You are on page 1of 28

มุมวิศวกรรม 109 – 4809 - 2304

CAPTURE รางระบายน้ําของถนนบนพื้นที่ภูเขา

KF : นายคํารณ หลอไกรเลิศ ผูอํานวยการสํานักสํารวจและออกแบบ


KE : นายพิสิฐ ศรีวรานันท ผูอํานวยการกลุมออกแบบโครงสราง
ชองทาง : จากการสํารวจและออกแบบ โครงการกอสรางทางและสะพาน สํานักสํารวจและออกแบบ
ประเด็น (CAPTURE) : การออกแบบระบบระบายน้ําของถนนบนพื้นที่ภูเขา
TALENT : นายอดิศร อภิรักษวณิชย วิศวกรโยธา 5
LEARING : คนควาจากคูมืองานออกแบบทาง กองสํารวจและออกแบบ กรมทางหลวง
และหนังสือประกอบการเรียนชลศาสตรทางน้ําเปด จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
CREATION : เนือ่ งจากการออกแบบถนนถนนในพืน้ ทีภ่ เู ขาสวนมากจะเปนงานตัดดินเพือ่ ขยายผิวจราจร
และถนนมีความลาดชัน (GRADIENT) มาก ทําใหตองตัดรองน้ําเพื่อทํารางระบายน้ํา
ระบบระบายน้ําจึงถือเปนเรื่องสําคัญ เพราะรางระบายน้ําที่ทอดยาวไปตามลาดถนนเปน
ระยะทางยาวๆ นั้นทําใหน้ําฝนที่ตกลงมาจะรวมตัวกันมากจนลนราง และมีความเร็วสูง
จนทําใหเกิดการกัดเซาะถนนเสียหาย ดังนั้นจึงออกแบบบอรับน้ําเปนระยะๆ ในตําแหนง
ที่เหมาะสม เพื่อลดปริมาณและความเร็วของน้ําในรางระบายน้ํา และใหไหลผานทอลอด
ถนนระบายน้ําออก ไปตามรางดาดที่ลาดเทไปตามลาดคันทาง ซึ่งการออกแบบนี้จะทําให
การระบายน้ําเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
ASSET : ลงใน Web Site ของกรมทางหลวงชนบท สํานักสํารวจและออกแบบ
SHARING : จัดทําเปนเอกสารเผยแพรใหกลุมปฏิบัติงานดานสํารวจออกแบบถนนภายในสํานักสํารวจ
และออกแบบ
DOING : นําไปใชออกแบบสายทางในโครงการกอสรางถนนผิวจราจร Cape Seal เสนทางสาย
บ.แสนเจริญ – บ.ดอนชาง ต.วาวี อ.แมสรวย จ.เชียงราย กม. 3+500 – กม. 8+500
MONITORING : จะประสานงานกับทางหลวงชนบทจังหวัดเชียงรายเพื่อตรวจสอบตอไป
EVALUATE : สามารถนําไปใชออกแบบระบบระบายน้ําของถนนในพื้นที่ภูเขาได
IMPROVE : รายการคํานวณทางหลักวิศวกรรมการระบายน้ํานี้สามารถนําไปประยุกตใชตอไป
รางระบายน้ําของถนนบนพื้นที่ภูเขา

การออกแบบอาคารระบายน้ําและทอระบายน้ําในพื้นที่ที่มีความลาดชันมากหรือพื้นที่ภูเขา ซึ่งมี
อัตราการไหลของน้าํ ในฤดูฝนสูงมาก ซึ่งน้าํ จะทําใหบริเวณไหลทางถูกกัดเซาะไดถาหากไมมีการควบคุม
ความเร็วของน้าํ และระบายน้าํ ออกไปเมื่อมีปริมาณน้ําสะสมสูงขึ้นในเขตพื้นที่ภูเขาที่มีการตัดรองน้ํา ในบาง
ชวงทีถ่ นนยาวและลาดชันมากการระบายน้าํ ตามรางยาวมาก โดยไมมบี อ รับน้าํ และทอลอดถนนเพือ่ ระบายน้าํ
ออกจะทําใหปริมาณน้ํารวมตัวกันจนลนราง และความเร็วการไหลจะสูงมาก ซึ่งในรางดาดคอนกรีตจะยอม
ใหคาความเร็วของน้ําไมสูงกวาความเร็วที่ยอมให V > 6 เมตร / วินาที
การคํานวณดานอุทกวิทยาเพื่อหาอัตราการไหลสูงสุดจะใชวิธี Rational ซึ่งจะใชกับพื้นที่รับน้ํายอย
ไมเกิน 25 ตร.กม. จากสูตร
Q = 0.278 CIA
Q = อัตราการการไหลสูงสุด (ลบ.ม./วินาที)
C = RUNOFF COEFFICIENT (จากรูปที่ 1)
I = อัตราการตกของฝน (มม. / ชม.) (จากรูปที่ 2) ของจังหวัดเชียงราย
A = พื้นที่รับน้ํายอย (ตร.กม.)
คํานวณคา Tc เวลาที่น้ําไหลจากจุดไกลสุดมาถึงจุดที่พิจารณา
Tc = 0.87 L3 0.385

H
L = ระยะทางที่ไกลที่สุดตามลําน้ําหรือแนวน้ําไหลจากจุดที่จะออกแบบอาคารระบายน้ํา
ถึงแนวขอบพื้นที่รับน้ํา (กิโลเมตร)
H = ความสูงแตกตางเฉลี่ยของระดับจุดที่ออกแบบอาคารระบายน้ํากับระดับจุดไกลสุด
ของพื้นที่รับน้ํา (เมตร)

คํานวณอัตราการไหลของน้ําในรางระบายน้ําโดยใช
สูตรการไหลปกติของ Manning เปนการไหลแบบสม่ําเสมอ (Uniform Flow)
Q = 1 AR2/3 S1/2
n

เมื่อ Q = อัตราการไหลของน้ําในทางระบายน้ํา (ลบ.ม. / วินาที)


n = สัมประสิทธิ์ของ Manning
R = รัศมีชลศาสตร = AP
S = ความลาดชันของเสนพลังงานประมาณเทากับความลาดชันของรางระบายน้ํา
P = เสนขอบเปยกหรือผิวที่สัมผัสน้ําของรางระบายน้ํา
รูปที่ 1
รูปที่ 2 กราฟปริมาณน้ําฝนจังหวัดเชียงราย
ตารางคาสัมประสิทธิ์ของ Manning , n.

Type of Channel n Value M Value


Paved (Concrete) Channel 0.013 75
Clay or silt – No Vegetation 0.022 45
Sand Bottom 0.025 40
Paved Slope – Bare Bottom 0.030 35
Gravel up to 5 cm. 0.030 35
Stones up to 25 cm. 0.035 30

ตารางความเร็วสูงสุดที่ยอมใหสําหรับวัสดุชนิดตางๆ

Type of Soil and Cover Vmax (m/s)


Sand Up to 0.6
Loam 0.6 – 0.9
Grass 0.6 – 0.9
Clay 0.9 – 1.5
Clay and Gravel 1.2 – 1.5
Good Sod, Coarse gravel , Cobbles, Soft Shale 1.2 – 1.8
Conglomerates , hard Slude, Soft Rock 1.8 – 2.5
Hard Rock , Concrete lining 2.5 – 5.0
ลักษณะโครงการ
ลักษณะโครงการเปนถนนลาดยางผิว Cape Seal กวาง 6.00 เมตร ไมมไี หลทาง สาย บ.แสนเจริญ –
บ.ดอนชาง อ.แมสรวย จ.เชียงราย กม. 3+500 ถึงกม. 8+500 ระยะทาง 5.000 กิโลเมตร ซึ่งตลอดสายทาง
ผานพื้นที่ภูเขา (รูปที่ 3) ความลาดชันของถนนสูงมาก โดยเฉพาะชวง กม. 7+550 ถึง กม. 8+450 จะมี
ลักษณะของถนนมีความลาดมาพบกันเปนโคงหงายที่ กม. 7+657.500 ถนนชวงกม. 7+550 – กม. 7+657.500
มีความลาดชันเทากับ –9.800% ถนนชวงกม. 7+657.500 – กม. 8+450 มีความลาดชันหลายคา คือ
ชวงกม. 7+657.500 – กม. 7+725 ลาดชัน +12.320%
กม. 7+725 – กม. 7+800 ลาดชัน +14.267%
ชวงกม. 7+800 – กม.7+925 ลาดชัน +8.880%
ชวงกม. 7+925 – กม. 8+050 ลาดชัน +11.120%
กม. 8+050 – กม. 8+200 ลาดชัน +11.887%
ชวงกม. 8+200 – กม. 8+275 ลาดชัน +4.000%
กม. 8+275 – กม. 8+387.500 ลาดชัน +16.778%
ซึ่งในชวงกม. 8+200 – กม. 8+325 ทั้งสองฝงเปนเหวจึงไมจําเปนตองออกแบบรางระบายน้ํา ชวงกม.
8+137.500 – กม. 8+200 มีความลาดชันไมมากมีงานดินตัดฝงซายจึงออกแบบรางระบายน้ําฝงซายทายใน
ชวงสั้นๆ
ตั้งแต กม. 7+725 – กม. 8+125 ระยะทาง 400 เมตร ดานขวาทางเปนงานตัดดินจึงตองออกแบบ
รางระบายน้ํา ซึ่งความยาวของรางระบายน้ําคอนขางยาวมาก จึงไดทําการคํานวณตรวจสอบอัตราการไหล
และความเร็วการไหล วารางระบายน้ําสามารถรองรับปริมาณน้ําไดหรือไม และตองมีบอรับน้ําที่จะรับน้ํา
ระบายออกหรือไม
หลักการวิเคราะหออกแบบรางระบายน้ํา
การคํานวณออกแบบระบบระบายน้ําจะแบงไดเปน 2 สวน คือ การคํานวณทางอุทกวิทยาเพื่อหา
อัตราการไหลจากฝนที่ออกแบบ ซึ่งโดยทั่วไปรางระบายน้ําขางทางจะใชฝนออกแบบที่คาบการกลับ
(Return Period) 5 ป และคํานวณหาอัตราการไหลโดยใชสูตร Rational สวนตอมาจะวิเคราะหคํานวณทาง
ดานชลศาสตรเพื่อหาหนาตัดการไหล ความเร็วการไหล และตําแหนงบอรับน้ําในการคํานวณออกแบบจะ
ใชสูตรการไหลของ Manning
การคํานวณทางดานอุทกวิทยา เริ่มจากการลากเสนแนวสันปนน้ําและหาพื้นที่รับน้ํา (Catchment
Area) จากแผนที่ท่ีแสดงเสนระดับ (Contour) ซึ่งครอบคลุมชวงถนนที่ตองการออกแบบรางระบายน้ํา
จากนั้นแบงพื้นที่รับน้ําทั้งหมดออกเปนพื้นที่รับน้ํายอย (Subcatchment Area) แลวคํานวณหาอัตราการไหล
ของแตละพื้ น ที่ รับน้ํายอยนําไปเขียนกราฟความสัมพันธระหวางระยะทางกับพื้นที่น้ํารับ ดังรูปที่ 5
นํากราฟอัตราการไหลมาคํานวณทางดานชลศาสตรจากหนาตัดรางระบายน้ําที่ออกแบบไว โดยตรวจสอบ
ความสามารถของหนาตัดรางระบายน้ําวาสามารถรองรับอัตราการไหลไดหรือไม พรอมทั้งตรวจสอบ
ความเร็วการไหลในรางระบายน้ําวาเกินกวาคาความเร็วสูงสุด (5 ม./วินาที) หรือไม หากวาคาใดเกินกวา
คาที่กําหนดก็จะออกแบบอาคารควบคุม เชน Concrete Ditch check เพื่อสลายพลังงานการไหลจะทําให
ความเร็วของน้ําลดลง หรือออกแบบบอรับน้ํา หากอัตราการไหลเริ่มมากกวาความสามารถของหนาตัดราง
ระบายน้ําที่จะรับได เพื่อรับน้ําใหระบายออกทิ้งผานทอลอดถนนระบายผานรางดาด คสล. ทิ้งไปตามลาด
ของคันทาง น้ําในรางระบายน้ําผานบอรับน้ําก็จะเริ่มสะสมใหม โดยทําการออกแบบตามขั้นตอนดังกลาวนี้
ตลอดความยาวรางระบายน้ํา
วิธีการคํานวณ

โครงการกอสรางถนนลาดยางผิว Cape Seal เสนทางสาย บ.แสนเจริญ – บ.ดอยชาง อ.แมสรวย


จ.เชียงราย
คํานวนหาคา Tc = 0.87 xL3 0.385

กม.ที่ 8+125 – 8+050


H เฉลี่ย = (1x4.23) + (5.34x5.87) = 0.47
75
L = 0.075
Tc = 0.87 x0.0753 0.385
0.47
= 0.064 ชม. = 3.8 นาที
เลือกใช Tc = 15 นาที ที่คาบ 5 ป
จากรูปที่ 2 ได I = 130 mm/hx.
จากรูปที่ 1 ไดคา c จาก Band 3 = 0.30
การคํานวณหาอัตราการไหลสูงสุดโดยวิธี Rational
Q = 0.278 CIA
Area = 0.048 ตร.กม.
Q = (0.278) (0.30) (130) (0.048)
= 0.520 m3/sec.
การคํานวณออกแบบรางระบายน้ํา จะใชกราฟไหลปกติ จากรูปที่ 6
จาก AR2/3 = Qn = (0.520) (0.013) = 0.486
b8/3 b8/3S1/2 (0.38/3) (0.1191/2)
ตารางแสดงการคํานวณหาอัตราการไหลโดยใชสูตร Rational

ระยะทาง พื้นที่รับน้ํายอย พื้นที่สะสม Q


กม. หมายเหตุ
(ม.) (ตร.กม.) (ตร.กม.) (ลบ.ม./ว)
8+125 RT
8+050 RT 75 0.048 0.654 0.654
8+050 RT
7+925 RT 125 0.025 0.34 0.994
7+925 RT
7+800 RT 125 0.042 0.613 1.607
7+800 RT
7+725 RT 75 0.035 0.511 2.118
รูปที่ 6 กราฟคํานวณความลึกปกติสําหรับการไหลสม่ําเสมอของสูตร Manning
จากกราฟคํานวณความลึกปกติสําหรับการไหลสม่ําเสมอ ที่ Z = 1.5
ไดคา y = 0.54
b
y = 0.54x0.3 = 0.162 ม.
Area = (1x0.162x0.162) + (0.30x0.162) + (1x0.162x0.324)
2 2
= 0.088 ม2
P = 0.229+0.30+0.362
= 0.891
R = A = 0.088 = 0.099
P 0.891
V = 1 R2/3 S1/2
n
= 1 (0.099)2/3 (0.119)1/2
0.013
= 5.68 m/sec < 6 m/sec ok.
ออกแบบทอกลมลอดถนน
การคํานวณจะใชสูตรการไหลปกติของ Manning โดยใชกราฟรูปที่ 6

จากสูตร Manning Q = 1 AR2/3 S1/2


n
ระดับแตกตางปลายทอ = 0.12 ม. ความยาวทอ = 12 ม.
ใชทอขนาด ∅ 0.80 ม. ความยาวลาดชัน = 0.12 = 0.01
12
AR2/3 = Qn = (0.520) (0.013) = 0.123
8/3 8/3 1/2
b b S (0.88/3) (0.011/2)
จากกราฟคํานวณความลึกปกติสําหรับการไหลสม่ําเสมอ (รูปที่ 6)
ได y = 0.43
d
y = 0.43x0.8 = 0.344 ม.
จากกราฟคํานวณหา Hydraulic Element ตางๆ ของทอกลม (รูปที่ 7)
V = 0.94
Vo
รูปที่ 7 กราฟคํานวณหา HYDRAULIC ELEMENT ตางๆ ของทอกลม
ความเร็วกรณีน้ําไหลเต็มทอ Vo = 1 R2/3 S1/2
n
R = D = 0.8 = 0.2 ม.
4 4
Vo = 1 x 0.22/3 x 0.011/2
0.013
Vo = 2.63
V = 2.63x0.94
ไดความเร็วการไหลในทอกลมลอดถนน = 2.47 m/sec < 6 m/sec ok.

กม.ที่ 7+925 – 8+050 ทําการคํานวณใหม เพื่อหา Q สะสมใหม


L = 125 ม.
HAV = (1x6.63) + (6.8x7.51) = 0.46 ม.
125
Tc = 0.87 x0.1253 0.385
0.46
= 0.12 ชม. = 6.9 นาที
เลือกใช Tc = 15 นาที ที่คาบ 5 ป จากกราฟ I = 140 mm./hr.
runoff c = 0.35
Q = (0.278) CIA
Area = 0.025 ตร.กม.
Q = (0.278) (0.35) (0.025) (140)
= 0.34 m3/sec

V = 1 (0.099)2/3(0.111)1/2 y = 0.54
0.013 b
= 5.48 m/sec ok. Y = 0.54x0.30 = 0.162

จาก Fr = V = 5.48 = 4.34 > 1


√gD √(9.81x0.162)
E1 = y1 + V12 = 0.162 + 5.482 = 1.69 m.
2g 2x9.81
เนื่องจากไมมีการสูญเสียพลังงาน
E2 = 1.69 – 0.25 = 1.44 m.
2
E1 = y2 + V2 = y2 + q2
2g 2g y22

q = V1 y1 = 5.48 x 0.162 = 0.89 m3/sec


1.44 = y2 + 0.892 = y2 + 0.04
2
2x9.81xy2 y22
1.44 = y23 + 0.04
จะได y2 เปนสมการกําลัง 3
0 = y23 - 1.44 y22 + 0.04
จากการหาสมการ กําลัง 3 จะไดคา y2 สามคาใหใชคาที่เปนบวกทดสอบคา Fr (หรือใชวิธี Trial and error)
y2 คาที่ 1 = 1.42
y2 คาที่ 2 = -0.158 (คา y2 ติดลบไมนํามาใชในการคํานวณ)
y2 คาที่ 3 = 0.178
ไดคา y2 = 0.178 และ 1.42 ตรวจคา y2 ใหใชได
เมื่อ y2 = 0.178 V2 = q = 0.89 = 5 m/sec
y2 0.178
Fr2 = V2 = 5 = 3.78 > 1
√gD √(9.81x0.178)
เมื่อ y2 = 1.42 V2 = 0.89 = 0.627 m/sec
1.42
Fr2 = 0.627 = 0.168 > 1
√9.81x1.42
คา y2 ที่ทําให Fr2 > 1 คือ 0.178 m
Q2 = A2 V2
A2 = (1x0.168x0.168) + (0.30x0.168) + (1x0.336x0.168)
2 2
= 0.093
Q2 = 0.093x0.627
= 0.058 m3/sec คืออัตราการไหลที่ผาน
จากนั้นก็นํา Q2 ไปหา Q3 ที่สะสมจากรางระบายน้ําตอ
References (บัญชีเอกสาร / หลักฐานประกอบ)

1. กองสํารวจและออกแบบ “ คูมืองานออกแบบทาง ”, กรมทางหลวงชนบท, สิงหาคม 2530


2. นายอัศวิน กรรณสูตร “ การออกแบบทาง ”, สํานักสํารวจและออกแบบ กรมทางหลวง
3. ชลศาสตรทางน้ําเปด จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
4. Watkins, L.H., Fiddes, D., “HIGHWAY AND URBAN HYDROLOGY IN THE TROPICS ”,
Pentech Press limited, 1984.
5. Stephenson, D. “ STORMWATER HYDROLOGY AND DRAINAGE ”, ELSEVIER SCIEMTIFIC
PUBLISHING COMPANY, Amsterdam – Oxford – New York 1981

You might also like