่อ (Flexible X R M
hose and connectors) ต่างๆ
(ฌ) การอุดตันของท่อหายใจ(Vent ) X X A
และท่อน้ามันล้น (Overflow
piping)
(ญ) ระบบท่อทางน้ามันและวาล์ว X A
2. ระบบน้ามันหล่อลื่น (Lubrication System)
(ก) ระดับน้ามันหล่อลื่น X X W
(ข) น้ามันหล่อลื่น R 250 หรือ A
(ค) ไส้กรองน้ามันหล่อลื่น R 250 หรือ A
(ง) ท่อหายใจ(Crankcase Breather) X R X S
3. ระบบระบายความร้อน (Cooling System)
(ก) ระดับของเหลวระบายความร้อน X X W

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
88

วิธีการซ่อมบารุง ความถี่ในการซ่อม
X = ปฏิบัติ (Action) บารุงรักษา
R = เปลี่ยนถ้าจาเป็น (Replace, if needed) W = ทุกสัปดาห์
ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ ตรวจเช็ค ตรวจเช็ค เปลี่ยน ทาความ ทดสอบ M= ทุกเดือน
ด้วยสายตา สะอาด Q = ทุก 3 เดือน
S = ทุก 6 เดือน
A = ทุกปี
ตัวเลขแสดง
ชั่วโมง
(ข) ระดับของเหลวใน Heat X W
Xchanger
(ค) ปริมาณอากาศไหลผ่านรังผึ้ง X M
ระบายความร้อน (Radiator)
พอเพียงหรือไม่
(ง) ทาความสะอาดภายนอกของรังผึ้ง X A
ระบายความร้อน
(จ) สายพานพัดลมระบายความร้อน X X Q
และสายพานไดชาร์จ
(ฉ) เครื่องสูบน้า (Water pump) X Q
(ช) สภาพของท่อน้าบน ล่าง พร้อมข้อต่อ X X M
ต่างๆ (Condition of flexible
hoses and connection)
(ซ) ท่อลม, บานเกร็ด และกราวิตี้ชัท X X X A
เตอร์
4. ระบบท่อไอเสีย (Exhaust system)

(ก) การรั่วไหลของก๊าซไอเสีย X X M
(ข) ระบายน้าภายในระบบท่อไอเสีย X M
(Drain condensate trap)
(ค) ฉนวนหุ้มท่อไอเสีย และ X X Q
AluminumJacket
(ง) Excessive backpressure X A
(จ) ระบบยึดระบบท่อไอเสีย (Exhaust X A
system hangers and
supports)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
89

วิธีการซ่อมบารุง ความถี่ในการซ่อม
X = ปฏิบัติ (Action) บารุงรักษา
R = เปลี่ยนถ้าจาเป็น (Replace, if needed) W = ทุกสัปดาห์
ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ ตรวจเช็ค ตรวจเช็ค เปลี่ยน ทาความ ทดสอบ M= ทุกเดือน
ด้วยสายตา สะอาด Q = ทุก 3 เดือน
S = ทุก 6 เดือน
A = ทุกปี
ตัวเลขแสดง
ชั่วโมง
(ฉ) ท่ออ่อนท่อไอเสีย (Flexible X S
exhaust pipe)
5. ระบบแบตเตอรี่ (Battery system)

(ก) ระดับ Electrolyte X W


(ข) ทาความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ และ X X X Q
ขันให้แน่น
(ค) วัดความถ่วงจาเพาะของ X M
Electrolyte ของแบตเตอรี่
(ง) การประจุแบตเตอรี่และอัตราการ X M
ประจุแบตเตอรี่
6. ระบบไฟฟ้า (Electrical system)

(ก) สภาพทั่วไป X M
(ข) ขันขั้วต่อสายคอนโทรล X A
(ControlConnections) และ
สายไฟฟ้า(Power wiring
connection)
(ค) รอยถลอกหรือถูกครูดของ X X S
สายไฟฟ้า
(ง) อุปกรณ์ป้องกันและส่งสัญญาณ X X S
เตือน
(จ) ตู้ควบคุมไฟฟ้าต่างๆ X S
(ฉ) เซอร์กิตเบรกเกอร์และฟิวส์ X X R X X A

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
90

วิธีการซ่อมบารุง ความถี่ในการซ่อม
X = ปฏิบัติ (Action) บารุงรักษา
R = เปลี่ยนถ้าจาเป็น (Replace, if needed) W = ทุกสัปดาห์
ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ ตรวจเช็ค ตรวจเช็ค เปลี่ยน ทาความ ทดสอบ M= ทุกเดือน
ด้วยสายตา สะอาด Q = ทุก 3 เดือน
S = ทุก 6 เดือน
A = ทุกปี
ตัวเลขแสดง
ชั่วโมง
(ช) Main contacts ของชุด X X A
ออโตเมติกทรานสเฟอร์สวิทซ์
(ซ) คาลิเบท ค่า Voltage sensing X X A
ของอุปกรณ์รีเลย์ต่างๆ
(ฌ) การฉีกขาดของฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า X 3 ปี หรือ ทุก 750
7. เครื่องต้นกาลัง (Prime mover) ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

(ก) สภาพทั่วไป X M
(ข) ไส้กรองอากาศ R X S
(ค) Governor และอุปกรณ์ประกอบ X X M
(ง) ปั๊มน้ามันเชื้อเพลิงและหัวฉีด X A
(จ) ทดสอบโดยไม่จ่ายโหลดเป็นเวลา X W
30 นาที
(ฉ) ทดสอบโดยจ่ายโหลดอย่างน้อย X M
30% ของ Nameplate Kw เป็น
เวลา 30 นาที
(ช) ทดสอบจ่ายโหลด X A
- อย่างน้อย 50% ของ
Nameplate Kw เป็นเวลา 30
นาที
- อย่างน้อย 75% ของ
Nameplate Kw เป็นเวลา 60
นาที
(ซ) ทดสอบจ่ายโหลดวิกฤติระดับ 1 X 3 ปี หรือ 36 เดือน
- อย่างน้อย 30% ของ Name
plate KW เป็นเวลา 30 นาที

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
91

วิธีการซ่อมบารุง ความถี่ในการซ่อม
X = ปฏิบัติ (Action) บารุงรักษา
R = เปลี่ยนถ้าจาเป็น (Replace, if needed) W = ทุกสัปดาห์
ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ ตรวจเช็ค ตรวจเช็ค เปลี่ยน ทาความ ทดสอบ M= ทุกเดือน
ด้วยสายตา สะอาด Q = ทุก 3 เดือน
S = ทุก 6 เดือน
A = ทุกปี
ตัวเลขแสดง
ชั่วโมง
- อย่างน้อย 50% ของ Name
plate KW เป็นเวลา 30 นาที
- 100% ของ Name plate KW
เป็นเวลา 60 นาที

(ฌ) ตั้งวาล์ว (Valve clearance) ใหม่ X 750 หรือ 3 ปี


(ญ) ขันฝาสูบ (Torque bolts) ใหม่ 750 ชั่วโมงหรือ 3
ปี
8. เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator)

(ก) โรเตอร์และสเตเตอร์ X X A
(ข) แบริ่ง (Bearings) X R A
(ค) Exciter X X X A
(ง) โวลเตทเรกกูเรเตอร์ X X X A
(จ) ทดสอบความต้านทานของฉนวน X A
ขดลวดด้วย Insulation
tester(Megger)
ตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
92

ภาคผนวก ก.
การใช้งาน กาลังและคุณสมบัติของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

มาตรฐานเล่มนี้ครอบคลุมถึงเครื่องยนต์ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดเครื่องยนต์ดีเซล, เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
กระแสสลับ (Alternating current (a.c.) generator) แผงควบคุมอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ และอุปกรณ์
มาตรฐาน ซึ่งใช้งานภายในอาคารหรือภายนอกอาคารต่าง ๆ แต่ไม่รวมถึงเครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดใช้ในเรือ
(Marine use), ใช้งานบนอากาศยาน (aircraft) ใช้งานบนรถยนต์ รถโดยสาร (Land vehicles) หรือใช้ขับหัว
รถจักร (Locomotives)

ก.1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าประกอบด้วยเครื่องต้นกาลัง (Prime movers) ชนิดเครื่องยนต์ดีเซล ซึ่งให้กาลังทาง


กลสาหรับขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อเปลี่ยนกาลังทางกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเครื่องยนต์และเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับจะต่อเข้าด้วยกันโดยตรงโดยใช้ Flexible coupling หรือ Flexible drive disc
โดยเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้ :-
ก.1.1 เครื่องต้นกาลัง (Prime movers) ชนิดเครื่องยนต์ดีเซล (Compression ignition engines) ซึ่ง
การเลือกเครื่องยนต์ต้นกาลังจะต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติต่างๆ ดังนี้ :-
- คุณภาพของน้ามันเชื้อเพลิงและอัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง
- ก๊าซไอเสียและระดับเสียง
- ความเร็วรอบ
- ขนาดและน้าหนัก
- ความสามารถในการรับโหลดทางไฟฟ้าทันทีและคุณลักษณะของความถี่
- คุณลั กษณะการรั บ การลั ดวงจรของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator short – circuit
characteristics)
- ระบบระบายความร้อน (Cooling systems)
- ระบบสตาร์ทของเครื่องยนต์ต้นกาลัง
- การบารุงรักษา (Maintenance requirements)
- การนาความร้อนที่เหลือมาใช้ให้เป็นประโยชน์ (Waste heat utilization)
ก.1.2 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (AC generator) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ แบบ Synchronous
และแบบ Asynchronous ซึ่งการเลือกเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับจะต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติ
ต่าง ๆ ดังนี้
- คุณลักษณะของแรงดันไฟฟ้า (Voltage characteristics) และตัวประกอบกาลัง (Power factor)
ระหว่างการสตาร์ทและการใช้งานตามปกติ (Normal operation) หลังจากโหลดเปลี่ยนแปลง
- ระบบการกระตุ้น (Excitation system)
- พฤติกรรมการลัดวงจร (Short – circuit behavior - electrical and mechanical)
- ประสิทธิภาพ
- การออกแบบและชนิดของเปลือกหุ้ม (Generator design and enclosure type)
- พฤติกรรมการใช้งานแบบขนาน (Parallel – operation behavior)
- การบารุงรักษา (Maintenance requirements)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
93

ก.1.3 แผงควบคุม – อุปกรณ์ประกอบต่างๆ


อุปกรณ์ต่าง ๆ สาหรับควบคุมเครื่องยนต์และเครื่องกาเนิดไฟฟ้า, อุปกรณ์ตัดต่อวงจร, มาตรวัดและ
อุปกรณ์แสดงสัญญาณต่างๆ เป็นส่วนหนึ่งของระบบควบคุมเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ก.1.4 อุปกรณ์มาตรฐานต่าง ๆ ประกอบด้วย:-
- ระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ เช่น แบตเตอรี่, สายพร้อมขั้วแบตเตอรี่, เครื่องชาร์จแบตเตอรี่อัตโนมัติ
เป็นต้น
- ระบบอากาศดี (Air intake system) เช่น ไส้กรองอากาศ เป็นต้น
- ระบบก๊าซไอเสีย (Exhaust gas system) เช่น ท่อเก็บเสียงไอเสีย (Exhaust silencer), ท่อไอเสีย
(Exhaust pipe), ท่ออ่อนไอเสีย (Flexible exhaust pipe) เป็นต้น
- ระบบน้ามันหล่อลื่น (Lubricating oil system) เช่น ไส้กรองน้ามันหล่อลื่น เป็นต้น
- ระบบน้ามันเชื้อเพลิง เช่น ไส้กรองน้ามันเชื้อเพลิง, ถังน้ามันเชื้อเพลิงประจาเครื่อง (Fuel day
tank), ถังน้ามันสารอง (Fuel storage tank), ระบบท่อทางน้ามัน, เครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิง, แผง
ควบคุมเครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิง, เครื่องควบคุมระดับน้ามัน เป็นต้น
- ระบบระบายความร้อน เช่น รังผึ้งระบายความร้อนชนิดติดตั้งบนชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Skid
mounted radiator), รังผึ้งระบายความร้อนชนิดแยก (Remote radiator), ถังแลกเปลี่ยนความ
ร้อน (Heat exchanger), ระบบท่อต่าง ๆ เป็นต้น
- ระบบป้องกันเสียง (Soundproof system) เช่น Air inlet sound attenuator, Air outlet
sound attenuator, ผนังป้องกันเสียง, ประตูเก็บเสียง (Acoustic door) เป็นต้น
- ระบบระบายอากาศ (Ventilation system) เช่น พัดลมระบายความร้อน (Radiator fan), ท่อลม
(Air duct), Air outlet grill, Air inlet grill, พัดลมระบายอากาศ (Ventilation fan) เป็นต้น
- สปริงรองรับความสั่นสะเทือน (Vibration isolator)
- อื่นๆ

ก.2 แบบของการใช้งาน (Modes of operation)


การใช้งานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้ :-
ก.2.1 แบบใช้งานต่อเนื่องที่โหลดเปลี่ยนแปลง (Continuous operation at varying load) การใช้
งานแบบนี้เป็นการใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจ่ายกระแสไฟฟ้าอย่างต่อเนื่องในสภาวะโหลดเปลี่ยนแปลง
โดยไม่จากัดเวลา (Without time limit) เช่น ใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าในกรณีไม่มีกระแสไฟฟ้าจาก
ตัวอย่าง เช่น เกาะ หรือบริเวณที่ไฟฟ้าจากการไฟฟ้าฯ ยังมาไม่ถึง
ก.2.2 แบบใช้งานต่อเนื่องที่โหลดคงที่ (Continuous operation at constant load)การใช้งานแบบ
นี้เป็นการใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจ่ายกระแสไฟฟ้าอย่างต่อเนื่องในสภาวะโหลดคงที่โดยไม่จากัดเวลา
(Without time limit) เช่น ใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสาหรับจ่ายกระแสไฟฟ้าแบบโหลดคงที่ (Base
load) สาหรับโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม (Combined heat), หรือโรงไฟฟ้า (Power plant)
ก.2.3 แบบใช้งานภายในเวลาที่กาหนดที่โหลดเปลี่ยนแปลง (Limited time operation at varying
load) การใช้งานแบบนี้เป็นการใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจ่ายกระแสไฟฟ้าแบบโหลดเปลี่ยนแปลง
ภายในเวลาที่กาหนด เช่น ใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับอาคาร กรณีไฟฟ้าปกติ หรือไฟฟ้าจากการไฟฟ้า
ฯ ดับ หรือขัดข้อง

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
94

ก.2.4 แบบใช้งานภายในเวลาที่กาหนดที่โหลดคงที่ (Limited time operation at constant load)


การใช้งานแบบนี้เป็นการใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจ่ายกระแสไฟฟ้าแบบโหลดคงที่ ภายในเวลาที่กาหนด
เช่น ใช้สาหรับงานการจัดการลดทอนโหลดสูงสุด (Peak shaving load management) โดยการต่อ
ขนานเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเข้ากับระบบไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักเพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าให้โหลด
แบบคงที่ (Constant load) ระหว่างช่วงเวลาการใช้โหลดสูงสุด (Peak power consumption)

ก.3 มาตรฐานสภาวะบรรยากาศของการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ก.3.1 ความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง (Mean sea level) ไม่เกิน 1,000 ฟุตหรือ 300 เมตร
ก.3.2 อุณหภูมิบรรยากาศ ไม่เกิน 35 องศาเซลเซียส
ก.3.3 ความชื้นสัมพัทธ์ ไม่เกิน 60เปอร์เซนต์

ก.4 พิกัดกาลัง (Rating) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


ก.4.1 พิกัดกาลังแบบต่อเนื่อง (Continuous power (COP) หรือ Base load power) คือ พิกัดกาลัง
ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ซึ่งสามารถจ่ายให้กับโหลดได้อย่างต่อเนื่องจนถึง 100 เปอร์เซ็นต์ ของพิกัด
กาลังแบบต่อเนื่องโดยไม่จากัดเวลาได้ตลอดเวลายกเว้นช่วงเวลาที่ต้องใช้ในการซ่อมบารุงรักษา เช่น
เปลี่ยนไส้กรองน้ามันหล่อลื่น, ไส้ กรองน้ามันเชื้อเพลิง, น้ามันหล่อลื่น เป็นต้นเท่านั้น ซึ่ง พิกัดกาลัง
ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบนี้เหมาะสาหรับการใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ขนานเข้ากับ ระบบไฟฟ้าหลัก
ดูรูปที่ก.1

รูปที่ ก.1 พิกัดกาลังแบบต่อเนื่อง (Continuous power (COP) หรือ Base load power)

ก.4.2 พิกัดกาลังพร้อมใช้ (Prime power (PRP)) คือพิกัดกาลังของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสูงสุด ซึ่งสามารถ


จ่ายให้โหลดได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาในกรณีที่ไฟฟ้าหลักขัดข้อง แบ่งเป็น:-
- พิกัดกาลังพร้อมใช้แบบไม่จากัดเวลา (Unlimited Running Time Prime Power) คือพิกัดกาลัง
ซึ่งสามารถจ่ายให้โหลดได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่ จากัดเวลาสาหรับโหลดประเภทไม่คงที่(Variable
Load Applications) โดยค่าเฉลี่ยของโหลดไม่ควรเกิน 70 เปอร์เซ็นต์ ของพิกัดกาลัง การจ่าย

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
95

กาลังสามารถจ่ายได้สูงกว่าพิกัดกาลังปกติ 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ใน 12 ชั่วโมง แต่


ต้องไม่เกิน 25 ชั่วโมงต่อปี และสามารถใช้งานที่พิกัดกาลังนี้ไม่เกิน 500 ชั่วโมงต่อปียกเว้น
ช่วงเวลาที่ต้องใช้ในการซ่อมบารุงรักษา เช่น เปลี่ยนไส้กรองน้ามันหล่อลื่นไส้กรองน้ามันเชื้อเพลิง,
น้ามันหล่อลื่น เป็นต้นเท่านั้นดูรูปที่ ก.2

รูปที่ ก.2 พิกัดกาลังพร้อมใช้ (Prime power : PRP)

- พิกัดกาลังพร้อมใช้แบบจากัดเวลา (Limited – Time running power : LTP) คือพิกัดกาลังของ


เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่จ่ายได้คงที่ (constant) คือ 100 เปอร์เซ็นต์ ของพิกัดกาลังพร้อมใช้ภายใน
เวลาที่กาหนด ซึ่งพิกัดกาลังของเครี่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดนี้ไม่สามารถจ่ายได้เกินปีละ 750 ชั่วโมง
ยกเว้นช่วงเวลาที่ต้องใช้ในการซ่อมบารุงรักษา ดูรูปที่ ก.3 ซึ่งถ้าต้องการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้โหลด
นานกว่านี้ให้เลือกใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิด พิกัดกาลังแบบต่อเนื่อง (Continuous power หรือ
ชนิด Base load power)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
96

รูปที่ ก.3 พิกัดกาลังพร้อมใช้แบบจากัดเวลา Limited-Time running Power (LTP)

ก.4.3 พิกัดกาลังสารองฉุกเฉิน (Emergency standby power : ESP) คือพิกัดกาลังของเครื่องกาเนิด


ไฟฟ้า ซึ่งสามารถจ่ายให้เพื่อทดแทนกาลังไฟฟ้าหลักในกรณีไฟฟ้าหลัก ดับหรือขัดข้อง ซึ่งพิกัดกาลัง
ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้านี้เป็น พิกัดกาลังสูงสุดไม่สามารถจ่ายกาลัง ไฟฟ้าได้เกินกว่าพิกัดนี้ ได้อีกแล้ว
พิกัดกาลังสารองฉุกเฉินของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสามารถจ่ายให้โหลดประเภทไม่คงที่ (Variable Load
Applications) ได้เฉลี่ย 80 เปอร์เซ็นต์ ปีละไม่เกิน 200 ชั่วโมง และ 100 เปอร์เซ็นต์ ได้ปีละไม่เกิน
25 ชั่วโมง ถ้าต้องการจ่ายโหลดเกินที่กาหนดข้างต้นนี้ให้เลือกใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิด พิกัดกาลัง
พร้อมใช้ (Prime power : PRP) ดูรูปที่ ก.4

รูปที่ ก.4 พิกัดกาลังสารองฉุกเฉิน (Emergency standby power : ESP)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
97

ก.5 ระดับสมรรถนะ (Performance class) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 4 ระดับ


ก.5.1 ระดับสมรรถนะG1 (Class G1) เป็นระดับสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ใช้กับโหลดธรรมดา
ทั่ว ๆ ไป ซึ่งค่าแรงดันไฟฟ้า (Voltage) และความถี่ (Frequency) คงที่ เช่น ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
(Lighting system) และโหลดพื้นฐานอื่น ๆ (Other simple electrical loads)
ก.5.2 ระดับสมรรถนะG2 (ClassG2)เป็น ระดับสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ใช้กับโหลดธรรมดา
ทั่วไป ซึ่งค่าแรงดันไฟฟ้าและความถี่เปลี่ยนแปลงชั่วขณะแต่ยังอยู่ในค่า ที่ยอมรับได้ (Temporary
but acceptable deviations of voltage and frequency) เช่น ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง (Lighting
system), ปั๊ม, พัดลม และระบบรอก (Hoists) เป็นต้น
ก.5.3 ระดับสมรรถนะ G3 (Class G3) เป็น ระดับสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ที่ใช้กับโหลดซึ่ง
ต้องการรักษาระดับ (The stability and level) ของความถี่, แรงดันไฟฟ้าและรูปคลื่น (Waveform
characteristics) ของระบบไฟฟ้าให้คงที่ตลอดเวลา เช่น โหลดไม่เชิงเส้น (Non Linear Load) ,
ระบบสื่อสาร (Telecommunications) และ Thyristor-controlled loads ซึ่งจะมีผลกระทบ
โดยตรงกับรูปคลื่นของแรงดันไฟฟ้าของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator-voltage waveform)
ก.5.4 ระดับสมรรถนะG4 (Class G4) เป็นระดับสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ใช้กับโหลดซึ่ง
ต้องการรักษาระดับของความถี่, แรงดันไฟฟ้าและรูปคลื่นเป็นพิเศษ (Exceptionally severe) เช่น
Data-processing equipment หรือระบบคอมพิวเตอร์

ตารางที่ ก.1 แสดงค่าต่างๆของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าระดับสมรรถนะG1, G2, G3 และ G4

Performance class G1 G2 G3 G4
Frequency drop < 8% < 5% < 3% AMC
Steady – state frequency band < 2.5% < 1.5% < 0.5% AMC
Maximum frequency dip > -15% < -10% < -7% AMC
Maximum frequency rise < +18% < +12% < +10% AMC
Frequency recovery time < 10 sec. < 5 sec. < 3 sec. AMC
Steady state voltage deviation < 5% < 2.5% < 1% AMC
Maximum voltage dip <-25% < -20% < -15% AMC
Maximum voltage rise < +35% < +25% < +20% AMC
Voltage recovery time < 10 sec. < 6 sec. < 4 sec. AMC
หมายเหตุ AMC = โดยควำมตกลงร่วมกันระหว่ำงผู้ใช้งำนและผู้ผลิต (By agreement between manufacturer
and customer)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
98

ภาคผนวก ข.
การคานวณต่าง ๆ เกี่ยวกับระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
การคานวณเกี่ยวกับระบบท่อไอเสีย
ข.1 ตัวอย่างที่ 1จากรูปที่ ข.1 ระบบท่อไอเสียของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าประกอบด้วย Flexible exhaust
pipe เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว ยาว 24 นิ้ว, Critical grade muffler เส้นผ่าศูนย์กลางท่อเข้า (Inlet) 6
นิ้ว, ท่อไอเสีย (Exhaust pipe) เส้นผ่าศูนย์กลาง6 นิ้ว ยาว 20 ฟุต และ 90 o Long radius elbow
เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้วจากข้อมูลทางด้านเทคนิค (Specification sheet หรือ Engine data sheet)
กาหนดว่าอัตราการไหลของแก๊สไอเสีย (Exhaust gas flow) เท่ากับ 2,715 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที และ
Maximum allowable exhaust back pressure มีค่าเท่ากับ 41 นิ้วน้า หรือ inch. WC (water
column) จงคานวณหาขนาดท่อ และค่า Total exhaust back pressure ของระบบท่อไอเสีย

วิธีคานวณ
ข.1.1 พิจารณาหาค่า Exhaust back pressure จากท่อเก็บเสียง (Muffler)
(ก) จากตารางที่ ข.1 Cross – sectional area ของท่อเก็บเสียง ซึ่งมีท่อทางเข้า (Inlet diameter)
6 นิ้ว มีค่าเท่ากับ 0.1963 ตารางฟุต

ตารางที่ ข.1 พื้นที่หน้าตัดของท่อเก็บเสียงที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่าง ๆ (CROSS – SECTIONAL


AREA OF OPENING OF VARIOUS DIAMETERS)

DIAMETER OF AREA OF DIAMETER OF AREA OF


MUFFLER MUFFLER MUFFLER MUFFLER
INLET (INCHES) INLET (FT2) INLET (INCHES) INLET (FT2)
2 0.0218 6 0.1963
2.5 0.0341 8 0.3491
3 0.0491 10 0.5454
3.5 0.0668 12 0.7854
4 0.0873 18 1.767
5 0.1363

(ข) หาค่าความเร็วของแก๊สไอเสีย (Exhaust gas velocity) หน่วยเป็นฟุตต่อนาที จะได้ค่าดังนี้


ความเร็วของแก๊สไอเสีย = 2,715 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที
0.1963 ตารางฟุต
= 13,831 ฟุตต่อนาที

(ค) จากรูปที่ ข.2 ให้สังเกตเส้นปะ ซึ่งแสดงว่า The critical grade muffler ทาให้เกิด Back
pressure ประมาณ 21.5 นิ้วน้า (WC)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
99

ข.1.2 พิจารณาหาค่า Equivalent lengths ของ Fittings และ Flexible exhaust pipe ทุกตัว

ตารางที่ ข.2 ความยาวเทียบเท่าของอุปกรณ์ข้อต่อระบบท่อหน่วยเป็นฟุต (เมตร)(EQUIVALENT


LENGTHS OF PIPE FITTING IN FEET (METERS)
TYPE OF NOMINAL INCH (MILLIMETER) PIPE SIZE
FITTING 2 2.5 3 3.5 4 5 6 8 10 12 14 16 18
(50) (65) (80) (90) (100) (125) (150) (200) (250) (300) (350) (400) (450)
90o 5.2 6.2 7.7 9.6 10 13 15 21 26 32 37 42 47
Standard (1.6) (1.9) (2.3) (2.9) (3.0) (4.0) (4.6) (6.4) (7.9) (9.8) (11.3) (12.8) (14.3)
Elbow
90o 4.6 5.4 6.8 8 9 11 13 18 22 26 32 35 40
Medium (1.4) (1.6) (2.1) (2.4) (2.7) (3.4) (4.0) (5.5) (6.7) (7.9) (9.8) (10.7) (12.2)
Radius
Elbow
90o Long 3.5 4.2 5.2 6 6.8 8.5 10 14 17 20 24 26 31
Radius (1.1) (1.3) (1.6) (1.8) (2.1) (2.6) (3.0) (4.3) (5.2) (6.1) (7.3) (7.9) (9.4)
Elbow
45o Elbow 2.4 2.9 3.6 4.2 4.7 5.9 7.1 6 8 9 17 19 22
(0.7) (0.9) (1.1) (1.3) (1.4) (1.8) (2.2) (1.8) (2.4) (2.7) (5.2) (5.8) (6.7)
TEE, Side 10 12 16 18 20 25 31 44 56 67 78 89 110
Inlet or (3.0) (3.7) (4.9) (5.5) (6.1) (7.6) (9.4) (13) (17) (20) (23.8) (27.1) (33.5)
Outlet
18 Inch 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
Flexible (0.9) (0.9) (0.9) (0.9) (0.9) (0.9) (0.9) (0.9) (0.9) (0.9) (0.9) (0.9) (0.9)
Tube
24 Inch 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4
Flexible (1.2) (1.2) (1.2) (1.2) (1.2) (1.2) (1.2) (1.2) (1.2) (1.2) (1.2) (1.2) (1.2)
Tube

(ก) ความยาวเทียบเท่า (Equivalent length)ของ Flexible exhaust pipe เส้นผ่าศูนย์กลาง 5


นิ้ว ยาว 24 นิ้ว เท่ากับ 4 ฟุต
(ข) ความยาวเทียบเท่า (Equivalent length)ของ Long radius elbow เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว
จานวน 1 ชุด เท่ากับ 10 ฟุต

ข.1.3 พิจารณาหาค่า ความดันย้อนกลับ (Exhaust back pressure) ต่อความยาวท่อ 1 ฟุต ของท่อไอเสีย


เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว และ 6 นิ้ว ที่ใช้ระบบท่อไอเสีย ดูจากรูปที่ ข.3 จะได้ว่า
(ก) ความดันย้อนกลับ (Exhaust back pressure) ของท่อไอเสีย เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว เท่ากับ
0.35 นิ้วน้า (WC) / ft
(ข) ความดันย้อนกลับ (Exhaust back pressure) ของท่อไอเสีย เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว เท่ากับ
0.145 นิ้วน้า (WC) / ft

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
100

ข.1.4 พิจารณาหาค่า ความดันย้อนกลับรวม (Total exhaust back pressure) ของระบบท่อไอเสียของ


เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
(ก) ท่อเก็บเสียง (Muffler) 21.5 นิ้วน้า (WC)
(ข) ท่อไอเสีย (Exhaust pipe) เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 20 ฟุต (20 x 0.145) 2.9 นิ้วน้า (WC)
(ค) Flexible exhaust pipe เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว จานวน 1 ชุด (4 x 0.35) 1.4 นิ้วน้า (WC)
(ง) Long radius elbow เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว จานวน 1 ชุด (10 x 0.145) 1.45 นิ้วน้า (WC)
ดังนั้น ความดันย้อนกลับรวม (Total exhaust back pressure) มีค่าเท่ากับ 27.25 นิ้วน้า (WC)
ข.1.5 สรุป:- ค่า ความดันย้อนกลับรวม (Total exhaust back pressure) มีค่าเท่ากับ 27.25 นิ้วน้า
(Inch. WC) ซึ่งมีค่าไม่เกินค่าความดันย้อนกลับสูงสุดที่ยอมรับได้ (Maximum allowable exhaust
back pressure) ตามข้อก าหนดของบริษั ทผู้ ผ ลิ ต ซึ่ งมีค่า เท่า กับ 41 นิ้ ว น้า ดังนั้ นท่อไอเสี ย
(Exhaust pipe) ขนาดผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว จึงสามารถใช้งานได้
หมายเหตุ ถ้ำค่ำควำมดันย้อนกลับรวม (Total exhaust back pressure) มีค่ำเกิน ค่ำควำมดันย้อนกลับสูงสุดที่
ยอมรับได้ (Maximum allowable exhaust back pressure) กำรติดตั้งระบบท่อไอเสียจะต้อง
ขยำยขนำดท่อไอเสียให้ใหญ่ขึ้นเพื่อลดค่ำ ควำมดันย้อนกลับรวม (Total exhaust back pressure)
ภำยในระบบท่อไอเสียลดลงมำให้อยู่ภำยในข้อกำหนดบริษัทผู้ผลิต

ข.2 ตัวอย่างที่ 2 เครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าติดตั้งอยู่ภายในห้องเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าให้ความร้อนที่แผ่สู่


บรรยากาศโดยรอบ (Radiated heat to room 8,764 BTU/min, ระบบท่อไอเสียประกอบด้วยท่อไอ
เสีย (Exhaust pipe) เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 20 ฟุต, ท่อไอเสียแบบอ่อน (Flexible exhaust
pipe) ยาว 2 ฟุต และหม้อพักไอเสีย (Muffler) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว ต้องการอากาศสาหรับ
ระบายความร้อนเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า (Alternator) 5,700 cfm., เครื่องยนต์ขับต้องการอากาศ
สาหรับการจุดระเบิด (Combustion air flow requirement) 2,775 cfm. โหลดต่าง ๆ เช่น ความ
ร้อนจากผนัง, หลังคาและแหล่งส่องสว่าง (Heat from wall, roof, lighting) รวมทั้งหมด 10 KW
อุณหภูมิบ รรยากาศภายนอกห้ องเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า 35 oC ก าหนดให้ อุณหภูมิภ ายในห้ อ ง
เครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าสูงไม่เกิน 40oC พัดลมเครื่องยนต์สามารถให้ปริมาณอากาศสาหรับระบายความ
ร้อนชุดเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า (Cooling system air flow or Radiator cooling air) มีค่าเท่ากับ
60,000 cfm. จงคานวณหาปริมาณอากาศที่ต้องการในการระบายอากาศเพื่อรักษาอุณหภูมิภายในห้อง
เครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าไม่ให้สูงเกิน 40oC และขนาดพัดลมช่วย (ถ้ามี)
ข.2.1 ขั้นตอนที่ 1: หาความร้อนเข้าสู่ห้องที่ปล่อยออกมาจากเครื่องยนต์ (H e)
 ความร้อนที่แผ่ (Radiated heat) สู่บรรยากาศโดยรอบ (H e) = 8,764 BTU/min
ข.2.2 ขั้นตอนที่ 2: หาความร้อนที่ปล่อยออกมาสู่ห้องจากหม้อพัก (Muffler) และระบบท่อไอเสีย
(Exhaust piping)
 ระบบหม้อพักและท่อไอเสียจะปล่อยความร้อนเข้าสู่ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator set
room)
 ใช้ตารางความร้อนที่ปล่อยออกมาโดยประมาณสาหรับระบบหม้อพักและท่อไอเสียที่ปราศจาก
การห่อหุ้มแบบอ่อน (Flexible exhaust pipe) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 2 ฟุต
(Equivalent length = 2 x 2 = 4 ฟุต)
 ความร้อนที่ปล่อยออกมาจากท่อไอเสียแบบอ่อน(H p1) = 4 x 164 = 656 BTU/min

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
101

 หาความร้อนที่มาจากท่อไอเสียขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 20 ฟุต (H p2)


=20 x 164 = 3,280 BTU/min
 หาความร้อนที่มาจากหม้อพัก (Muffler) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว(H p3) = 1,944 BTU/min
 ความร้อนรวมทั้งสิ้นที่ปล่อยจากหม้อพัก (Muffler) และท่อไอเสีย (Exhaust pipe) เข้าสู่ห้อง
H p = H p1 + H p2 + Hp3
= 656 + 3,280 + 1,944
= 5,880 BTU/min

ตารางที่ ข.3 ค่าความร้อนโดยประมาณที่แผ่จากระบบท่อเก็บเสียงไอเสียและท่อไอเสียซึ่งไม่ได้หุ้มฉนวน


กัน ความร้อน (Estimated Heat Emitted from Uninsulated Exhaust Piping and
Mufflers)
Pipe Diameter Inches (mm) Heat Form Pipe Btu/min/ft Heat From Muffler Btu/min
(kJ/min/m) (kJ/min)
3 (76) 87 (301) 922 (973)
3.5 (98) 99 (343) 1047 (1105)
4 (102) 112 (388) 1175 (1240)
5 (127) 139 (481) 1501 (1584)
6 (152) 164 (568) 1944 (2051)
8 (203) 213 (737) 2993 (3158)
10 (254) 268 (928) 3668 (3870)
12 (305) 318 (1101) 5463 (5764)
14 (356) 367 (1270) 8233 (8686)

ข.2.3 ขั้นตอนที่ 3: หาความร้อนที่ปล่อยออกมาจากแหล่งความร้อนอื่นเข้าสู่ห้อง (H Aux)


 ความร้ อนจากผนั ง หลังคาและแหล่งส่องสว่าง (Heat from wall, roof, lighting)
= 10 KW
ข.2.4 ขั้นตอนที่ 4: คานวณหาความร้อนรวมที่ปล่อยเข้าสู่ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดความ
ร้อนทั้งหมด
 โดยการหาผลรวมจากขั้นตอนที่หนึ่งถึงสาม ดังนี้ :-
H TOT = H e + H p + H AUX ……………………….. (1)
= 8,764 + 5,880 + 570 BTU/min
= 14,644 BTU/min
ข.2.5 ขั้นตอนที่ 5: ทาการหาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดของห้องที่ยอมรับได้
 การหาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดของห้องเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าที่ยอมรับได้นั้น อย่างแรก คือ
หาผลต่างของอุณหภูมิมากที่สุดภายนอกห้อง (Maximum outdoor temperature (MAX T
out)) และอุณหภูมิที่มากที่สุดของห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ยอมรับได้ (Maximum acceptable
room temperature (Max T room))

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
102

T = Max T room - MAX T out ………………………… (2)


o o
= 40 C – 35 C
= 104oF – 95oF
= 9oF
ข.2.6 ขั้นตอนที่ 6: ทาการหาความต้องการระบายความร้อนของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Alternator cooling
air requirement)
 อากาศสาหรับระบายความร้อนเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Alternator cooling air) มีค่า 5,700 cfm.
ข.2.7 ขั้นตอนที่ 7 : ทาการหาความต้องการการไหลเวียนของอากาศในการเผาไหม้ (Combustion air
flow requirement)
 โดยพิจารณาได้จากดาต้าชีท Engine data sheet ซึง่ การไหลเวียนของอากาศ (Intake air
flow) มีค่า 2,775 cfm.
ข.2.8 ขั้นตอนที่ 8 : คานวณหาความต้องการปริมาณของอากาศที่ไหลเวียนผ่านห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ทั้งสิ้น อย่างแรก ปริมาณอากาศไหลเวียนที่ต้องการเพื่อนาไปออกแบบการเพิ่มของอุณหภูมิของห้อง
นั้นคานวณได้จาก
H TOT
Q room = …………………………. (3)
(Cp ) ( T) (d)
Where Q room = Minimum forced ventilation air flow
=  cfm.
H TOT = Total heat emitted to room (STEP 4)
= 14,644 BTU/min
Cp = Specific heat
= 0.241 BTU/Ib/oF
T = Generator set room temperature rise (STEP 5)
= 9oF
d = density of air
= 0.0750 ib/ft3
14,644
 Q room = cfm
0.241 9  0.075
= 90,019.98 cfm.

ขั้นต่อมาทาการรวมค่านี้เข้ากับความต้องการอากาศหล่อเย็นสาหรับเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าจาก
ขั้นตอนที่ 6 และความต้องการอากาศในการเผาไหม้ในขั้นตอนที่ 7
Q TOT = Q room +Q air + Q com
= 90,019.98 + 5,700 + 2,775 cfm.
 ผลรวมของความต้องการการไหลเวียนของอากาศสาหรับระบบระบายอากาศในห้องเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า คือ 98,494.98

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
103

ข.2.9 ขั้นตอนที่ 9: หาความต้องการพัดลมสาหรับระบบระบายอากาศสารอง (Auxiliary ventilation


fan requirement) โดยที่อัตราการไหลของอากาศสาหรับระบายความร้อนชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามี
ค่าเท่ากับ 60,000 cfm. ซึ่งน้อยกว่าผลรวมของความต้องการการไหลเวียนของอากาศสาหรับระบบ
ระบายอากาศในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (98,494.98)
 ดังนั้นจึงต้องติดตั้งพัดลมช่วย (Auxiliary ventilation fan) สาหรับระบายอากาศเพื่อรักษา
อุณหภูมิภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไม่ให้สูงเกิน 40oC มีขนาดเท่ากับ
98,494.98 – 60,000 cfm. = 38,494.98 cfm.

ข.3 ตัวอย่า งที่ 3 เครื่ องยนต์กาเนิ ดไฟฟ้าขนาด 500 KVA. มีปริมาณอากาศส าหรับการเผาไหม้หรือจุด
ระเบิด (Combustion air) 1,300 ลบ.ฟุตต่อนาที, ปริมาณอากาศสาหรับระบายความร้อนชุดเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า (Cooling system air flow) 24,000 ลบ.ฟุตต่อนาที กาหนดให้ความเร็วลมเข้าห้องเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า (Inlet air velocity) ไม่เกิน 700 ฟุตต่อนาที และความเร็วลมออกจากห้องเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า (Outlet air velocity) ไม่เกิน 1,050 ฟุตต่อนาที ให้หาขนาดพื้นที่สุทธิ (Free area) ของช่องลม
เข้า (Inlet air) และช่องลมออก (Outlet air) ของห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ข.3.1 ข้อมูลทางด้านเทคนิค
(ก) Combustion air = 1,300 cfm.
(ข) Cooling system air flow = 24,000 cfm.
(ค) Inlet air velocity = 700 ft / min
(ง) Outlet air velocity = 1,050 ft / min
ข.3.2 การคานวณ
(ก) การคานวณหาขนาดพื้นที่สุทธิของช่องลมออก (Free area of air outlet)
สูตร:- Q = AV
Q = Cooling system air flow
= 24,000 cfm.
V = Outlet air velocity
= 1,050 ft / min
A = Free area of outlet air
=  ft2
 24,000 = 1,050 A
A = 24,000 ft 2
1,050
= 22.86 ft2
ดังนั้นขนาดพื้นที่สุทธิของช่องลมออก  2.10m2
(ข) การคานวณหาขนาดพื้นที่สุทธิของช่องลมเข้า (Free area of air Inlet)
สูตร:- Q = AV
Q = Cooling system air flow + Combustion air
= 24,000 + 1,300 cfm.
= 25,300 cfm.

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
104

V = Inlet air velocity


= 700 ft/min
A = Free area of Inlet air
=  ft2
 25,300 = 700 A
A = 25,300 ft 2
700
= 36.14 ft2
ดังนั้นขนาดพื้นที่สุทธิของช่องลมเข้า3.32m2

ข.4 ตัวอย่างที่ 4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองมีระบบสตาร์ท 24 V.DC ให้กาลังไฟฟ้าด้วย แบตเตอรี่ระบบ 12


V.DC จานวน 2 ชุดต่ออนุกรม ตามรูปที่ 3.1 (บทที่ 3) ความยาวสายแบตเตอรี่ทั้งหมด 375 นิ้ว รวม
ความยาวสายที่ต่อระหว่างแบตเตอรี่ด้วย, มีขั้วต่อ (Cable connection) ทั้งหมด 6 ชุด ให้คานวณหา
ขนาดสายแบตเตอรี่
(ก) ข้อมูลทางด้านเทคนิค
- ความต้านทานของ Starter solenoid contact (R contact) 0.0002 โอห์ม
- ความต้านทานของขั้วต่อสาย (R connection) จานวน 6 ชุด ๆ ละ 0.00001 โอห์ม รวม 0.00006
โอห์ม
(ข) การคานวณ
สูตร:- Maximum allowable cable resistance = 0.002 - R connection - R contact
= 0.002 – 0.0002 – 0.00006โอห์ม
= 0.00174 โอห์ม
จากรูปที่ ข.4 เลือกสายแบตเตอรี่ #1/0 AWG (American Wire gauge) จานวน 2 เส้น ขนานกัน (2 -
# 1/0 AWG cable in parallel) เป็นสายแบตเตอรี่

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
105

รูปที่ ข.1 ตัวอย่างระบบท่อไอเสียสาหรับการคานวณ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
106

รูปที่ ข.2 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดันย้อนกลับของท่อเก็บเสียงไอเสียกับก๊าซไอเสีย


(Typical Muffler Exhaust back Pressure vs. Gas Velocity)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
107

รูปที่ ข.3 กราฟแสดงค่าความดันย้อนกลับของท่อไอเสียขนาดต่างๆ


(Exhaust Back Pressure in Nominal Inch (mm) Pipe Diameters)

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
108

รูปที่ ข.4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานและความยาวของสายแบตเตอรี่


(Resistance vs. Length for Various AWG Cable Sizes)

ข.5 โหลดเทียม (Load bank)


โดยทั่วไปจะเป็นชนิด Resistive AC load bank ซึ่งถูกออกแบบให้สามารถผลิตโหลดซึ่งมีค่าเพาเวอร์
แฟคเตอร์ เท่ากับ 1.0 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าส่วนใหญ่ถูกออกแบบให้เพาเวอร์แฟคเตอร์มีค่าเท่ากับ 0.8
และเครื่องต้นกาลังขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Prime mover) ก็ไม่สามารถจ่าย Full KVA ที่เพาเวอร์แฟค
เตอร์มีค่าเท่ากับ 1.0 ได้ ตัวอย่างเช่น เครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาด 500 KVA. ที่เพาเวอร์แฟคเตอร์มีค่า
เท่ากับ 0.8 จะสามารถจ่ายโหลดได้เต็มที่ 400 กิโลวัตต์ (KW) ให้กับ Pure resistive load ซึ่งมีค่า
เพาเวอร์แฟคเตอร์เท่ากับ 1.0 เท่านั้น การทดสอบโหลด Resistive เป็นการทดสอบความสามารถของ
เครื่องต้นกาลังขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าว่าสามารถขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้
500 KVA. ที่เพาเวอร์แฟคเตอร์ 0.8 หรือ 400 กิโลวัตต์ (KW) ที่เพาเวอร์แฟคเตอร์ 1.0 ได้หรือไม่เท่านั้น

เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำขนำด 500 KVA (400 KW) โหลดแบงค์ 400 KVA (400 KW)
เพำเวอร์แฟคเตอร์ 0.8, 380 V, 3, 50 HZ เพำเวอร์แฟคเตอร์ 1.0, 380 V, 3, 50 HZ
ค่ำกระแสไฟฟ้ ำ 759.69 แอมป์ ค่ำกระแสไฟฟ้ ำ 607.75 แอมป์

รูปข้างบนแสดงความสัมพันธ์ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและโหลดเทียม (Load bank) ขณะทาการทดสอบ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
109

การคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้าทางด้านเครื่องกาเนิดไฟฟ้า สามารถหาได้จากสูตร.-
P1 = 3 V1 I1 cosθ
P1 = 500 x 0.80 = 400 KW
= 400 x 1,000 = 400,000 วัตต์
V1 = ค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้า
= 380 โวลท์
3 = 1.732
I1 = ค่ากระแสไฟฟ้า
=  แอมป์
Cos0 = เพาเวอร์แฟคเตอร์
= 0.8
แทนค่าในสูตร 400,000 = 1.732 x 380 x I1 x 0.8
400,000
 I1 =
1.732  380  0.8
= 759.69 แอมป์

การคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้าทางด้านโหลดเทียม (Load bank) สามารถหาได้จากสูตร :-


P2 = 3 V2 I 2 cosθ
P2 = 400 KW
= 400  1,000 = 400,000 วัตต์
V2 = 380 โวล์ท
3 = 1.732
I2 = ค่ากระแสไฟฟ้าที่เครื่องทดสอบ (Load bank)
=  แอมป์
cos0 = เพาเวอร์แฟคเตอร์
= 1.0
400,000 = 1.732  380  I2 1.0
400,000
 I2 =
1.732  380  1.0
= 607.75 แอมป์

จากการคานวณจะเห็นว่าเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสามารถผลิตกาลังไฟฟ้าได้ 400 กิโลวัตต์ หรือ 500 เควีเอ


ที่เพาเวอร์แฟคเตอร์ 0.8, 380 โวลท์, 50 เฮิร์ท เมื่อใช้โหลดเทียม (Load bank) ซึ่งมีขนาด 400
กิโลวัตต์ เพาเวอร์แฟคเตอร์ 1.0 มาทดสอบก็จะสามารถทดสอบได้เพียงว่า เครื่องต้นกาลัง (Prime
mover) สามารถขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เพื่อให้จ่ายกาลังไฟฟ้าขนาด 400 กิโลวัตต์ เพาเวอร์ แฟคเตอร์
1.0

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
110

ภาคผนวก ค. สิ่งแวดล้อม (Environmental)

ในการออกแบบและติดตั้งเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า จะต้องพิจารณาถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในด้าน
ต่างๆ การกาหนดมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งจะต้องคานึงถึงสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
ค.1 การป้องกันเสียงและกฎหมาย
ค.1.1 การป้องกันเสียง
เมื่อติดตั้งเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าภายในอาคารหรือภายในตู้ครอบ จะมีเสียงดัง (Noise) เนื่องจาก
เสียงจากเครื่องยนต์, เสียงจากระบบท่อไอเสีย, เสียงจากพัดลมระบายความร้อน, เสียงที่เกิดจากการ
ติดตั้ง เป็นต้น เกิดขึ้นภายนอกห้องเครื่องฯ หรือ ภายนอกตู้ครอบเพื่อเป็นการป้องกันเสียงดังกล่าว
ไม่ให้รบกวนผู้ที่ทางาน, อยู่อาศัย หรือสัญจรอยู่ใกล้บริเวณห้องเครื่องฯ หรือตู้ครอบ จึงต้องมีการ
ติดตั้งระบบป้องกันเสียง (Soundproof system) ประกอบด้วย Air inlet sound attenuator, Air
outlet sound attenuator, ผนังป้องกันเสียง และท่อเก็บเสียงไอเสีย (Exhaust muffler) ขนาดที่
เหมาะสม
ค.1.2 กฎหมายที่เกี่ยวกับระดับเสียงรบกวน
 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) กาหนดมาตรฐานระดับเสียง
โดยทั่วไปไว้ดังต่อไปนี้ :-
- ค่าระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน 115 เดซิเบลเอ
- ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมงไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ
 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 29 (พ.ศ. 2550) เรื่องค่าระดับเสียงรบกวน
- กาหนดระดับเสียงรบกวนเท่ากับ 10 เดซิเบลเอ
- ในกรณีที่คานวณระดับการรบกวนได้ค่ามากกว่าระดับเสียงรบกวน 10 เดซิเบลให้ถือว่าเป็น
เสี ย งรบกวนซึ่ ง วิ ธี ก ารค านวณระดั บ เสี ย งรบกวนให้ เ ป็ น ไปตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นประกาศ
คณะกรรมการควบคุมมลพิษ
- ในกรณีที่ระดับเสียงของแหล่งกาเนิดวัดเทียบกับระดับเสียงเมื่อไม่มีแหล่งกาเนิดมีค่ามากกว่า
10 เดซิเบลเอให้ถือว่าเป็นเสียงรบกวน ซึ่งวิธีการตรวจวัดระดับเสียงให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ใน
ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ
 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าระดับเสียงการรบกวนและระดับเสียงที่เกิดจาก
การประกอบกิจการโรงงาน พ.ศ. 2548 กาหนดว่า :-
- ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมงไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ
- ระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน 115 เดซิเบลเอ
- ระดับการรบกวนไม่เกิน 10 เดซิเบลเอ
 กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สิ่งแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่างและเสียง พ.ศ. 2549 กาหนดค่าระดับเสียง
รบกวนเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทางาน 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 85 เดซิเบลเอ

ค.2 ระบบน้ามันเชื้อเพลิงและกฎหมาย

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
111

การออกแบบและติดตั้งระบบน้ามันเชื้อเพลิงของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องพิจารณาถึงรายละเอียด
ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ :-
 อัตราการสิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิง,การจัดระดับความสาคัญการจ่ายโหลดของระบบการจ่ายไฟฟ้า
สารอง, ปริมาตรของถังน้ามัน, การสร้ างถังน้ามัน, ตาแหน่งที่ติดตั้งของถังน้ามัน, การติดตั้ง, ท่อ
หายใจ, ระบบท่อทางน้ามัน, การทดสอบและการตรวจสอบ (Inspection)
 มาตรฐานและกฎข้อบังคับหรือกฎหมาย
มาตรฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบน้ามันเชื้อเพลิง
 NFPA 30 Flammable and Combustible Liquids code
 NFPA 37 Standard for the Installation and use of stationary combustion engines and
gas turbines
 BS 799 : Part 5 Specification for oil storage tanks
 BS 2594 Specification for carbon steel welded horizontal cylindrical storage tanks
 มาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบน้ามันเชื้อเพลิง
กฎข้อบังคับหรือกฎหมาย
 พระราชบัญญัติควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542
 คู่มือการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542 กรมธุรกิจพลังงาน
 กฎกระทรวงสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2551
 กฎหมายด้านโยธาธิการและผังเมือง
 กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542
 ชนิดของน้ามันเชื้อเพลิง แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
- ชนิดไวไฟน้อย มีจุดวาบไฟตั้งแต่ 60o C ขึ้นไป
- ชนิดไวไฟปานกลาง มีจุดวาบไฟตั้งแต่ 37.8o C แต่ต่ากว่า 60o C
- ชนิดไวไฟมาก มีจุดวาบไฟต่ากว่า 37.8o C

ตารางที่ ค.1 ชนิดน้ามันเชื้อเพลิงและจุดวาบไฟ

น้ามันเชื้อเพลิง ชนิด จุดวาบไฟ


น้ามันปิโตรเลียมดิบ ไวไฟมาก ต่ากว่า 37.8 องศาเซลเซียส
น้ามันเบนซิน ไวไฟมาก
น้ามันเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องบิน ไวไฟปานกลาง ตั้งแต่ 37.8 องศาเซลเซียส
น้ามันก๊าด ไวไฟปานกลาง แต่ต่ากว่า 60 องศาเซลเซียส
น้ามันดีเซล ไวไฟน้อย ตั้งแต่ 60 องศาเซลเซียสขึ้นไป
น้ามันเตา ไวไฟน้อย
น้ามันหล่อลื่น ไวไฟน้อย

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
112

 สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง มี 3 ลักษณะดังนี้ :-
(1) ลักษณะที่ 1 ได้แก่ สถานที่เก็บน้ามันเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด ประกอบด้วย
น้ามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก มีปริมาณไม่เกิน 40 ลิตรหรือชนิดไวไฟปานกลาง มีปริมาณไม่
เกิน 227 ลิตร หรือชนิดไวไฟน้อย มีปริมาณไม่เกิน 454 ลิตร
(2) ลักษณะที่ 2 ได้แก่ สถานที่เก็บน้ามันเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด ประกอบด้วย
น้ามันเชื้อเพลิงไวไฟมาก มีปริมาณเกิน 40 ลิตร แต่ไม่เกิน 454 ลิตร หรือชนิดไวไฟปานกลาง มี
ปริมาณเกิน 227 ลิตร แต่ไม่เกิน 1,000 ลิตร หรือชนิดไวไฟน้อย มีปริมาณเกิน 454 ลิตร แต่ไม่
เกิน 15,000 ลิตร
(3) ลักษณะที่ 3 ได้แก่ สถานที่เก็บน้ามันเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด ประกอบด้วย
น้ามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก มีปริมาณ 454 ลิตรขึ้นไป หรือชนิดไวไฟปานกลางมีปริมาณเกิน
1,000 ลิตรขึ้นไป หรือชนิดไวไฟน้อย มีปริมาณเกิน 15,000 ลิตรขึ้นไป แต่ปริมาณทั้งหมดต้อง
ไม่เกิน 500,000 ลิตร
 การประกอบกิจการควบคุม
- สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงลักษณะที่ 1 ประกอบกิจการได้ทันที
- สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงลักษณะที่ 2 ต้องแจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนประกอบการ
- สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงลักษณะที่ 3 ต้องได้รับอนุญาตก่อนประกอบการ
 การแจ้งหรือการยื่นคาขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุม
- ในเขตกรุงเทพมหานครให้ยื่น ณ.กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน
- ในเขตจังหวัดอื่นนอกกรุงเทพมหานครให้ยื่น ณ.สานักงานพลังงานภูมิภาค หรือสานักงานองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
กฎกระทรวงสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2551
หมวด 1 บททั่วไป
ภาชนะบรรจุน้ามันเชื้อเพลิงให้บรรจุน้ามันเชื้ อเพลิงได้ไม่เกินร้อยละเก้าสิบของปริมาตรภาชนะบรรจุ
น้ามันเชื้อเพลิง
หมวด 2 สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง ลักษณะที่หนึ่ง (1)
 การเก็บน้ามันเชื้อเพลิงและระยะความปลอดภัย
- สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง ลักษณะที่หนึ่ง (1)
 ต้องห่างจากช่องเปิดไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร
 ด้านที่ไม่มีช่องเปิดต้องห่างจากขอบผนังอาคารไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร
 ห้ามเก็บภาชนะบรรจุน้ามันเชื้อเพลิงไว้ต่ากว่าระดับพื้นดิน ยกเว้น เก็บอยู่ภายในอาคารที่มีพื้นต่า
กว่าระดับพื้นดิน และน้ามันเชื้อเพลิงเป็นชนิดไวไฟน้อยที่มีจุดวาบไฟเกิน 93 องศาเซลเซียสขึ้นไป
 ห้ามต่อท่อน้ามันเชื้อเพลิงระหว่างถังน้ามันเชื้อเพลิงเข้าด้วยกัน
 การเก็บน้ามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก ชนิดไวไฟปานกลาง หรือชนิดไวไฟน้อยที่มีจุดวาบไฟไม่เกิน
93 องศาเซลเซียสเพื่อการจาหน่าย บริเวณที่ตั้งภาชนะบรรจุน้ามันเชื้อเพลิงต้องจัดให้มีอุปกรณ์
ป้องกันและระงับอัคคีภัย ดังต่อไปนี้ :-
(1) เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้งหรือน้ายาดับเพลิงขนาดบรรจุไม่น้อยกว่า 6.80 กิโลกรัมมี
ความสามารถในการดับเพลิงไม่น้อยกว่า 3A 40B ตามมาตรฐานระบบป้องกันอัคคีภัยของ

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
113

วิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทยในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ฉบั บ ล่ า สุ ด หรื อ มาตรฐานอื่ น ที่


เทียบเท่า จานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งเครื่อง
(2) เครื่องดับเพลิงต้องอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี และผู้ประกอบกิจการควบคุมต้องตรวจสอบและ
บารุงรักษาทุกหกเดือน โดยมีหลักฐานการตรวจสอบติดหรือแขวนไว้ที่เครื่องดับเพลิง
(3) ทรายในปริมาณไม่น้อยกว่า 20 ลิตร และสามารถนามาใช้ได้สะดวกตลอดเวลา
 บริ เวณที่ตั้งภาชนะบรรจุ น้ ามัน เชื้อเพลิ งเพื่อการจาหน่ายต้องจัดให้ มีป้ายเตือนโดยมีข้อความ
ลักษณะ และที่ตั้ง ดังต่อไปนี้ :-
(1) ป้ายต้องมีข้อความอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
“ อันตราย, ห้ามสูบบุหรี่, ห้ามก่อประกายไฟ “
(2) ข้อความในป้ายต้องมองเห็นได้ชัดเจนและอ่านได้ง่าย โดยมีความสูงของอักษรไม่น้อยกว่า
2.50 เซนติเมตร
(3) ป้ายต้องตั้งอยู่ห่างจากบริเวณที่ตั้งภาชนะบรรจุน้ามันเชื้อเพลิงระยะไม่เกิน 2.00 เมตรและ
ต้องติดตั้งไว้ในที่ที่เห็นได้ง่าย

รูปที่ ค.1 ผังบริเวณสถานที่เก็บรักษาน้ามันลักษณะที่หนึ่ง

หมวด 3 สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง ลักษณะที่สอง (2)


 การเก็บภาชนะบรรจุน้ามันเชื้อเพลิงไว้ในอาคารต้องมีระยะความปลอดภัยตามที่กาหนดไว้ในตารางที่ ค.2

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
114

ตารางที่ ค.2 ระยะปลอดภัยในการเก็บภาชนะบรรจุน้ามันเชื้อเพลิงไว้ในอาคาร


ปริมาณน้ามัน ระยะปลอดภัยต่าสุด (เมตร)
ชนิดของน้ามันเชื้อเพลิง เชื้อเพลิง ห่างจากขอบ ห่างจากช่องเปิด ห่างจากเขตสถานที่เก็บ
(ลิตร) ผนังอาคาร รักษาน้ามันเชื้อเพลิง
ชนิดไวไฟมาก ชนิดไวไฟ ไม่เกิน 1,000 0.60 1.50 1.50
ปานกลาง หรือชนิดไวไฟ เกิน 1,000 – 3,000 0.60 1.50 3.00
น้อยที่มีจุดวาบไฟไม่เกิน เกิน 3,000 – 0.60 1.50 4.50
93 องศาเซลเซียส 15,000
ชนิดไวไฟน้อยที่มีจดุ วาบ ไม่เกิน 7,500 0.60 1.50 1.50
ไฟเกิน 93 องศาเซลเซียส เกิน 7,500 – 0.60 1.50 3.00
15,000
* แหล่งที่มาจากกฎกระทรวงสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๕๑

 การเก็บภาชนะบรรจุน้ามันเชื้อเพลิงไว้ภายนอกอาคารต้องมีระยะความปลอดภัยตามที่กาหนดไว้ในตาราง
ที่ ค.3

ตารางที่ ค.3 ระยะปลอดภัยในการเก็บภาชนะบรรจุน้ามันเชื้อเพลิงไว้นอกอาคาร


ปริมาณน้ามันเชื้อเพลิง ระยะปลอดภัยต่าสุด (เมตร)
ชนิดของน้ามันเชื้อเพลิง
(ลิตร) ห่างจากเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง
ชนิดไวไฟมาก ชนิดไวไฟปาน ไม่เกิน 1,000 1.50
กลาง เกิน 1,000 – 3,000 3.00
หรือชนิดไวไฟน้อยที่มีจุดวาบไฟ เกิน 3,000 – 15,000 4.50
ไม่เกิน 93 องศาเซลเซียส
ชนิดไวไฟน้อยที่มีจุดวาบไฟเกิน ไม่เกิน 7,500 1.50
93 องศาเซลเซียส เกิน 7,500 – 15,000 3.00

* แหล่งที่มาจากกฎกระทรวงสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๕๑

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
115

รูปที่ ค.2 ผังบริเวณสถานที่เก็บรักษาน้ามันลักษณะที่สอง

 สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง ลักษณะที่สอง ต้องมีแผนผังโดยสังเขปแสดงตาแหน่งที่ ตั้งของสถานที่


เก็บ รักษาน้ามันเชื้อเพลิง พร้อมสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่อยู่รอบเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงภายใน
ระยะไม่ น้อยกว่า 50.00 เมตร ในกรณีที่แผนผังตามวรรคหนึ่งไม่สามารถแสดงถึงที่ตั้งของสถานที่เก็บ
รักษาน้ามันเชื้อเพลิง ได้ให้จัดทาแผนผังในระยะที่ ทาให้สามารถบ่งชี้ถึงที่ตั้งของสถานที่เก็บรักษาน้ามัน
เชื้อเพลิงได้
 สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง ลักษณะที่สอง ต้องมีแผนผังบริเวณแสดงเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามัน
เชื้อเพลิง ภาชนะบรรจุน้ามันเชื้อเพลิง แนวท่อน้ามันเชื้อเพลิง และอาคารเก็บน้ามันเชื้อเพลิง
 แบบก่ อ สร้ า งถั ง เก็ บ น้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง ขนาดใหญ่ ที่ มี ปริ ม าณความจุ เ กิ น 2,500 ลิ ต รขึ้ น ไป ต้ อ งแสดง
รายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ :-
(1) แปลนส่วนบน อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งอยู่กับถัง แปลนส่วนล่าง และแปลนฐานราก
(2) รูปด้าน รูปตัด และรายละเอียดของฐานราก
(3) รายละเอียดการก่อสร้าง และการติดตั้งถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิงแบบก่อสร้างตาม (1) และ (2) ให้ใช้
มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 ใน 100
 ถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิงใต้พื้นดินต้องมีลักษณะและวิธีการติดตั้ง ดังต่อไปนี้ :-
(1) ตัวถังต้องทาด้วยเหล็กที่มีความเค้นคราก (yield stress) ไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของความเค้น ที่เกิดขึ้น
(allowable stress) เนื่องจากการรับแรงและน้าหนักบรรทุกต่าง ๆ หรือทาด้วยวัสดุอื่นที่มีมาตรฐาน
เทียบเท่า

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
116

(2) ตัวถังต้องติดตั้งและยึดแน่นกับฐานรากในลักษณะที่ไม่อาจเคลื่อนที่หรือลอยตัวเนื่องจากแรงดันของ
น้าใต้ดิน และฐานรากต้องออกแบบและก่อสร้างให้สามารถรับน้าหนักของตัวถังและน้ามันเชื้อเพลิงที่
บรรจุอยู่ในถัง รวมทั้งน้าหนักอื่น ๆ ที่กระทาบนตัวถังได้โดยปลอดภัย และห้ามมีสิ่งก่อสร้างใดๆ อยู่
เหนือส่วนบนของผนังถัง
(3) ผิวภายนอกของตัวถังต้องมีการป้องกันการกัดกร่อน
(4) ส่วนบนของผนังถังต้องอยู่ต่ากว่าระดับพื้นดินไม่น้อยกว่า 0.50 เมตร
(5) ต้องมีระยะห่างระหว่างผนังถังแต่ละถังไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร
(6) ตัวถังต้องตั้งอยู่ในเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงและผนังถังต้องอยู่ห่างจากเขตสถานที่เก็บ
รักษาน้ามันเชื้อเพลิงไม่น้อยกว่า 3.00 เมตร
(7) ต้องติดตั้งท่อระบายไอน้ามันเชื้อเพลิงไว้ทุกถัง สาหรั บถังที่แบ่งเป็นห้อง (compartments) ต้อง
ติดตั้งท่อระบายไอน้ ามัน เชื้อเพลิงไว้ทุกห้ องแยกจากกัน โดยท่อระบายไอน้ามันเชื้อเพลิ งต้องมี
ลักษณะและวิธีการติดตั้ง ดังต่อไปนี้ :-
(ก) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 40.00 มิลลิเมตร
(ข) ปลายท่อระบายไอน้ามันเชื้อเพลิงต้องอยู่สู งจากจากระดับพื้นดินไม่น้อยกว่า 4.00 เมตร และ
อยู่ห่างจากเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร
(8) ปลายท่อรับน้ามันเชื้อเพลิงต้องอยู่ห่างจากเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงไม่น้อยกว่า 1.50
เมตร
(9) การติดตั้งสายดินให้เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้ง ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย ของวสท. ฉบับ
ล่าสุด

 ถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิงเหนือพื้นดินต้องมีลักษณะและวิธีการติดตั้ง ดังต่อไปนี้ :-
(1) ตัวถังต้องทาด้วยเหล็กที่มีความเค้นคราก (yield stress) ไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของความเค้นที่เกิดขึ้น
(allowable stress) เนื่องจากความดันใช้งานสูงสุดของน้ามันเชื้อเพลิงในถัง หรือทาด้วยวัสดุอื่นที่มี
มาตรฐานเทียบเท่า
(2) ตัวถังต้องติดตั้งและยึดแน่นกับฐานราก โดยฐานรากต้องออกแบบและก่อสร้างให้สามารถรับน้าหนัก
ของตัวถังและน้ามันเชื้อเพลิงที่บรรจุอยู่ในถัง รวมทั้งน้าหนักอื่นๆ ที่กระทาบนตัวถังได้โดยปลอดภัย
(3) ผิวภายนอกของตัวถังต้องมีการป้องกันการกัดกร่อน
(4) รอบตัวถังต้องมีเขื่อนหรือกาแพงล้อมรอบ โดยเขื่อนหรือกาแพงดังกล่าวต้องมีขนาดพอที่จะเก็บ
น้ามันเชื้อเพลิงได้เท่ากับปริมาณความจุของถังใบใหญ่ที่สุดภายในเขื่อนหรือกาแพงโดยผนังของเขื่อน
หรือกาแพงจะต้องสามารถป้องกันของเหลวไหลผ่าน และสามารถทนแรงดันของน้าหนักบรรทุก
สูงสุดได้
(5) ต้องติดตั้งท่อระบายไอน้ามันเชื้อเพลิงไว้ทุกถัง โดยท่อระบายไอน้ามันเชื้อเพลิงต้องมีลักษณะและ
วิธีการติดตั้งตามที่กาหนดไว้
(6) ปลายท่อรับน้ามันเชื้อเพลิงต้องอยู่ห่างจากเขตสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร
(7) การติดตั้งสายดินให้เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยของ วสท. ฉบับ
ล่าสุด

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
117

 เมื่อติดตั้งถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิงแล้ว ต้องทาการทดสอบการรั่วซึมของตัวถังและข้อต่อต่าง ๆ โดยใช้แรงดัน


น้า แรงดันอากาศ หรือก๊าซเฉื่อยอัดด้วยแรงดันไม่น้อยกว่า 20.6 กิโลปาสกาล (3 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) แต่
ไม่เกิน 34.5 กิโลปาสกาล (5 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว)
- ในกรณีใช้แรงดันน้าให้ใช้เวลาในการทดสอบไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
- ในกรณีใช้แรงดันอากาศหรือก๊าซเฉื่อยให้ใช้เวลาในการทดสอบไม่น้อยกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมง
ในกรณีที่พบการ รั่วซึม ให้ตรวจสอบหารอยรั่วซึมแล้วทาการแก้ไขและทาการทดสอบตามวิธีการข้างต้น
ซ้า จนกระทั่งไม่ปรากฏการรั่วซึมให้ทาการทดสอบถังทุกสิบปีตามวิธีการที่กาหนดไว้ข้างต้น
 ระบบท่ อ น้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง และอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ กั บ ถั ง เก็บ น้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง ต้ อ งมี ลั ก ษณะและวิ ธี ก ารติ ด ตั้ ง
ดังต่อไปนี้ :-
(1) ต้องออกแบบและก่อสร้ างให้ ส ามารถรับแรงและน้าหนักต่าง ๆ ที่มากระทาต่อระบบท่อได้โ ดย
ปลอดภัย
(2) ท่อที่น ามาใช้ในระบบท่อน้ ามันเชื้อเพลิงต้องทาด้วยเหล็กกล้ า หรือทาด้วยวัส ดุอื่นที่มีมาตรฐาน
เทียบเท่า
(3) ระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงที่ต่อกับเครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิงต้องจัดให้มีลิ้นปิดเปิดสาหรับท่อทางเข้า
และท่อทางออกจากเครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อหยุดการสูบน้ามันเชื้อเพลิงในกรณีฉุกเฉิน
(4) การติดตั้งระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงเหนือพื้นดินต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้ :-
(ก) ท่อต้องวางอยู่ บนฐานรองรับที่ทาด้ว ยคอนกรีตหรือคานเหล็ ก ที่มีความมั่นคงแข็งแรงเหนือ
พื้นดิน และมีระยะสูงจากพื้นดินเพียงพอเพื่อป้องกันการกัดกร่อน
(ข) มีการป้องกันมิให้ยานพาหนะหรือสิ่งอื่นมากระทาให้เกิดการชารุดเสียหายต่อระบบท่อน้ามัน
เชื้อเพลิง และมีการป้องกันมิให้เกิดการกัดกร่อน
(ค) ท่อที่วางไว้เหนือพื้นดินและพาดผ่านทางสั ญจร ให้แสดงระยะความสูงจากพื้นผิวจราจรถึงจุด
ต่าสุดของท่อ โครงสร้าง หรือส่วนประกอบอื่น ๆ ของท่อนั้น
(5) การติดตั้งระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงใต้พื้นดินต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้ :-
(ก) ท่อที่ใช้ต้องเป็นท่อที่มีความต้านทานการกัดกร่อน หรือมีการป้องกันการกัดกร่อน
(ข) จัดให้มีเครื่องหมายแสดงแนววางท่ออย่างชัดเจน
(ค) กรณีที่มีการติดตั้งลิ้นปิดเปิดหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ใต้พื้นดินต้องติดตั้งให้สามารถตรวจสอบและ
บารุงรักษาได้โดยสะดวก
(6) วัสดุที่ใช้ในระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิง เช่น ลิ้นปิดเปิด ปะเก็น หรือวัสดุป้องกันการรั่วซึมต้องเป็นชนิด
ที่ใช้กับน้ามันเชื้อเพลิงโดยเฉพาะ และไม่ทาปฏิกิริยากับน้ามันเชื้อเพลิง
 เมื่อติดตั้งระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงและอุปกรณ์เสร็จแล้ว ก่อนการใช้งานต้องทาการตรวจสอบและทดสอบ
ดังต่อไปนี้ :-
(1) ตรวจพินิ จวัสดุ หรื อชิ้นส่ วนประกอบต่างๆ ของระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิ งว่าอยู่ในสภาพดีและได้
มาตรฐาน
(2) ทาการทดสอบการรั่วซึมโดยใช้แรงดันน้า แรงดันอากาศ หรือก๊าซเฉื่อยอัดด้วยแรงดัน 345 กิโลปาส
กาล (50 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบนาที ในกรณีเป็นท่อที่มีผนังสองชั้นให้
ทดสอบเฉพาะท่อชั้นใน
 การทดสอบถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิง และระบบท่อน้ามันเชื้อเพลิงและอุปกรณ์ ต้องดาเนินการโดยผู้ทดสอบ
และตรวจสอบซึ่งมีคุณสมบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 7 (4) และผู้ประกอบกิจการควบคุมต้อง

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
118

เก็บ รักษาบัน ทึกผลการทดสอบและตรวจสอบไว้ให้กรมธุรกิจพลังงานสามารถเรียกตรวจสอบได้เป็น


ระยะเวลาหนึ่งปีในกรณีที่ยังไม่มีผู้ทดสอบและตรวจสอบดังกล่าวให้ทาการทดสอบและตรวจสอบโดย
ผู้ประกอบการควบคุมโดยอยู่ในการควบคุมของพนักงานเจ้าหน้าที่
 การป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง ลักษณะที่สอง ให้ปฏิบัติตามที่กาหนดไว้
ในหมวด 2 สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงลักษณะที่หนึ่ง
 การเก็บน้ามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก ชนิดไวไฟปานกลาง หรือชนิดไวไฟน้อยที่มีจุดวาบไฟไม่เกิน 93
องศาเซลเซียสเพื่อการจาหน่าย บริเวณที่ตั้งภาชนะบรรจุน้ามันเชื้อเพลิงต้องจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันและ
ระงับอัคคีภัยดังต่อไปนี้ :-
(1) เครื่ อ งดั บ เพลิ ง ชนิ ด ผงเคมี แ ห้ ง หรื อ น้ ายาดั บ เพลิ ง ขนาดบรรจุ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 6.80 กิ โ ลกรั ม มี
ความสามารถในการดับเพลิงไม่น้อยกว่า 3A 40B ตามมาตรฐานระบบป้องกันอัคคีภัยของ
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ฉบับล่าสุด หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า
จานวนไม่น้อยกว่าสองเครื่อง
(2) เครื่ อ งดั บ เพลิ ง ต้ อ งอยู่ ใ นสภาพที่ ใ ช้ง านได้ดี และผู้ ป ระกอบกิ จ การควบคุ ม ต้ อ งตรวจสอบและ
บารุงรักษาทุกหกเดือน โดยมีหลักฐานการตรวจสอบติดหรือแขวนไว้ที่เครื่องดับเพลิง
(3) ทรายในปริมาณไม่น้อยกว่า 200 ลิตร และสามารถนามาใช้ได้สะดวกตลอดเวลา
หมวด 4 สถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง ลักษณะที่สาม (3) ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงสถานที่เก็บรักษา
น้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2551 (กระทรวงพลังงาน)

ค.3 ก๊าซไอเสียของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ก๊าซไอเสียของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ปล่อยออกสู่บรรยากาศจะต้องถูกควบคุมให้เป็นไปตามข้อกาหนด
และกฎหมายสิ่ งแวดล้ อม ส าหรั บ ประเทศไทยมีประกาศคณะกรรมการสิ่ งแวดล้ อมแห่ งชาติ ซึ่งได้
กาหนดค่ามาตรฐานของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์, ค่าเฉลี่ยของฝุ่นละออง, ค่าเฉลี่ยของก๊าซไนโตรเจน
ออกไซด์ , ค่ า เฉลี่ ย ของก๊ า ซคาร์ บ อนมอนนอกไซด์ ในบรรยากาศทั่ ว ไปไว้ ประกาศต่ า งๆ ของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเกี่ยวกับการกาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
มีหลายฉบับดังนี้
ค.3.1 ประกาศคณะกรรมการสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 10 (พ.ศ. 2538) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรื่องกาหนดมาตรฐาน
คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
ค.3.2 ประกาศคณะกรรมการสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 12 (พ.ศ. 2538) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรื่องกาหนดมาตรฐานค่า
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ค.3.3 ประกาศคณะกรรมการสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 21 (พ.ศ. 2544) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรื่องกาหนดมาตรฐานค่า
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป
ค.3.4 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) เรื่องกาหนดมาตรฐานคุณภาพ
อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
ค.3.5 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 28 (พ.ศ. 2550) เรื่องกาหนดมาตรฐานคุณภาพ
อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
119

ค.3.6 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2552) เรื่องกาหนดค่าก๊าซไนโตรเจน


ไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป
ค.3.7 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 36 (พ.ศ. 2553) เรื่องกาหนดมาตรฐานฝุ่ น
ละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนในบรรยากาศโดยทั่วไป

ค.4 การขออนุญาตผลิตพลังงานควบคุมต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน พ.ศ.


2535, พระราชกฤษฏีกากาหนดพลังงานควบคุม พ.ศ. 2536 และกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน พ.ศ. 2535, พระราชกฤษฎีกากาหนด
ประเภท ขนาด และลั กษณะกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตการประกอบ
กิจการพลังงาน พ.ศ. 2552 ออกตามความในพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550
- การผลิตพลังงานไฟฟ้าซึ่งมีขนาดการผลิตรวมของแต่ละแหล่งผลิตตั้งแต่ 200 กิโลโวลท์ แอมแปร์ขึ้น
ไป เป็นพลังงานควบคุม
- การขออนุญาตผลิต หรือขยายการผลิตพลังงานควบคุม มีกาหนดระยะเวลาครั้งละไม่เกิน สี่ปีนับแต่
วันที่ได้รับอนุญาต

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
120

ภาคผนวก ง.
การจัดวางระบบไฟฟ้าสารองฉุกเฉินสาหรับสถานพยาบาล
ง.1 การจัดวางระบบไฟฟ้า (System Arrangement) สาหรับสถานพยาบาลหรือสถานที่ที่มีการใช้งาน
ประเภทเดียวกัน แนะนาให้ทาการจัดวางระบบอย่างน้อยดังนี้
ง.1.1 การจัดวางระบบไฟฟ้า (System Arrangement) สาหรับสถานพยาบาลที่มีการใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 150
kVA อย่างน้อยที่สุดให้เป็นไปตามรูป ง.1

รูปที่ ง.1 การจัดวางระบบไฟฟ้า (System Arrangement) อย่างน้อยที่สุดสาหรับ


สถานพยาบาลที่ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 150 kVA

ง.1.2 การจัดระบบไฟฟ้า (System Arrangement) สาหรับสถานพยาบาลที่ใช้ไฟฟ้ามากกว่า 150 kVA


อย่างน้อยให้เป็นไปตามรูป ง.2

รูปที่ ง.2 การจัดวางระบบไฟฟ้า (System Arrangement) อย่างน้อยที่สุดสาหรับ


สถานพยาบาลที่ใช้ไฟฟ้าเกิน 150 kVA

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
121

หมายเหตุ
1. วงจรวิกฤติ (Critical Branch) เป็นวงจรย่อยของระบบไฟฟ้ำฉุกเฉินประกอบไปด้วย สำยป้อน และ
วงจรย่อย ที่จ่ำยพลังงำนไฟฟ้ำให้กับระบบไฟฟ้ำแสงสว่ำง วงจรไฟฟ้ำกำลังพิเศษ และเต้ำรับที่เลือก
ไว้เพื่อรองรับกำรใช้งำนในบริเวณบริบำลผู้ป่วยซึ่งวงจรนั้นถูกต่อเข้ำกับแหล่งพลังงำนทำงเลือกอื่น
โดยอุปกรณ์สลับแหล่งจ่ำยไฟหนึ่งตัวหรือมำกกว่ำในขณะที่ไฟฟ้ำจำกแหล่งจ่ำยไฟปกติเกิดเหตุขัดข้อง
2. อุปกรณ์ไฟฟ้ำช่วยชีวิต (Electrical Life-Safety Equipment) เป็นอุปกรณ์ที่ทำงำนอย่ำงต่อเนื่อง
ด้วยระบบไฟฟ้ำซึ่งจำเป็นในกำรรักษำชีวิตผู้ป่วย
3. ระบบจ่ำยไฟฟ้ำฉุกเฉิน (Emergency System) เป็นระบบของวงจรไฟฟ้ำและอุปกรณ์ไฟฟ้ำซึ่งได้
กำหนดไว้และจำเป็นสำหรับกำรช่วยชีวิตและควำมปลอดภัย โดยรับไฟจำกแหล่งจ่ำยไฟทำงเลือกอื่น
นอกเหนือจำกแหล่งจ่ำยไฟปกติ
4. ระบบอุปกรณ์เครื่องมือ (Equipment System) ระบบของวงจรและอุปกรณ์ที่จัดให้มีกำรหน่วงเวลำ
ทั้ ง แบบอั ต โนมั ติ ห รื อ ด้ ว ยมื อ ในกำรเชื่ อ มต่ อ เข้ ำ กั บ แหล่ ง จ่ ำ ยไฟทำงเลื อ กอื่ น นอกเหนื อ จำก
แหล่งจ่ำยไฟปกติเพื่อรองรับอุปกรณ์ไฟฟ้ำ 3 เฟส เป็นพื้นฐำน
5. ระบบจ่ำยไฟฟ้ำที่จำเป็น (Essential Electrical System) เป็นระบบที่ประกอบด้วยแหล่งจ่ำยไฟ
ทำงเลือกอื่นนอกเหนือจำกแหล่งจ่ำยไฟปกติรวมทั้งระบบจำหน่ำยและอุปกรณ์ประกอบที่จำเป็น
ตำมที่ ไ ด้ อ อกแบบไว้ เ พื่ อ ให้ มี ไ ฟฟ้ ำ จ่ ำ ยให้ ใ นพื้ น ที่ ที่ ก ำ หนดไว้ ร วมถึ ง กำรใช้ ง ำนของระบบ
สำธำรณู ป โภคในสถำนพยำบำลเป็ น ไปอย่ ำ งต่ อ เนื่ อ งในขณะที่ ไ ฟฟ้ำ จำกแหล่ งจ่ำ ยไฟปกติ เ กิ ด
เหตุขัดข้อง รวมทั้งกำรเกิดจำกเหตุขัดข้องเนื่องจำกระบบกำรเดินสำยภำยใน
6. สำหรับโรงพยำบำลหรือสถำนพยำบำลที่มีโหลดตั้งแต่ 150 kVA ลงมำ วงจรสำหรับอุปกรณ์เครื่องมือ
แพทย์,วงจรช่วยชีวิต และวงจรวิกฤติอำจใช้ไฟจำกสวิตซ์ถ่ำยโอนชุดเดียวกันได้
7. สวิตซ์ถ่ำยโอนสำหรับวงจรอุปกรณ์เครื่องมือ (Equipment System) ที่มีขนำดมำกกว่ำ 150 kVA
จะต้องเป็นชนิดหน่วงเวลำ

ง.2 ระบบไฟฟ้าที่จาเป็น (Essential Electrical System) สาหรับการบริการทางสาธารณสุข


(Health care facility essential electrical systems)
ระบบไฟฟ้าที่จาเป็นที่ถูก กาหนดให้จ่ายไฟฟ้าแก่โหลดในกลุ่มจากัด ได้แก่ ระบบแสงสว่างและระบบ
ไฟฟ้ากาลั ง ซึ่งถูกพิจารณาแล้วว่ามีความจาเป็นต่อความปลอดภัยของชีวิตและขั้นตอนที่หากมีการ
หยุดชะงักจากการดาเนินการในภาวะปกติด้วยเหตุผลใดๆ โหลดเหล่านี้รวมถึง คลีนิค ,สานักงานทาง
การแพทย์และทันตกรรม ,อุปกรณ์การบริการคนไข้นอก , สถานดูแลผู้สูงอายุ , อุปกรณ์การบริการ ,
โรงพยาบาล และอุปกรณ์การบริการทางสาธรณสุขอื่น ๆ ที่กาลังให้การบริการคนป่วย
ง.2.1 โรงพยาบาล (Hospital)
ง.2.1.1 ระบบไฟฟ้าที่จาเป็นสาหรับโรงพยาบาลต้องประกอบด้วยระบบที่แยกกัน 2 ระบบคือ ระบบ
ฉุกเฉิน ( Emergency System) และระบบอุปกรณ์เครื่องมือ ( Equipment System) โดย
ระบบฉุกเฉินคือระบบวงจรที่จาเป็นต่อความปลอดภัยของชีวิตและการดูแลผู้ป่วยวิกฤติซึ่งถูก
ก าหนดให้ เ ป็ น วงจรย่ อ ยของความปลอดภั ย ของชี วิ ต และผู้ ป่ ว ยวิ ก ฤติ ส่ ว นระบบอุ ป กรณ์
เครื่ องมือจะต้องจ่ ายไฟฟ้าให้แก่อุปกรณ์ไฟฟ้าหลั กที่จาเป็นที่ให้ บริการผู้ป่วยและการดาเนิน
การณ์ด้านพื้นฐานทางโรงพยาบาล
ง.2.1.2 การกาหนดจานวนของสวิตช์ถ่ายโอนแหล่งจ่ายไฟที่ใช้ขึ้นอยู่กับความเชื่อถือได้ การออกแบบ
และ การพิจารณาโหลดที่จาเป็นเข้าข่าย โดยสวิตช์ถ่ายโอนแหล่งจ่ายไฟหนึ่งตัวอนุญาตให้ใช้ได้
กับ หนึ่ ง วงจรหรื อระบบในอุ ป กรณ์ การบริ ก ารหรือ มากกว่า โดยมี ความต้อ งการสู ง สุ ด
(Maximum Demand) ของระบบไฟฟ้าที่จาเป็นที่ 150 KVA

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
122

ง.2.1.3 โหลดอื่นๆที่ไม่ได้อ้างถึงใน บทนี้ ต้องถูกจ่ายไฟด้วยสวิตช์ถ่ายโอนแหล่งจ่ายไฟเฉพาะตัวของ


ตัว เอง โดยโหลดเหล่ านี้จ ะต้องไม่ถูกโอนสลั บไปยังแหล่ งจ่ายไฟฟ้าที่จ่ายให้ แก่ระบบไฟฟ้าที่
จาเป็นถ้าการโอนถ่ายดังกล่าวจะทาให้เกิดภาวะโหลดเกิน ( Overload) แก่แหล่งจ่ายไฟฟ้า
ดังกล่าว และโหลดดังกล่าวจะต้องถูกขจัดออกโดยอัตโนมัติ ด้วยอุปกรณ์ป้องกันภาวะโหลดเกิน
(Overload)
ง.2.1.4 การเดินสายของวงจรความปลอดภัยของชีวิตและวงจรวิกฤติ ต้องเดินแยกออกจากวงจรและ
เครื่องมืออื่นๆ และจะต้องไม่อยู่ร่วมใน ทางเดินสาย , กล่องต่อสาย , กล่องพักสาย กันเองหรือ
ร่วมกับวงจรอืน่
โดยมีข้อยกเว้นในกรณีที่การเดินสายดังกล่าวสอดคล้องกับข้อใดข้อหนึ่งดังนี้
(1) อยู่ในกล่องสวิตช์ถ่ายโอนแหล่งจ่าย
(2) อยู่ในป้ายทางออกฉุกเฉินหรือโคมไฟฉุกเฉินที่มีแหล่งจ่ายไฟจาก 2 แหล่ง
(3) อยู่ในกล่องต่อสายร่วมของป้ายทางออกฉุกเฉินหรือโคมไฟฉุกเฉินที่มีแหล่งจ่ายไฟจาก 2
แหล่ง
(4) เป็นวงจรไฟฟ้าฉุกเฉิน 2 วงจรหรือมากกว่าที่มีแหล่งจ่ายไฟจากวงจรย่อยและสวิตช์ถ่ายโอน
แหล่งจ่ายเดียวกัน
การเดินสายสาหรับวงจรอุปกรณ์เครื่องมืออนุญาตให้เดินสายร่วมในทางเดินสาย กล่องต่อสาย
กล่องพักสาย กับวงจรอื่นที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้าฉุกเฉินได้
ง.2.1.5 การเดินสายของระบบฉุกเฉินทั้งหมดต้องมีการป้องกันความเสียหายทางกล ทางเดินสายโลหะ,
สายชนิด MI หรือ ท่ออโลหะอย่างหนา สามารถใช้ได้ ยกเว้น วงจรย่อยที่จ่ายให้กับพื้นที่ดูแล
ผู้ป่วย ไม่อนุญาตให้ใช้ ทางเดินสายอโลหะ ท่ออโลหะอย่างบาง, ท่ออ่อนอโลหะ,ทางเดินสาย
โลหะชนิดหุ้ม หรือ สายเคเบิ้ลชนิดหุ้ม สาหรับการติดตั้งใน คอนกรีต อาจสามารถใช้ได้ถ้า
คอนกรีตมีความหนาไม่น้อยกว่า 50 มม. (2 นิ้ว)
ง.2.1.6 การกาหนดขนาดเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้าต้องมีขนาดที่เพียงพอส าหรับการใช้งานพร้อมๆกันของ
กิจกรรมและอุปกรณ์เครื่องมืออย่างต่อเนื่องในขณะเกิดเหตุขัดข้องของระบบจ่ายไฟฟ้าปกติ
ง.2.1.7 เต้ารับทั้งหมดที่ถูกจ่ายด้วยระบบไฟฟ้าฉุกเฉินต้องมีสีหรือทาเครื่องหมายให้ชัดเจน
ง.2.1.8 วงจรย่ อ ยที่จ่ ายระบบความปลอดภั ยของชีวิ ตอนุ ญาตให้ จ่ ายได้ เฉพาะกับการส่ องสว่างของ
ทางออกฉุกเฉิน, ป้ายบอกทางออกฉุกเฉิน , ระบบแจ้งเตือนและเตือนภัย ,ระบบสื่อสารที่ถูกใช้
ระหว่างสภาวะฉุกเฉิน, การส่องสว่างงานที่ตาแหน่งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า, แสงสว่างของลิ ฟท์,
ระบบควบคุม สื่อสาร สัญญาณ และประตูอัตตโนมัติ เท่านั้น
ง.2.1.9 วงจรย่อยที่จ่ายให้ผู้ป่วยหนักอนุญาตให้จ่ายให้แก่การส่องสว่างในการทางาน และเต้ารับในพื้นที่
ผู้ป่วยหนัก, ระบบพลังงานในสภาพแวดล้อมพิเศษที่แยกเฉพาะ, การส่องสว่างงานและเต้ารับที่
ถูกเลือกในพื้นที่ดูแลผู้ป่วยที่ถูกเลือก, เตียงผู้ป่วยทั่วไป, ห้องทดลองที่ถูกเลือก, การส่องสว่างงาน
และเต้ารับในพื้นที่ดูแลผู้ป่วยเพิ่มเติมตามต้องการ, ระบบเรียกพยาบาล, ธนาคารเลือด กระดูก
และเนื้อเยื่อ, ห้องอุปกรณ์โทรศัพท์, ตู้เสื้อผ้า ฯลฯ
ง.2.1.10 วงจรย่อยสาหรับวงจรวิกฤติสามารถแยกย่อยเป็น 2 วงจรย่อยหรือมากกว่าได้
ง.2.1.11 อุปกรณ์ในระบบตามรายการดังต่อไปนี้จะต้องทาการหน่วงเวลาในการต่อแบบอัตโนมัติ
ง.2.1.11.1 ระบบอุปกรณ์เครื่องมือและระบบควบคุมสาหรับระบบดูดรวม (Central Suction System)
สาหรับการรักษาและการศัลยกรรม

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
123

ง.2.1.11.2 เครื่องสูบน้าและอุปกรณ์ประกอบอื่นที่ใช้ในการช่วยชีวิตเป็นหลัก ทั้งนี้รวมถึงชุดควบคุมและ


แจ้งเตือนของอุปกรณ์ดังกล่าวด้วย
ง.2.1.11.3 อุปกรณ์พร้อมระบบควบคุมของระบบอัดอากาศสาหรับการรักษาและการผ่าตัด
ง.2.1.11.4 ระบบควบคุมควันและบันไดอัดอากาศ
ง.2.1.11.5 ระบบเติมอากาศและระบายออกของเคื่องดูดควันห้องครัว ในกรณีที่ต้องทางานหากเกิดเพลิง
ไหม้ภายในหรือใต้เครื่องดูดควัน
ง.2.1.11.6 ระบบไหลเวียนอากาศ เติมอากาศและระบายอากาศในพื้นที่ทีกาหนด
ง.2.1.11.7 ระบบปรับอากาศ ระบบระบายอากาศและเติมอากาศสาหรับห้องผ่าตัดและห้องคลอด

ง.2.1.12 อุปกรณ์ในระบบตามรายการดังต่อไปนี้จะต้องทาการหน่วงเวลาในการต่อแบบอัตโนมัติ หรือแบบ


ควบคุมด้วยมือ
ง.2.1.12.1 ระบบปรับอากาศสาหรับห้องผ่าตัด, ห้องคลอด, ห้องพักฟื้น,ห้องผู้ป่วยหนัก, ห้องบาบัดพิเศษ
โรคหัวใจ, ห้องอนุบาลเด็กอ่อน, ห้องปลอดเชื้อ,พื้นที่ปฏิบัติการฉุกเฉิน และห้องพักผู้ป่วย
รวมถึงห้องเก็บอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จาเป็นในการช่วยชีวิตที่ถูกเลือก,
ง.2.1.12.2 ลิฟท์ที่ถูกเลือกเพื่อบริการผู้ ป่วย, ส่วนศัลยกรรม, ห้องคลอด ให้สามารถลงมาชั้นล่างได้ใน
ระหว่างที่แหล่งจ่ายไฟปกติเกิดขัดข้อง
ง.2.1.12.3 อุปกรณ์ HYPERBARIC และ HYPOBARIC
ง.2.1.12.4 ประตูอัตโนมัติ
ง.2.1.12.5 เครื่องอบความร้อนด้วยไฟฟ้า (Electrically-Heated Autoclaving) ที่ใช้งานอย่างน้อยที่สุด
ที่ถูกเลือก
ง.2.1.12.6 อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ถูกเลือก

ง.2.1.13 อุปกรณ์ประกอบของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเช่น ชุด ปั้มส่งน้ามันเชื้อเพลิง (Transfer Fuel Pump)


ช่องระบายลม (Louver) ทางานด้วยไฟฟ้า และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จาเป็นต่อการทางานของเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าจะต้ องจัดการให้มีการทางานแบบไม่มีการหน่ว งเวลาการต่อแบบอัตโนมัติไปยัง
แหล่งจ่ายพลังงานทางลือกผ่านระบบอุปกรณ์
ง.2.1.14 ต้องจัดให้มีแหล่งจ่ายพลังงานตามความต้องการไม่น้อยกว่า 2 แหล่งจ่ายคือ แหล่งจ่ายปกติและ
แหล่งจ่ายทางเลือก แหล่งจ่ายทางเลือกอาจเป็น เครื่องกาเนิดไฟฟ้าชุดอื่นในอาคาร, แหล่งจ่าย
จากด้านนอกถ้าแหล่งจ่ายปรกติเป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในอาคารหรือระบบแบตเตอรี่

ง.2.2 สถานดูแลผู้สูงอายุและสถานที่ให้บริการในแบบจากัด
ง.2.2.1 ความสามารถในการให้บริการขึ้นอยู่กับชนิดของการดูแลที่มีในสถานที่นั้น ข้อยกเว้นเฉพาะได้ถูก
ระบุไว้สาหรับประเภทที่แน่นอนของการให้บริการ ถ้าสถานดูแลผู้สูงอายุให้การดูแลแบบการดูแล
ผู้ป่วยภายในโรงพยาบาลก็ต้องดาเนินการณ์ตามข้อกาหนดแบบของโรงพยาบาล สถานดูแล
ผู้สูงอายุและสถานที่ให้บริการในแบบจากัดที่ตั้งอยู่ติดกับหรืออยู่ ในสถานที่เดียวกับโรงพยาบาล
อนุญาตให้ใช้ระบบไฟฟ้าที่จาเป็นที่จ่ายมาจากโรงพยาบาลได้
ง.2.2.2 ระบบไฟฟ้าที่จาเป็นต้องประกอบด้วยอย่างน้อย 2 วงจรย่อยแยกจากกัน วงจรย่อยของความ
ปลอดภัยของชีวิตและผู้ป่วยอาการหนัก

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
124

ง.2.2.3 ความต้องการของสวิตช์ถ่ายโอนแหล่งจ่ายไฟฟ้าเหมือนของโรงพยาบาล
ง.2.2.4 การเดินสายของวงจรความปลอดภัยของชีวิตและวงจรวิกฤติ ต้องเดินแยกออกจากวงจรและ
เครื่องมืออื่น ๆ และจะต้องไม่อยู่ร่วมใน ทางเดินสาย, กล่องต่อสาย, กล่องพักสาย กันเองหรือ
ร่วมกับวงจรอื่น
โดยมีข้อยกเว้นในกรณีที่การเดินสายดังกล่าวสอดคล้องกับข้อใดข้อหนึ่งดังนี้
(1) อยู่ในกล่องสวิตช์ถ่ายโอนแหล่งจ่าย
(2) อยู่ในป้ายทางออกฉุกเฉินหรือโคมไฟฉุกเฉินที่มีแหล่งจ่ายไฟจาก 2 แหล่ง
(3) อยู่ในกล่องต่อสายร่วมของป้ายทางออกฉุกเฉินหรือโคมไฟฉุกเฉินที่มีแหล่งจ่ายไฟจาก 2
แหล่ง
การเดินสายสาหรับวงจรอุปกรณ์เครื่องมืออนุญาตให้เดินสายร่วมในทางเดินสาย กล่องต่อสาย
กล่องพักสาย กับวงจรอื่นที่ไม่ใช่ส่วหนึ่งของวงจรไฟฟ้าฉุกเฉินได้
ง.2.2.5 ความต้องการของการระบุเต้ารับเหมือนของโรงพยาบาล
ง.2.2.6 วงจรย่อยของความปลอดภัยของชีวิตต้องสามารถกลับมาใช้งานได้อัตโนมัติผ่านระบบแหล่งจ่าย
ทางเลือกอื่นภายใน 10 วินาทีหลังการขาดหายของแหล่งจ่ายปกติ
ง.2.2.7 วงจรย่อยที่จ่ายระบบความปลอดภัยของชีวิตต้องจ่ายได้เพียงกับการส่องสว่างของ ทางออก
ฉุกเฉิน ป้ายบอกทางออกฉุกเฉิน ,ระบบแจ้งเตือนและเตือนภัย ระบบสื่อสารที่ถูกใช้ระหว่าง
สภาวะฉุกเฉิน พื้นที่รับประทานอาหารและพักผ่อน การส่องสว่างงานที่ตาแหน่งเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า แสงสว่างของลิฟท์ ระบบควบคุม สื่อสาร สัญญาณ
ง.2.2.8 อุปกรณ์ในระบบตามรายการดังต่อไปนี้จะต้องทาการหน่วงเวลาในการต่อแบบอัตโนมัติไปยัง
วงจรย่อยของผู้ป่วยหนัก
ง.2.2.8.1 จะต้องมีการจัดหาสาหรับการส่องสว่างงานและเต้ารับที่ถูกเลือกในพื้นที่ดูแลผู้ป่วยที่กาหนด
ไว้ในพื้นที่ดังนี้
(1) พื้นที่เตรียมการรักษาทางการแพทย์
(2) พื้นที่การคัดและจ่ายยา
(3) จุดรวมพยาบาล (Nurse Station)
ง.2.2.8.2 เครื่องสูบน้า (Sum Pump) และเครื่องมืออื่นๆที่ต้องการเพื่อการทางานของระบบความ
ปลอดภัยและระบบควบคุมที่เกี่ยวข้อง
ง.2.2.8.3 ระบบควบคุมควันและบันไดอัดอากาศ
ง.2.2.8.4 ระบบเติมอากาศและ/หรือระบายอากาศของเครื่องดูดควัน ถ้ามีความต้องการการทางาน
ในขณะเกิดเหตุเพลิงไหม้ภายในหรือด้านล่างเครื่องดูดควัน
ง.2.2.8.5 ระบบไหลเวียนอากาศ ดูดเข้า เติมและระบายออกในพื้นที่ที่ห้องแยกการระบาดของเชื้อทาง
อากาศที่กาหนด
ง.2.2.9 อุปกรณ์ในระบบตามรายการดังต่อไปนี้จะต้องทาการหน่วงเวลาในการต่อแบบอัตโนมัติ หรือแบบ
ควบคุมด้วยมือ ไปยังวงจรย่อยของผู้ป่วยหนัก
ง.2.2.9.1 เครื่องปรับอากาศในห้องผู้ป่วย
ง.2.2.9.2 ลิ ฟ ท์ บ ริ ก าร เพื่ อ บริ ก ารผู้ ป่ ว ยให้ ส ามารถลงมายั ง ชั้ น ล่ า งสุ ด ได้ ใ นกรณี ไ ฟฟ้ าปกติ เ กิ ด
เหตุขัดข้อง
ง.2.2.9.3 การส่องสว่างเพิ่มเติม เต้ารับ และอุปกรณ์

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
125

ง.2.2.10 แหล่ ง ก าเนิ ดพลั งงานทางเลื อ กต้อ งเป็ นชุ ด เครื่ องก าเนิด ไฟฟ้ า ในเขตอาคารถ้ าแหล่ ง ก าเนิ ด
พลังงานหลักไม่ได้เป็นชุดเครื่องกาเนิดฟ้า โดยแหล่งกาเนิดพลังงานทางเลือกอาจเป็นได้ทั้งเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าอีกชุดหนึ่งหรือแหล่งจ่ายจากด้านนอก ในบางกรณีระบบแบตเตอรีสามารถใช้ได้

ง.3 การบริการทางสาธรณสุขแบบอื่นๆ
ง.3.1 ระบบไฟฟ้าที่จาเป็นต้องเป็นระบบแบตเตอรี่หรือชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ตามความต้องการตามที่ระบุ
ในมาตรฐานนี้หรือมาตรฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ง.3.2 ที่ใดมีความต้องการอุปสาหรับกรณ์ไฟฟ้า ช่วยชีวิตหรือมีพื้นที่ดูแลผู้ป่วยหนัก ให้ใช้ข้อกาหนดตาม
แบบของโรงพยาบาล

ร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

You might also like