You are on page 1of 102

บทที่ 2

เบรกดาวน์ในฉนวนเหลว และ ฉนวนแข็ง


Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 1 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
(High Density Polyethylene) 3
1000 HDPE ( 0.01 mm )
PE(บริสุทธิ์ 40μm)
Eb (0.1 mm)
ฉนวนเหลวบริสุทธิ์ ไมก้า (บริสุทธิ์)
100 (1 mm)
PXE PE(extrusion)
kV SF6 (3 bar) (Pheny-Xyly-Ethan)
mm น้ํามัน กระดาษ
หม้อแปลง(แห้ง) (impregnate)

10 (10 cm) SF6 (1 bar)


กระดาษ
น้ํามันหม้อแปลง(ชื้น)
อากาศ
(1 bar)
1 ฉนวนเหลวไม่บริสุทธิ์

Ne (1 bar)

0.1
สูญญากาศ ก๊าซ ฉนวนเหลว ฉนวนแข็ง

หน้าที่หลักของฉนวน คือ รับแรงดันไฟฟ้าหรือความเครียดสนามไฟฟ้า ซึ่งอาจต้องรับแรงกล ความร้อนและปฏิกิริยาเคมีด้วย


ฉนวนก๊าซจึงทำหน้าที่ได้ไม่ครบ ฉนวนแข็งทำหน้าที่รับแรงกล ฉนวนเหลวเหมาะกับการแทรกซึมและระบายความร้อน

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 2 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1 ลักษณะสมบัติที่สำคัญของฉนวนเหลว
คุณสมบัติที่เป็นตัวชี้ถึงคุณภาพของฉนวนที่สำคัญ

๏ Resistance (R) ; Resistivity( ρ ) ; Conductivity( κ )


๏ Permittivity หรือ Dielectric constant (ε)
๏ Dielectric loss factor หรือ dissipation factor (tanδ)
๏ Dielectric Strength Eb

2.1.1 Resistance (R) ; Resistivity(ρ ) ; Conductivity (κ )


Electrical Resistance(ความต้านทาน) [R] คือการต้านการเคลื่อนที่ของอนุภาคประจุในวัสดุฉนวน
ด้วยการชนกับ atom trunks ดังนั้นเมื่อพิจารณาว่าวัสดุมีพื้นที่หน้าตัด [A] กว้าง โอกาสชนของ
อนุภาคประจุกับ atom trunks จะน้อยลงในขณะที่เมื่อพิจารณาตามความยาวของวัสดุ โอกาสที่
อนุภาคประจุจะชนกับ atom trunks จะมากขึ้นลง
1 1 ⎡ Ω ⋅ m2 ⎤
R∝
1
; R∝ℓ ρ= = =⎢ ⎥ = [Ω ⋅ m ]
A κ σ ⎣ m ⎦
ถ้า Specific Resistivity (ความต้านทาน
ρ ⋅ℓ ℓ ℓ
จำเพาะ) [ρ ] คือความต้านทานของวัสดุ R= = =
ที่มีขนาด A = 1 m2 ; ℓ= 1 m A κ ⋅A σ ⋅A
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 3 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ความนำจำเพาะ (Conductivity) : κ
อนุภาคประจุที่เคลื่อนที่ในไดอิเล็กทริคของเหลวในสนามไฟฟ้ากระแสตรง (DC-
Field) ส่วนใหญ่คือไอออนบวกและไอออนลบซึ่งเกิดจากการแยกตัว(Association)
ของสิ่งแปลกปลอม(Impurity) และของผลิตผลจากการเสื่อมสภาพ (Aging Product)
J, S : Current Density
สนามไฟฟ้ากระแสตรง (DC-Field)
q : ค่าประจุของอนุภาคประจุ
DC-Current Density : J=S = q ⋅ n ⋅b ⋅ E n : ความหนาแน่นอนุภาคประจุ
b : สภาพการเคลื่อนที่
DC-Conductivity : κ = q ⋅ n ⋅b E : ความเข้มสนามไฟฟ้า
r : รัศมีเฉลี่ยอนุภาคประจุ(ไอออน)
q
Mobility : b= η : ความหนืด(Viscosity)ของอนุภาค-
6 ⋅ π ⋅η ⋅ r ประจุในตัวกลาง(ของเหลว)

ค่าความนำจำเพาะ (DC-Conductivity) ในสนามไฟฟ้าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงคงที่ จะ


มีค่าลดลงเมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไป และท้ายสุดจะคงตัว (Stationary Conductivity) ซึ่ง
ค่านี้จะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิตามกฎของ Van’t Hoff
F F : Matter Constant
− T : Absolute Temperature
κ =κ0 ⋅e kT
k : Boltzmann’s Constant
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 4 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
F
− A B C D
log
κ =κ0 ⋅e kT

κ0

1 ϑ -36 -3 3 5 [s] t
T 10 10 10 10 10
A : กระแสลดลงเนื่องจาก Orientation ของ Dipole
B : กระแสค่อนข้างคงที่ เนื่องจากอนุภาคประจุเคลื่อนที่ไปหาขั้วไฟฟ้า ค่าความนำนี้
เรียกว่า Actual Conductivity ( κ ∼ ) เป็นค่าความนำไฟฟ้าค่าเดียวกับค่าที่วัดด้วย
แรงดันกระแสสลับ 50 Hz
C : ค่าความนำไฟฟ้าลดลงมาก เนื่องจากการลดลงของอนุภาคประจุที่เคลื่อนที่ได้เร็ว
ที่เกิดจากรังสี(Radiation) ซึ่งมีจำนวนจำกัดในของเหลว และเนื่องจากการรวมตัว
ของอนุภาคประจุ (เกิด Space Charge) บริเวณหน้าขั้วไฟฟ้า (Electrode)
D : การไหลของกระแสที่คงที่เนื่องจากการแยกตัว(Dissociation) ของสิ่งแปลกปลอม
(Impurity) และของผลิตผลจากการเสื่อมสภาพ (Aging Product)
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 5 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1.2 Permittivity (ε)

+Q0 C0 -Q0 +Q C -Q
Dielectric

E i(t)
Dielectric

U U U

ε = ε0 ⋅εr
Permittivity (ค่าคงตัวไดอิเล็กทริค) [ε] คือคุณสมบัติ C
ของวัสดุที่บอกถึงความสามารถในการนำฟลักซ์ไฟฟ้า εr =
เมื่อพิจารณาในเชิงวัสดุจะหมายถึงความสามารถใน
C0
−9
การเกิดขั้ว (Polarization) ของวัสดุ (สะสมประจุ Q ) 10 ⎡ A⋅s ⎤
ε0 = ⎢⎣ V ⋅ m ⎥⎦
36 ⋅ π
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 6 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
I I0 +Q0 Ip
+Qp

U s Dielectric ε = ε0 ⋅εr
C !r
-Qp
-Q0

ψ 0 = Q0 วัสดุที่มีคุณสมบัติค่า Permittivity (ค่าคงตัวไดอิเล็กทริค)


[ε] สูงเป็นวัสดุที่ยินยอมให้ฟลักซ์ไฟฟ้าผ่านได้ดี ดังนั้นถึง
! dψ ! แม้จะมีความหนาแน่นของฟลักซ์ไฟฟ้าสูง ความเครียดทาง
D = ! = ε0 ⋅εr ⋅ E ไฟฟ้าของวัสดุจะต่ำกว่าเมื่อเทียบกับวัสดุที่มี ε ต่ำกว่า
dA
ในการพิจารณาค่าทางคณิตศาสตร์เรื่องการสูญเสียใน ε r = ε r′ +- jε r′′
ไดอิเล็กทริคเนื่องจากกลไกการเกิดขั้ว(Polarization
Mechanism) จะพิจารณาค่า Relative Permittivity เป็น
ปริมาณ Complex
ε r′′ : Loss Index

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 7 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1.3 Dielectric losses

วัสดุเมื่ออยู่ใต้แรงดันไฟฟ้า หมายถึงการสะสมพลังงานในรูปพลังงานสนามไฟฟ้า
(สะสมQ) ซึ่งขึ้นอยู่กับ ε และ C ดังกล่าว แต่ในการสะสมพลังงานนั้นวัสดุจะสูญเสีย
พลังงานไปบางส่วนจากกระบวนการทางฟิสิกส์ต่างๆ เรียกว่า Dielectric losses ส่วน
ในทางไฟฟ้าพบว่าในการสะสมพลังงานนั้นใช้ในรูปของกระแสชาร์จประจุ (I C :
Imaginary part)ส่วนพลังงานที่สูญเสียอยู่ในรูปของกระแสค่าจริง(IR: Real part)
I
IR

R IC I
I
C
"
IC
!

IR U
U
ดังนั้นกำลังไฟฟ้าสูญเสียในไดอิเล็กทริค (Dielectric Losses) จึงคำนวณได้จาก
สมการ I R = I ⋅ cosθ
Pdiel = U ⋅ IR ⇒ ⇒ Pdiel = U ⋅ I C ⋅ tan δ
I R = I C ⋅ tan δ
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 8 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
Pdiel = U ⋅ I C ⋅ tan δ
tanδ จึงได้ชื่อว่าเป็นตัวประกอบกำลัง
I C = U ⋅ ω ⋅C ไฟฟ้าสูญเสียในไดอิเล็กทริค หรือ
Dielectric loss factor หรือ dissipation
Pdiel = U 2 ⋅ ω ⋅C ⋅ tan δ factor และ มุม δ เรียกว่า loss angle

Definition :
activePower U ⋅ I ⋅ cosθ I R
tan δ = = =
reactivePower U ⋅ I ⋅sin θ I C

กำลังไฟฟ้าสูญเสียในไดอิเล็กทริคต่อหน่วยปริมาตร :
Pdiel ε 0ε r A 1

Pdiel = = U ⋅ ω ⋅ tan δ ⋅
2

Volume s s⋅A
2
U

Pdiel = 2
⋅ ω ⋅ ε 0 ⋅ ε r tan δ = E 2
⋅ ω ⋅ ε 0 ⋅ ε r tan δ
s
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 9 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าสูญเสียในไดอิเล็กทริค tanδ นั้นขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลง
ของอุณหภูมิ และความถี่ การวิเคราะห์ค่าทางคณิตศาสตร์จะใช้วงจรสมมูลเป็นแบบ
วงจรขนานของ complex C กับ R ดังนั้นค่า relative permittivity จึงใช้ค่า complex
ε r = ε r′ − jε r′′
ในขณะที่ค่า Geometrical Capacitance (หรือค่าความจุไฟฟ้าสูญญากาศ ของขั้วไฟฟ้า)
A
C0 = ε0 ⋅
s
ดังนั้นค่า Complex Capacitance คำนวณได้ดังนี้ :

C = ε r ⋅C0 = (ε r′ − jε r′′)⋅C0
กระแส Complex ที่ไหลในวัสดุไดอิเล็กทริคจะมีค่าดังนี้ :
U
I = + jω (ε r′ − jε r′′)⋅C0 ⋅U
R
1
I = ( + ω ⋅ ε r′′⋅C0 )⋅U + ( jω ⋅ ε r′C0 )⋅U
R
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 10 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
1
I = ( + ω ⋅ ε r′′⋅C0 )⋅U + j(ω ⋅ ε r′C0 )⋅U
R
1
IR ( + ω ⋅ ε ′′
r ⋅C 0 )⋅U
tan δ = = R
IC (ω ⋅ ε r′C0 )⋅U

1 ε r′′
tan δ = +
R ⋅ ω ⋅ ε r′ ⋅C0 ε r′

tan δ = tan δ Cond. + tan δ Pol. ⇒ Pdiel = U ⋅ ω ⋅C ⋅ tan δ Total


2

tan δ Cond. ตัวประกอบความสูญเสียในไดอิเล็กทริคเนื่องจากการนำกระแส


(Conduction)

tan δ Pol. ตัวประกอบความสูญเสียในไดอิเล็กทริคเนื่องจากการเกิดขั้วไฟฟ้า


(Polarization)
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 11 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1.3.1 กลไกการเกิดขั้วไฟฟ้า (Polarization Mechanisms)

เพื่อให้เข้าใจความสูญเสียในไดอิเล็กทริคเนื่องจากการเกิดขั้วไฟฟ้า จึงจำเป็นต้อง
เข้าใจกลไกการเกิดขั้วไฟฟ้าของวัสดุก่อน ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะโครงสร้างของวัสดุ
นั้นๆ ดังนั้นการเกิดขั้วไฟฟ้าจึงแบ่งออกได้ดังนี้คือ
๏ Electronic polarization : เป็นการเกิดขั้วไฟฟ้าของอะตอม
๏ Ionic polarization : เป็นการเกิดขั้วไฟฟ้าของไอออนในผลึก
๏ Orientational(Dipolar) polarization : เป็นการกลับตัวเรียงตัวเข้าสู่แนวของ
สนามไฟฟ้าของโมเลกุลชนิดสองขั้ว (Dipolar molecule)
๏ Interfacial polarization : เป็นการเกิดขั้วไฟฟ้าของวัสดุ 2 ชนิดที่รอยต่อหรือ
ระหว่างขอบเขตต่างๆ ภายในวัสดุ

ในการเกิด electronic polarization จะก่อให้เกิดคำจำกัดความของกลไกในการเกิด


ขั้วไฟฟ้าที่ใช้เป็นพื้นฐานในการพิจารณาการเกิดขั้วไฟฟ้าชนิดอื่นๆ ดังนั้นการกล่าว
ถึงคำจำกัดความต่างๆ จึงมีความจำเป็นที่ต้องอธิบายไปพร้อมๆ กัน

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 12 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1.3.1.1 Electronic Polarization & Dipole Moment

Electric Dipole Moment ได้ถูกจำกัดความเอาไว้ว่าหมายถึง Moment (p) ที่เกิดขึ้นระหว่าง


ประจุบวกและประจุลบที่มีขนาดเท่ากัน(Q)โดยประจุทั้ง 2 อยู่ห่างกันระยะทาง x

p = Q⋅x โดยที่ x เป็นเว็คเตอร์(vector) ที่มีทิศทางจากประจุลบไปหาประจุบวกใน


ขอบเขตที่บรรจุด้วย Q+ และ Q- จะมีค่าประจุสมบูรณ์ (net charge) เท่ากับศูนย์

Dipole Moment Q− Q+ QNet = 0

x p = Q⋅x Electronic
Polarization
ผลของสนามไฟฟ้าทำให้ตำแหน่งเฉลี่ย Electron Cloud E
ของการโคจรของกลุ่มอิเล็กตรอนเยื้อง
อ อ ก จ า ก ศู น ย์ ก ล า ง ข อ ง อ ะ ต อ ม
กระบวนการเกิด Dipole หรือการเกิดขั้ว
ไ ฟ ฟ้ า ข อ ง อ ะ ต อ ม นี้ เ อ ง ที่ เ ร า เ รี ย ก ว่ า
Polarization Center of
Atomic nucleus
ค่า Induced dipole moment จะเห็นได้ negative charge
pinduced
ว่าขึ้นอยู่กับค่าความเข้มสนามไฟฟ้า
 
ภายนอก E a) E = 0 b) E ≠ 0

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 13 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
pinduced ∼ E ⇒ pinduced = α e ⋅ E
αe คือ สปส.ความสามารถการเกิดขั้วไฟฟ้า (Polarizability) ของอะตอม

2.1.3.1.2 Polarization Vector [P]

วัสดุไดอิเล็กทริคเมื่ออยู่ในสนามไฟฟ้า อะตอมและโมเลกุลของวัสดุฯนั้นจะเกิด Polarization


หรือมี Dipole moment ขึ้นในอะตอมและโมเลกุลของวัสดุฯนั้น ดังนั้น Dipole ทั้งหมดในวัสดุฯ
จะเรียงตัวในแนวของสนามไฟฟ้า เมื่อพิจารณาเฉพาะชิ้นวัสดุฯ (ไม่คำนึงถึงขั้วไฟฟ้า) จะเห็น
ได้ว่า ภายในเนื้อวัสดุจะไม่มี net charge แต่ที่ขอบผิวของชิ้นวัสดุจะเป็นที่รวมของประจุลบและ
ประจุบวก หมายความว่าผลของการเกิด polarization ภายในทำให้เกิดประจุที่ผิว (surface
charge) และ ทั้ง 2 ด้านมีค่าเท่ากัน เรียกได้ว่าเกิด Polarization กับชิ้นวัสดุฯในสนามไฟฟ้า
ซึ่งเราจะสามารถบ่งชี้ Polarization ของตัวกลางใดๆ ได้ด้วยปริมาณที่เรียกว่า Polarization
vector [P] ซึ่งหมายถึง Dipole moment per unit volume

1
P= ⋅( p1 + p2 + p3 + ......+ pN ) ⇒ P = N ⋅ pav.
Volume N คือ Number of molecules per unit volume
p1,p2, ...pN คือ Dipole moment ของโมเลกุลทั้งหมด[N] ในปริมาตรพิจารณา
pav. คือ Dipole moment เฉลี่ยของแต่ละโมเลกุลในปริมาตรพิจารณา เท่ากับ pinduced
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 14 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
E -Qp +Qp ptotal
+Q -Q
A

P
-Qp +Qp

s
U
a) Q p = Q -Q0 b) c)

พิจารณาระดับอะตอม(โมเลกุล)
ptotal = Q p ⋅ s ⇒ P = N ⋅ pinduced
ptotal Qp ⋅ s Qp
P= = = pinduced = α e ⋅ E
Volume A ⋅ s A
! Qp P = N ⋅α e ⋅ E
Polarization P = ! =σp Surface charge
vector A density

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 15 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
พิจารณาระดับวัสดุ

เมื่อพิจารณาตัวกลางทั้งชิ้นวัสดุที่อยู่ในสนามไฟฟ้า ค่า Polarization Vector(P) ก็แปรผันโดยตรง


กับ E เช่นกัน โดยขึ้นอยู่กับคุณสมบัติวัสดุ อัตราการเกิดขั้วไฟฟ้า(Electric Susceptibility)[ χ e] (Chi)

P = χe ⋅ ε0 ⋅ E เนื่องจาก : P =σp
ดังนั้น : σ p = χe ⋅ ε0 ⋅ E
P = χ e ⋅ ε0 ⋅ E = N ⋅α e ⋅ E
พิจารณาขั้วไฟฟ้ามีอากาศเป็นไดอิเล็กทริค :
1
χ e = N ⋅α e U Q0 s Q0 Q0
ε0 E= = = ⋅ =
s C0 ⋅ s ε 0 ⋅ A s ε 0 ⋅ A
จากสมการประจุ : Q = Q0 + Q p Q0
= ε0 ⋅ E
Q Q0 Q p A
หารด้วย A : = + σ 0 = ε0 ⋅ E
A A A
ความหนาแน่นประจุ : σ = σ0 +σ p σ = ε0 ⋅ E + χe ⋅ ε0 ⋅ E
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 16 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
พิจารณาระดับวัสดุ

σ = ε0 ⋅ E + χe ⋅ ε0 ⋅ E ⇒ σ = ε 0 ⋅ E ⋅(1+ χ e )
จากสมการ εr :
C Q Q/A σ ε 0 ⋅ E ⋅(1+ χ e )
εr = = = = ⇒ εr =
C0 Q0 Q0 / A σ 0 ε0 ⋅ E
N ⋅α e
ε r = 1+ χ e ⇒ ε r = 1+
ε0

จะเห็นได้ว่าค่า สปส.ความสามารถเกิด Polarization ของอะตอม หรือ Electronic polarizability


[α e ]ซึ่งเป็นการพิจารณาในระดับอะตอม ทำให้เกิดคุณสมบัติไดอิเล็กทริคในระดับว้สดุ

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 17 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1.3.1.2 Ionic Polarization

วัสดุที่มีโครงสร้างแบบ ionically bond จะมีลักษณะของโครงสร้างของไอออนอย่างเด่นชัดเช่น


Na+ และ Cl- และอยู่เรียงกันอย่างเป็นระเบียบของ ion pair ซึ่งในระหว่างไอออนข้างเคียงก็จะ
เกิด Dipole moment ขึ้น E

P
Ionic polarizability[αi] สามารถอธิบายได้ในเทอมของ Local field ดังนี้

pav ∼ E = α i ⋅ ELocal โดยปรกติ αi จะมีค่ามากกว่า αe ประ-


มาณ 10 เท่า ซึ่ง Polarizability ที่มีค่า
มากกว่า แสดงว่าค่า Induced dipole
P = N i ⋅ pav = N i ⋅ α i ⋅ ELocal moment ของวัสดุ ionically bond จะมีค่า
มากกว่า ซึ่งจะส่งผลให้วัสดุชนิดนี้มีค่า εr
ที่มากกว่า

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 18 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1.3.1.2 Ionic Polarization

เมื่อพิจารณาถึงแต่ละไอออน ซึ่งก็ประกอบด้วยกลุ่มอิเล็กตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียสด้วยเช่นกัน
และแน่นอนเมื่ออยู่ภายใต้สนามไฟฟ้าในตัวไอออนเองก็เกิด Electronic polarization ด้วย แต่
เมื่อเปรียบเทียบกับค่า Dipole moment ของการเกิด ionic polarization แล้วถือว่าน้อยกว่ามาก

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 19 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1.3.1.3 Orientation Polarization
วัสดุที่มีโครงสร้างเป็น Permanent dipole จะมี Permanent dipole moment (p0) ในสภาวะปลอด
E ไม่ว่าในสถานะก๊าซหรือของเหลว โมเลกุลจะเรียงตัวกันอย่างสุ่ม (Random) ซึ่งเป็นผลเนื่อง
มาจากความร้อนอย่างสมดุลย์ทางไฟฟ้า แต่เมื่ออยู่ภายใต้สนามไฟฟ้า E แรงที่เกิดจากสนาม
ไฟฟ้าจะพยายามทำให้โมเลกุล (Dipolar) เรียงตัวกันในแนวของสนามไฟฟ้า ในขณะที่ตัวมัน
เองก็มีแรงยึดซึ่งกันและกันอยู่ นั่นก็หมายความว่า Dipolar นี้เกิดแรงบิด ขึ้น(Torque[τ]) เมื่อให้
Dipolar นี้หมุน p0 ให้เข้าแนวของสนามไฟฟ้า E และถ้าโมเลกุลทุกตัวเรียงตัวเข้าอยู่ในแนว
สนามไฟฟ้า Polarization Vector มีค่าดังนี้

P = N ⋅ pav0 Q- Q+
pav = 0
! p0

1 p0 ⋅ E
2 a)
pav = ⋅ Q+ b)

3 kT τ F = Q⋅E

2 E
1 p0 p0= a⋅Q

αd = ⋅ F Q-
pav = 0

3 kT c) E d)
E
dipolar orientation polarization
จากสมการ Dipole polarizability ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ค่า εr ของวัสดุ
ประเภทนี้จะมีค่าลดลงเมื่ออุณหภูมิของวัสดุนั้นเพิ่มขึ้น
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 20 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 21 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1.3.2 Conduction loss
a) Frequency dependence
ในสนามไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ต่ำ (0.1 Hz....100Hz) อนุภาคประจุที่เคลื่อนที่คือไอออน
ดังนั้นมักเรียกการนำไฟฟ้านี้ว่า “การนำกระแสไฟฟ้าไอออน” (Ionic conduction) และ
เนื่องจากความถี่ต่ำจึงมีลักษณะการนำไฟฟ้าเช่นเดียวกับในสนามไฟฟ้ากระแสตรง ดังนั้น :

κ = q ⋅ n ⋅b
และในสนามไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ต่ำ ที่อุณหภูมิคงที่ ε r′ จะมีค่าคงที่เช่นกัน จึงได้ชื่อว่า
“ค่าคงที่ไดอิเล็กทริค” (Static Dielectric Constant [ ε rs ]) : ε r′ = ε rs = const.
จากสมการตัวประกอบความสูญเสียไดอิเล็กทริคเนื่องจากการนำกระแส :
ε r′ = ε rs
1
tan δ Cond = tan δ Cond
R ⋅ ω ⋅ ε r′ ⋅C0 ε r′

เนื่องจากอุณหภูมิคงที่ R จึงมีค่าคงที่ด้วย ดังนั้น :

1 1
tan δ Cond = ∼
R ⋅ ω ⋅ ε r′ ⋅C0 ω
f
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 22 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
b) Temperature dependence
ลักษณะการนำไฟฟ้าในสนามไฟฟ้ากระแสสลับที่ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ จะพิจารณาจากค่า R :
s ε0 ⋅ A ε0
เมื่อ : R ⋅C0 = ⋅ =
κ∼ ⋅A s κ∼
จากสมการตัวประกอบความสูญเสียไดอิเล็กทริคเนื่องจากการนำกระแส :

1 κ∼
tan δ Cond = =
R ⋅ ω ⋅ ε r′ ⋅C0 ω ⋅ ε rs ⋅ ε 0
ε r′ = ε rs

tan δ Cond
ซึ่งความนำจำเพาะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ
ε r′
ด้วยกฎของ Van’t Hoff
F
-
κ0 ⋅e kT
tan δ Cond =
ω ⋅ ε rs ⋅ ε 0
ϑ
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 23 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
c) Voltage dependence
จากสมการตัวประกอบความสูญเสียไดอิเล็กทริคเนื่องจากการนำกระแส :

1
tan δ Cond. = κ
= ∼
= f( κ ∼) เมื่อ อุณหภูมิและความถี่คงที่
R ⋅ ω ⋅ ε r′ ⋅C0 ω ⋅ ε rs ⋅ ε 0
d

κ ∼ = f(ϑ , U) = f(U) เมื่อ อุณหภูมิคงที่


และ E ~ U

เพราะฉะนั้น tan δ Cond. = f(U)


ε r′ = ε rs

tan δ Cond

ε r′

ϑU
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 24 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1.3.3 Polarization loss
a) Frequency dependence ตัวประกอบความสูญเสียในไดอิเล็กทริคเนื่องจากการเกิดขั้ว
ไฟฟ้า(Polarization) คือ : εr′′
ในสนามไฟฟ้ากระแสสลับ โมเลกุล(Dipole) จะหมุน tan δ Pol. =
กลับขั้วตามความถี่ทุกๆครึ่งคาบ : ที่อุณหภูมิคงที่
ε r′
ε r′
ความถี่ต่ำ : ความเข้มสนามไฟฟ้า E เปลี่ยน
ทิศทางไปพร้อมกับ P (Polarization
Vector) (in phase)
ความถี่สูง : การเปลี่ยนทิศทางของ E และ P ไม่
พร้อมกัน (phase shift) ส่งผลให้ εr มี
ค่าลดลง และนอกจากนั้นผลของการ
เสียดสีของโมเลกุลทำให้เกิดความ ω
สูญเสียในรูปความร้อน ซึ่งหมายถึง
tanδ มีค่าสูงขึ้น
ความถี่สูงมาก : P ไม่สามารถเปลี่ยนทิศทางไป
พร้อมกับ E ได้ εr จึงมีค่าคงที่ ไม่มี
เสียดสีของโมเลกุล จึงไม่เกิดความ
สูญเสีย tanδ 0
ω
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 25 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.1.3.3 Polarization loss ε r′′
b) Temperature dependence tan δ Pol. =
ε r′
ในสนามไฟฟ้ากระแสสลับ โมเลกุล(Dipole) จะหมุน
กลับขั้วตามความถี่ทุกๆครึ่งคาบ : ที่ความถี่คงที่ ε r′

อุณหภูมิต่ำ : โมเลกุลไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ส่ง


ผลให้ εr มีค่าคงที่ ไม่มี loss ซึ่งหมาย
ถึง tanδ 0
อุณหภูมิสูงมาก : วัสดุขยายตัวเกิดช่องว่างให้
โมเลกุลกลับขั้วได้สะดวกมาก การ
เสียดสีของโมเลกุลต่ำ ทำให้เกิด ϑ
ความสูญเสียต่ำซึ่งหมายถึง tanδ 0
อุณหภูมิสูง : โมเลกุลกลับขั้วซึ่งทำให้การเสียดสี
ของโมเลกุลมีค่าสูงสุด จึงเกิดความ
สูญเสียสูงสุด tanδ max. ในขณะที่
ก า ร ก ลั บ ขั้ ว มี ผ ล ใ ห้ ค่ า ε r มี ค่ า
เปลี่ยนแปลงสูงขึ้น
ϑ

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 26 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
tan δ Cond
น้ำมันหม้อแปลง : ที่ 20℃
tanδmin ≈ 101….103 Hz
tanδmax ≈ 105….108 Hz

tan δ Cond น้ำมันหม้อแปลง : ที่ 50Hz


tanδmin ≈ - 60℃
tanδmax ≈ - 8℃
ϑ
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 27 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2 เบรกดาวน์ในฉนวนเหลว (ความคงทนต่อแรงดัน ของฉนวน[Eb]เหลว)
ของเหลวถูกนำมาใช้เป็นฉนวนในอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง เนื่องจากคุณสมบัติการเป็นฉนวนไฟฟ้า
และการเป็นของเหลวในหน้าที่ต่าง ๆ เช่น
๏ ใช้เป็นฉนวนไฟฟ้า
๏ ใช้เป็นสารซึมซับ (impregnate)ใช้เป็นตัวระบายความร้อน
๏ ใช้เป็นตัวดับอาร์ค
๏ ใช้เป็นสารไดอิเล็กทริค

ฉนวนเหลวมีความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าสูงมาก(~1MV/cm) ในทางปฏิบัติ เนื่องจาก


กระบวนการผลิตไม่สามารถทำให้บริสุทธิ์ได้ และผลจากปฏิกิริยาออกซิเดชั่นส่งผลให้เกิดสิ่ง
แปลกปลอมเจือปน(impurity)ขึ้นในฉนวน สิ่งแปลกปลอมหมายถึง ฟองอากาศ หยด
ของเหลวเช่นน้ำ และเนื่องจากโครงสร้างของอุปกรณ์ที่ใช้ฉนวนเหลวไม่สามารถหลีกเลี่ยง
อนุภาคของแข็ง(solid suspended particle)ที่จะแขวนลอยอยู่ในฉนวนเหลวของอุปกรณ์นั้นได้
ดังนั้นทฤษฎีสำหรับกลไกการเบรกดาวน์ในฉนวนไฟฟ้าของเหลวจึงแบ่งออกได้เป็น 2 อย่าง
คือ การอธิบายการเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนเหลวบริสุทธิ์ และการอธิบายการเกิดเบรกดาวน์
ในฉนวนเหลวโดยอาศัยหลักการของสิ่งแปลกปลอมที่เจือปนอยู่ในฉนวนเหลว(ฉนวนเหลว
ไม่บริสุทธิ์)
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 28 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
อนุภาคประจุในฉนวนเหลวที่มีความสำคัญก็คือ ไอออนบวกและไอออนลบ ซึ่งอนุภาค
เหล่านี้เกิดจากการแยกตัว (dissociation) ของสิ่งเจือปน หรืออนุภาคเจือปน เนื่องจาก
การเสื่อมสภาพของฉนวนเหลวเอง และในขณะเดียวกันอนุภาคประจุอิเล็กตรอนที่มีอยู่
ในฉนวนเหลวขณะที่ความเข้มสนามไฟฟ้าต่ำ ๆ จะไม่มีผลต่อกลไกการนำไฟฟ้าเลย
เนื่องจากอิเล็กตรอนอิสระจะสามารถรวมตัว (recombination) กับโมเลกุลของของเหลว
ได้ง่ายมาก โดยการรวมตัวอาจจะรวมตัวเป็นกลาง หรือกลายเป็นไอออนลบก็ได้ ดังนั้น
การพิจารณาการไหลของกระแสในกลไกการนำไฟฟ้าในฉนวนไฟฟ้าของเหลว จึงไม่
จำเป็นต้องพิจารณาอิเล็กตรอน

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 29 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.1 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนเหลวบริสุทธิ์
กลไกการเกิดการเสียสภาพฉับพลันในฉนวนเหลวบริสุทธิ์ที่ไม่มีสิ่งแปลกปลอมเจือปน
นั้นมีหลักการเช่นเดียวกับกรณีของก๊าซ ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนที่ของอนุภาคประจุ จน
เกิดเป็นอะวาลานซ์ของอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนเริ่มต้นจากคะโทดมาจากขบวนการ
field emission หรือ themoionic emission ค่าความคงทนของฉนวนเหลวต่อแรงดัน
ไฟฟ้า (ความเครียดสนามไฟฟ้าเบรกดาวน์) ของฉนวนเหลวบริสุทธิ์นั้นมีค่าสูงมาก

ฉนวนเหลวบริสุทธิ์ สนามไฟฟ้าเบรกดาวน์ [MV/cm]


ไนโตรเจนเหลว 1.6.....1.88

ออกซิเจนเหลว 2.4
Hexane 1.1 .... 1.3
Benzene 1.1

Silicone 1.0 ....1.2

น้ำมันหม้อแปลงบริสุทธิ์ 1.0 .... 1.4

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 30 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.2 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนเหลวไม่บริสุทธิ์

สิ่งเจือปนคือ ก๊าซ
2.2.2.1 การเกิดเบรกดาวน์เนื่องจากฟอง(โพรง)ก๊าซ (Cavity gas discharge)
ฉนวนเหลวจะมีก๊าซปนอยู่จำนวนหนึ่ง ก๊าซจะรวมตัวกันเป็นฟองก๊าซเมื่อของเหลวมีการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิหรือความดัน นอกจากนี้ฟองก๊าซอาจเกิดขึ้นจากสาเหตุ
ต่างๆดังนี้ :
๏ ฉนวนเกิดการเสื่อมสภาพ
๏ รอยขรุขระหรือโพรงที่ผิวอิเล็กโตรดเก็บกักฟองก๊าซไว้
๏ การชนกันของไอออนและอิเล็กตรอนทำให้ของเหลวสลายตัวเป็นก๊าซ
๏ การระเหยของฉนวนเหลวเนื่องจากเกิด PD ในฉนวน
๏ แรงที่เกิดจากกลุ่มประจุค้างที่เกิดขึ้นมากกว่าแรงตึงผิวของฉนวนเหลวทำให้เกิด
ช่องว่าง(ฟองก๊าซ)

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 31 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
เมื่อฉนวนเหลวรับภาระแรงดันชนิดอิมพัลส์หรือแรงดันสูงกระแสสลับ
กระบวนการการเสียสภาพฉับพลัน(เบรกดาวน์)จะสามารถแยกออกได้เป็นขั้น
ตอนได้ 3 ขั้นตอนคือ
๏ Electronic process
๏ Electrothermal process
๏ Gas discharge

Electronic process อนุภาคประจุเริ่มต้นสามารถเกิดขึ้นได้ เนื่องจากสาเหตุของ


การหลุดของอิเล็กตรอนที่ผิวของคาโทด เนื่องจากความร้อนและสนามไฟฟ้า
(Richardson-Schottky-Emission) และเนื่องจากการไอออนไนเซชั่นของโมเลกุล
ฉนวนเหลวบริเวณผิวอิเล็กโตรด เนื่องจากความไม่เรียบของผิวอิเล็กโตรด จึง
ทำให้เกิดความเครียดสนามไฟฟ้าสูงเฉพาะจุด (ผิวของอิเล็กโตรดเมื่อพิจารณา
ด้วยไมโครสโคป จะมีลักษณะเป็นปลายแหลมบนผิวโลหะ ซึ่งปลายแหลมเหล่านี้
มีรัศมีความโค้งในช่วง 0.5 ถึง 50 nm. ซึ่งจะทำให้ความเครียดสนามไฟฟ้า
บริเวณนั้นมีค่าสูงขึ้นเป็น 100 ถึง 300 เท่า) ผลของการไอออไนเซชั่นทำให้เกิด
อนุภาคประจุบวกขึ้น
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 32 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
Electrothermal process โครงสร้างโมเลกุลของของเหลวนั้น ในช่วงต่อ
ระหว่างโมเลกุลจะมี “ช่องว่าง” (ภายในประกอบด้วยโพรงซึ่งบรรจุด้วยไอ
ของของเหลวนั้น หรือเป็นที่อยู่ของก๊าซอื่นที่ละลายปนอยู่ในของเหลวนั้น)
ซึ่งจะขยายตัวกลายเป็นฟองก๊าซ (bubble) การที่มันจะขยายตัวออกมานั้น
เนื่องจากสาเหตุ :

๏ การเพิ่มสูงขึ้นของอุณหภูมิของฉนวนเหลวเฉพาะที่ เนื่องจากการไหลของ
กระแส (อนุภาคประจุเคลื่อนที่ในทิศทางสนามไฟฟ้า) ทำให้ความหนา
แน่นของฉนวนเหลวบริเวณนั้นลดลง และความร้อนทำให้กลายเป็นไอ
และนอกจากนั้นก๊าซที่ละลายปนอยู่ในของเหลวก็จะหลุดตัวกลายเป็น
กลุ่มก๊าซ

๏ เกิดกระบวนการไอออไนเซชั่นใน “ช่องว่าง”

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 33 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
Gas discharge process ในฉนวนเหลวเมื่อมีฟองก๊าซเกิดขึ้น ก็จะขยายตัวยืดใน
แนวสนามไฟฟ้า เพื่อลดพลังงานศักย์ในสนามไฟฟ้า ถ้าสมมุติว่าปริมาตรของ
ฟองก๊าซคงตัวในขณะยืดออก ความยาวจะเพิ่มขึ้น จะทำให้เกิดเบรกดาวน์ใน
ฟองก๊าซนั้นตามทฤษฎีของ พาสเซน (Paschen) เมื่อแรงดันตกคร่อมความยาว
ของฟองก๊าซมีค่าเท่ากับค่าต่ำสุดของเส้นโค้งพาสเซน (Paschen’s Curve) Kao
ได้หาสมการของสนามไฟฟ้าเบรกดาวน์ของฟองก๊าซได้ดังสมการ
1

1 ⎡ 2πσ (2ε1 + ε 2 ) ⎛ π Ub ⎞⎤ 2
Eb = ⎢ − 1⎟ ⎥
ε1 − ε 2 ⎜
⎢⎣ r ⎝4 2rEb ⎠ ⎥⎦

σ ความตึงผิวของฉนวนเหลว
ε1, ε2 ค่าเปอร์มิติวิตี้ของฉนวนเหลวและฟองก๊าซตามลำดับ
r รัศมีเริ่มแรกของฟองก๊าซ (สมมุติให้เป็นทรงกลม)
Ub แรงดันตกคร่อมฟองก๊าซ

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 34 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
สิ่งเจือปนคือ ของเหลว
2.2.2.2 การเกิดเบรกดาวน์เนื่องจากหยดของเหลวอื่น

เมื่อฉนวนเหลวมีหยดของเหลวอื่นเจือปนอยู่ การเกิดเบรกดาวน์เกิดขึ้น
เนื่องจากการเปลี่ยนรูปร่างของหยดของเหลวภายใต้สนามไฟฟ้า ซึ่งจะยืดยาวไปใน
แนวทิศทางของสนามไฟฟ้าดังรูปและเนื่องจากหยดของเหลวมีค่า εr ที่แตกต่างกับ
ฉนวนเหลว(น้ำมัน) ทำให้ความเข้มสนามไฟฟ้าภายในหยดของเหลวที่ยืดตัวออกนั้น
มีค่าไม่เท่ากับค่าความเข้มสนามไฟฟ้าของน้ำมัน(ขั้นอยู่กับอัตราส่วนของ εr) แต่ถ้า
หยดของเหลวเป็นตัวนำไฟฟ้าก็จะทำให้เกิดกระแสไหลในหยดของเหลวที่ยืดตัวออก
และนำไปสู่การเบรกดาวน์ได้ในที่สุด

การยืดตัวของหยดของเหลวเจือปนในฉนวนเหลวซิลิโคน[Alston]
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 35 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
สิ่งเจือปนคือ ของแข็ง

2.2.2.3 การเสียสภาพฉับพลันเนื่องจากอนุภาคของแข็งเจือปน
(Solid suspended particle)

อนุภาคของแข็งที่เจือปนอยู่ในฉนวนเหลว อาจเป็นเส้นใยของกระดาษฉนวน ฝุ่น


ละออง ชิ้นส่วนโลหะเล็กๆ อนุภาคเหล่านี้ติดค้างเจือปนกระจายอยู่ในฉนวนเหลวถ้า
พิจารณาให้อนุภาคเหล่านี้เป็นลักษณะทรงกลม มีรัศมี r และมีค่าเปอร์มิติวิตี้ ε1 สูง
กว่าเปอร์มิติวิตี้ ε2 ของฉนวนเหลวที่มันแขวนลอยอยู่นั้น เมื่อฉนวนเหลวตกอยู่ภาย
ใต้สนามไฟฟ้า อนุภาคเหล่านี้จะเกิดขั้วไฟฟ้า (polarization) จึงเกิดแรงกระทำขึ้นบน
อนุภาค สมการของแรงดังกล่าวสามารถหาได้ดังสมการ

ε1 − ε 2
F = r ⋅ ⋅ E ⋅∇E
3

ε 1 + 2ε 2

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 36 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
แรงที่เกิดขึ้นมีทิศทางชี้ไปยังบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า
สูง ถ้า ε1 > ε2 ถ้า ε1 < ε2 แรงจะมีทิศทางตรงกัน
ข้าม ในกรณีของอนุภาคของแข็งซึ่งมี ε1 > ε2 แรงที่
เกิดขึ้นจะทำให้อนุภาคของแข็งเคลื่อนที่เข้าหา
บริเวณที่มีความเครียดสนามไฟฟ้าสูง ผลของ
อนุภาคที่ถูกดูดเข้าไปทำให้ผิวของอนุภาคมีค่า
ความเข้มสนามไฟฟ้าสูงขึ้น อนุภาคอื่น ๆ จะถูกดูด
เข้าไปเรียงตัวต่อเป็นลูกโซ่ เชื่อมโยงระหว่างอิเล็ก
โตรดในทิศทางของสนามไฟฟ้า และเมื่อความเข้ม
สนามไฟฟ้าของอนุภาคตัวสุดท้ายของแถวที่เรียง
ตัวกันมีความเครียดสูงกว่าความคงทนต่อแรงดัน
ไฟฟ้าของฉนวนเหลว ก็จะทำให้เกิดดีสชาร์จบาง
ส่วน อาจเกิดฟองก๊าซขึ้น และนำไปสู่การเกิดเบรก
ดาวน์ในฉนวนเหลวในที่สุด

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 37 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.3 ตัวแปรที่มีผลต่อเบรกดาวน์ในฉนวนเหลว

ตัวแปรต่อไปนี้ส่งผลต่อการเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนเหลว
๏ ลักษณะขั้วไฟฟ้า
๏ ชนิดแรงดันไฟฟ้า ความชัน(Steepness) ของการเปลี่ยนแปลงแรงดัน (dU/dt)
๏ ระยะเวลาที่รับภาระแรงดัน (µs, ms , s , min , hr)
๏ อุณหภูมิ ความดัน
๏ ก๊าซ น้ำ
๏ ระยะแกป

2.2.3.1 ลักษณะขั้วไฟฟ้า (Electrode arrangement)


ลักษณะของขั้วไฟฟ้าส่งผลต่อการกระจายความเข้มสนามไฟฟ้า ค่า η จะบอกถึงความสม่ำเสมอ
ของสนามไฟฟ้า ในฉนวนเหลวความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันเบรกดาวน์กับ η ไม่ชัดเจนเนื่องจาก :
๏ กรณี η มีค่าต่ำ(ความไม่สม่ำเสมอสูง) : ทำให้เกิดการไหลของของเหลวได้ดีบริเวณขั้ว
ไฟฟ้า ส่งผลให้ลดทอนการเกิดเบรกดาวน์ลง ฉนวนเหลวจึงคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าสูงขึ้น
๏ กรณี Volume effect : ถ้าปริมาตรฉนวนเหลวระหว่างขั้วไฟฟ้ามีค่าสูง ทำให้ความเป็นไป
ได้ (Probability) ของจำนวนสิ่งที่เกิดจากการเสื่อมสภาพจะสูงตามด้วย ดังนั้นโอกาสเกิด
เบรกดาวน์เป็นได้ง่ายขึ้น นั่นหมายถึง ฉนวนเหลวมีความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าต่ำลง
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 38 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
The oil quality can be checked by determining
2.2.3.1 ลักษณะขั้วไฟฟ้า (Electrode arrangement) the breakdown voltage in a standardized test
arrangement. However, oil quality data based
on different test arrangements cannot be
directly compared!
25

VDE
l
ge

99
Ku

η = 0.97 [%]
ASTM UTE VDE
∅"14

90
∅"36

80
70
3

60
50

Probability of Breakdown P(Ub)


40
7
20 2.5 30
20
ASTM
ηtheory = 1.0 10
∅25

In the case of ASTM electrodes,


the comparatively large volume 5
used between the plates and the
sharp edged rims reduce the
strength.
2
UTE
η = 0.87 1
∅12.5

30 40 50 60 [kV] 70 80
Breakdown Voltage [Ub]

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 39 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.3.1 ลักษณะขั้วไฟฟ้า (Electrode arrangement)

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 40 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.3.2 ชนิดแรงดันไฟฟ้า ความชัน(Steepness) ของการเปลี่ยนแปลงแรงดัน (dU/dt)
ระยะเวลาที่รับภาระแรงดัน

1600
kV
ค ว า ม ค ง ท น ต่ อ แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า

∅"180
(Electrical strength) ของฉนวนเหลว Ust50-
s
ขึ้นอยู่กับ 1200
๏ ลักษณะของแรงดันไฟฟ้า Ust50+

Ust50
(Voltage Waveform)
๏ ความชัน(Steepness) ของการ
800
เปลี่ยนแปลงแรงดัน (dU/dt)
๏ dU/dt ยิ่งมีค่าสูง ยิ่งทำให้ Ub สูง
50Hz
๏ เมื่อเวลารับภาระแรงดันสูงขึ้น
400
ทำให้ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้า
ลดลง

0
20 40 60 mm 80
s

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 41 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนเหลวมีกระบวนการการเกิดหลายแบบซึ่งกลไกการเกิดเบรก
ดาวน์เปลี่ยนแปลงไปตามระดับแรงดันที่ฉนวนเหลวนั้นรับภาระอยู่และระยะเวลาของการรับ
ภาระแรงดันไฟฟ้านั้น ซึ่งเมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้าสูงมากๆจะเกิดเบรกดาวน์ในระยะเวลาสั้น แต่
ฉนวนชนิดเดียวกันนั้นถ้าป้อนแรงดันไฟฟ้าต่ำๆ จะเกิดเบรกดาวน์ในระยะเวลายาวนานขึ้น

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 42 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.3.3 อุณหภูมิ

ค ว า ม ค ง ท น ต่ อ แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า
(Electrical strength) ของฉนวนเหลว

๏ เกือบจะไม่ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิเมื่อ
ฉนวนเหลวนั้นแห้ง(ไม่มีความชื้น)
๏ ฉนวนเหลวจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ
มากขึ้นก็เมื่อฉนวนเหลวนั้นมีน้ำ
ผสมอยู่มากขึ้น
๏ ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้า ขึ้น
อยู่กับความชื้นสัมพัทธ์ (Relative
water content [Wrel]) ของฉนวน
เหลว ไม่ใช่ความชื้นสัมบูรณ์
(Absolute water content [Wabs])

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 43 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ความดัน

The breakdown strength is


also basically dependent on
pressure, however the
increase in strength with
pressure is significantly less
pronounced than for gases.
Therefore, the pressure
dependence is often ignored
in practice. Other parameters
are of greater significance.

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 44 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.3.4 ความชื้น (น้ำ)

คุณสมบัติทั้งทางไฟฟ้า ทางเคมี และทางฟิสิกส์ ของน้ำมัน จะสามารถเปลี่ยนไปได้ เมื่อ


น้ำมันนั้นถูกใช้งานเป็นเวลานาน เนื่องจากตกอยู่ภายใต้ความเครียดทั้งทางเคมีและทางไฟฟ้า
จึงทำให้เกิดการเสื่อมสภาพที่เรียกว่า “aging” ซึ่งอาจเกิดขึ้นเนื่องจากปฏิกริยาเคมี (oxidation)
หรือเนื่องจากการปล่อยประจุบางส่วน (partial discharge) และการเสื่อมสภาพของน้ำมันนั้น
ทำให้เกิด

๏ volatile product (เช่น CO, CO2)


๏ oil solute product (เช่น peroxide, น้ำ, อัลกอฮอล์, กรด)

ความชื้นในฉนวนไฟฟ้าของเหลวเป็นต้นเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการเสื่อมสภาพ กล่าวคือ
มันอาจทำให้เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้าและเคมี แยกเป็น H2 และ O2 เกิดเป็นฟองก๊าซ และทำให้เกิด
PD ในฟองก๊าซนั้น อาจนำไปสู่การเสียสภาพฉับพลันได้และนอกจากนั้นมันยังทำให้ตัวประกอบ
พลังงานไฟฟ้าสูญเสีย (tanδ) ของน้ำมันสูงขึ้น ซึ่งอาจจะทำให้เกิดการเสียสภาพฉับพลัน
เนื่องจากความร้อนได้ ดังนั้นความชื้นในฉนวนไฟฟ้าของเหลวจำเป็นต้องขจัดออกก่อนนำไปใช้
งานและต้องป้องกันไม่ให้เข้าไปในเนื้อฉนวน

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 45 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ความชื้นของน้ำมันเกิดจากน้ำที่แทรกเข้าไปอยู่ในน้ำมัน ซึ่งมีอยู่ 3 แบบ คือ
a. Solution หรือ bound water เป็นการเกาะตัวของโมเลกุลน้ำกับกลุ่มโมเลกุลน้ำมัน ซึ่งเกิด
จากกระบวนการกลั่นที่ไม่ดีเพียงพอ หรือเกิดจากปฏิกริยาในกระบวนการ aging
b. Emulsion หรือ dissolved water เป็นการแทรกตัวของโมเลกุลน้ำโดยทั่วไป (แขวนลอย)
c. Dispersion หรือ condensed water เป็นหยดน้ำที่รวมตัวเป็นกลุ่มแยกจากน้ำมัน เกิดจาก
การกลั่นตัวของความชื้นในน้ำมัน เมื่ออุณหภูมิของน้ำมันต่ำถึงจุดน้ำค้าง

ปริมาณน้ำที่ผสมอยู่ในน้ำมัน คือ ความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute water content [Wabs]) สามารถ


วัดได้โดยมีหน่วยวัดเป็น ppm (parts per million) ซึ่งหมายถึง อัตราส่วนของน้ำหนักของน้ำ ต่อ
น้ำหนักของน้ำมัน เช่น น้ำมัน 1 ตัน มีน้ำอยู่ 10 กรัม หมายถึง มีน้ำผสมอยู่ในน้ำมัน 10 ppm.
เป็นต้น

ความชื้นในอากาศซึ่งมีความหมายถึง มีน้ำ
ผสมอยู่ในอากาศเช่นกัน แต่หน่วยการวัด
เป็นน้ำหนักของน้ำต่อปริมาตรอากาศ เช่น
กรัมต่อลูกบาศก์เมตร (g/m3 )

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 46 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
น้ำมันที่นำมาใช้งานมักจะสัมผัสกับอากาศได้ในหลายๆกรณีในขณะที่มีความสมดุลทาง
ความชื้นที่อุณหภูมิคงที่ จะไม่มีการถ่ายเทความชื้นซึ่งกันและกัน แต่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของ
อุณหภูมิ จะเกิดการถ่ายเทความชื้นซึ่งกันและกัน และทำให้ไปสู่จุดสมดุลทางความชื้นจุดใหม่
ในความหมายของจุดสมดุลทางความชื้นก็คือ ความชื้นสัมพัทธ์ในน้ำมัน จะเท่ากับ
ความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ โดยอุณหภูมิขณะสมดุลคือ อุณหภูมิของน้ำมัน

น้ำมันที่เกิดการถ่ายเทความชื้นซึ่งกันและกันกับอากาศนั้น ทำให้เกิดมีปริมาณน้ำในน้ำมันเพิ่ม
ขึ้นหรือลดลง น้ำที่ผสมเข้าไปในน้ำมันนั้นจะอยู่ในสภาวะ Solution หรือ Bound water และ
น้ำมันแต่ละชนิดจะมีความสามารถในการรับน้ำในลักษณะ Solution ได้ในจำนวนจำกัด
ปริมาณน้ำสูงสุดที่แขวนกับโมเลกุลน้ำมันได้เรียกว่าปริมาณน้ำอิ่มตัว (Saturation water
content[Wsat]) เมื่อปริมาณน้ำที่ผสมในน้ำมันมากกว่าปริมาณน้ำอิ่มตัว จะทำให้น้ำในน้ำมัน
นั้นเปลี่ยนสภาวะเป็น Emulsion หรือ Dissolved water น้ำมันซึ่งเดิมใส สามารถมองทะลุผ่านได้
ก็จะขุ่นมัว เมื่อลดอุณหภูมิของน้ำมันลงจนถึงจุดกลั่นตัวของน้ำในน้ำมัน น้ำจะรวมตัวเป็นหยด
น้ำแยกออกจากน้ำมันในลักษณะของ Condensed water น้ำมันก็จะใสขึ้นอีกครั้ง ในขณะที่หยด
น้ำที่หนักกว่าน้ำมันจะจมลงบนพื้นภาชนะบรรจุ

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 47 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
sat

ความสามารถดูดซับ(Absorption)ก๊าซ และ น้ำ ของน้ำมัน


(mineral oil) [Shell Daila D] ที่อุณหภูมิ 20℃ และ 80℃
แปรผันตามความดันย่อย(Partial pressure Pp)

1. Clophen A 30
2. Clophen A 40
3. Clophen A 50 ความสามารถดูดซับ(Absorption) น้ำของ
4. Shell K8
5. Fuchs E7 น้ำมัน แปรผันตามอุณหภูมิ
6. Shell Diala D
7. Phenyl-Xylyl-Ethan(PXE)
8. Mono-Isopropyl-Biphenyl (MIPB)
9. Silicone Liquid (Baysilon M5)

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 48 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 49 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
Wabs
Wrel = ⋅100%
Wsat

Solution Emulsion
Eb

Eb = f (Wrel )
๏ การลดลงของ Eb เกือบเป็นเส้นตรงจนถึงจุดอิ่มตัว (Wrel = 100%)
๏ ในช่วง Emulsion (Wrel > 100%) ค่า Eb คงที่

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 50 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ตัวอย่าง

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 51 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ตัวอย่าง

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 52 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ตัวอย่าง

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 53 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ตัวอย่าง

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 54 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ρ = f (Wabs ) tan δ = f (Wabs )

tan δ = f (E)

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 55 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.3.5 ก๊าซ
๏ ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลวไม่ขึ้นอยู่กับจำนวนก๊าซที่ผสมอยู่ (uniform field)
๏ ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลวขึ้นอยู่กับชนิดก๊าซที่ผสมอยู่ (เนื่องจากคุณสมบัติ
ที่แตกต่างกันของก๊าซแต่ละชนิด)
๏ เมื่อก๊าซอยู่ในสถานะ Dispersion จะทำให้ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลวลดลง
เนื่องจากจะเกิด Gas Discharge ขึ้นในฟองก๊าซนั้น

2.2.3.6 Partial Discharge [PD]

ในขั้วไฟฟ้าที่มีสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอเมื่อครบเงื่อนไขเบรกดาวน์ จะเกิดเบรกดาวน์แบบสมบูรณ์
เลย แต่ในสนามไฟฟ้าไม่สม่ำเสมอสูงเมื่อครบเงื่อนไขเบรกดาวน์แล้วจะเกิด PD ก่อนแล้วจึงจะ
เกิดเบรกดาวน์แบบสมบูรณ์

ในกรณีเกิด PD ในฉนวนเหลว แรงดันเบรกดาวน์จะขึ้นอยู่กับจำนวนก๊าซในฉนวนเหลวนั้น ซึ่ง


ตรงข้ามกับกรณีเบรกดาวน์ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ (หัวข้อ 2.2.3.5)

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 56 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.3.7 ระยะแกป

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 57 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.4 ฉนวนเหลว

น้ำมันเป็นฉนวนเหลวที่นิยมใช้เป็นฉนวนไฟฟ้า เนื่องจากมีคุณสมบัติเหมาะเป็นสารซึมซับ
(Impregnate) และมีคุณสมบัติความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าดีกว่าก๊าซที่ความดันปรกติ น้ำมันที่
นำมาใช้ในการฉนวนสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทคือ
๏ Mineral Oil
๏ Synthetic Oil
๏ Plant Oil

2.2.4.1 Mineral Oil


Mineral Oil คือน้ำมันที่กลั่นได้จากน้ำมันดิบ (Petroleum) และเป็นน้ำมันที่ถูกนำมาใช้เป็น
ฉนวนน้ำมันมากที่สุด และเนื่องจากการใช้งานส่วนใหญ่จะใช้เป็นฉนวนของหม้อแปลงไฟฟ้า
ดังนั้นน้ำมันประเภทนี้จึงได้ชื่อว่า “ น้ำมันหม้อแปลง “ (Transformer Oil) และเนื่องจากมี
คุณสมบัติไม่เหนียวข้นจึงเหมาะเป็นสารซึมซับ(Impregnate)ด้วย ดังนั้นมีใช้ในสาย
เคเบิล(Cable) ตัวเก็บประจุ(Capacitor) หม้อแปลงกระแส(Current Transformer) หม้อแปลง
แรงดัน(Potential Transformer) เป็นต้น

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 58 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
Mineral Oil มีองค์ประกอบหลักมาจากไฮโดรคาร์บอน 4 ประเภท

1. Paraffin เป็นไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว (Saturated CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 Paraffine

hydrocarbon) มีโครงสร้างของโมเลกุลเป็นลูก- CH2

Satulated Hydrocabon
CH2 CH CH2 CH2 CH CH2
โซ่แนวเดียว หรือมีแขนงแยกออกด้านข้าง(Iso- Iso -
Paraffine
CH CH2
Paraffin) โดยไม่มีโครงสร้างแบบ Covalent CH2

2. Naphthene หรือ Cycloparaffin โครงสร้างของ H2C CH2 H2


C
H2
C
H2C CH2 H2C CH CH2 Napthene
โมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนชนิดนี้ จะจัดตัวเป็น H2C CH2 H2C CH CH2
(Cylo -
Paraffine)
วงแหวนต่อ ๆ กันไปตั้งแต่ 1 วงขึ้นไป และอาจมี C
H2
C
H2
C
H2

แขนงแยกเป็นแนวออกไปด้วย H
C
H H
C C
มีโครงสร้างของ
HC CH
3. Aromatic hydrocabon

Unsatulated Hydrocabon
HC C CH
Aromate
HC CH HC C CH
โมเลกุลเป็นรูปวงแหวนที่มีจำนวนคาร์บอนและ C
H
C
H
C
H
ไฮโดรเจนเท่า ๆ กัน CH2 CH CH CH CH2

4. Olefine มีโครงสร้างของโมเลกุลเป็นลูกโซ่ CH2 CH CH


CH2
Olefine
CH2
โมเลกุลหรือโมเลกุลวงแหวนที่มีโครงสร้าง CH2 CH2 CH2

แบบ Covalent !

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 59 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
เนื่องจากโครงสร้างของ Paraffin เป็นลูกโซ่ยาวจึงทำให้น้ำมันที่มีส่วนผสม Paraffin ไม่
สามารถไหลได้เมื่ออุณหภูมิต่ำๆ ในขณะที่โครงสร้างแบบวงแหวนของ Napthene เหมาะสำหรับ
การใช้งานที่อุณหภูมิต่ำ และเนื่องจาก Olefine มีโครงสร้างแบบ ยังไม่อิ่มตัว (unsaturated) จึง
ทำให้เกิดการรวมตัวกับธาตุอื่นได้ง่าย(เช่น oxidation) ที่ส่งผลให้น้ำมันเสื่อมสภาพ(aging)ได้
ง่าย จึงไม่เป็นที่ต้องการในส่วนผสมของฉนวนน้ำมัน ส่วน aromate ก็เช่นกันเมื่อมีส่วนผสมของ
oxygen หรือได้รับแสงจะเป็นตัวเร่งให้น้ำมันเสื่อมสภาพได้ แต่จากคุณสมบัติความไม่อิ่มตัวของ
aromate นี้ทำให้สามารถเป็นที่เกาะของอะตอมไฮโดรเจนได้เมื่อเกิด PD ขึ้นในน้ำมัน ดังนั้นฉนวน
น้ำมันที่ใช้ในอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ปิดสนิทเช่น ตัวเก็บประจุ ปลอกฉนวนนำสาย(Bushing) จึงมีส่วน
ประกอบของ aromate โดยเฉพาะในหม้อแปลงไฟฟ้าที่น้ำมันสัมผัสกับอากาศได้จะทำให้การ
เสื่อมสภาพมีเสถียรภาพมากขึ้น
ในน้ำมันดิบนั้นจะมีส่วนผสมของโมเลกุลไฮโดรคาร์บอน ในจำนวนโดยประมาณคือ
๏ Paraffin ประมาณ 40% ถึง 60%
๏ Napthene ประมาณ 30% ถึง 50%
๏ Aromate ประมาณ 5% ถึง 20%
๏ Olefine ประมาณ 1%

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 60 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
คุณสมบัติโดยทั่วไปของน้ำมันหม้อแปลงความหนืดต่ำ ที่ 20℃ (ความชื้น < 10 ppm)

ความเข้มสนามไฟฟ้าเบรคดาวน์ Eb = 200.....350 kV/cm


Permittivity εr = 2.2 (50 Hz)
แฟคเตอร์สูญเสียไดอิเล็กทริค tanδ < 10-3 ที่ 50 Hz
ความหนาแน่น 𝛾 = 0.9 g/cm3

การเสื่อมสภาพของน้ำมันหม้อแปลง
๏ Thermal Ageing เมื่อน้ำมันมีอุณหมิสูง > รวมตัวกับอ๊อกซิเจน (Oxidation)
๏ Electrical Ageing เกิดการแยกตัวเนื่องจากเกิด PD ในน้ำมัน

การเสื่อมสภาพทำให้เกิด Ageing Product หลายชนิด (ขึ้นอยู่กับกระบวนการเสื่อมสภาพ) ซึ่ง


สามารถเกิดได้ทั้ง 3 สถานะ
๏ ก๊าซ : H2 , CO2 , CO (Gas Analysis สามารถบอกได้ว่าเกิดอะไรขึ้นที่ไหน)
๏ ของเหลว : กรด สารเอสเตอร์ (Ester)
๏ ของแข็ง : ตะกอนโลหะ (Sludge) (เมื่อมีMetallic Catalyst เช่นทองแดงจะเกิดตะกอน
ทองแดง ตัวอย่างเช่นในหม้อแปลงไฟฟ้า ตะกอนทองแดงจะเคลือบขดลวดทองแดง
ทำให้ความสามารถการถ่ายเทความร้อนลดลง)
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 61 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.4.2 Synthetic Oil
เป็นน้ำมันสังเคราะห์ กล่าวคือ น้ำมันที่มาจากการกลั่นน้ำมันดิบแล้วเติมสารเคมีลงไป เพื่อ
ช่วยลดอัตราเร็วในการทำปฏิกริยาเคมีซึ่งเป็นการเพิ่มคุณสมบัติที่ขาดไปของ Mineral Oil ใน
ที่นี้จะกล่าวเฉพาะน้ำมันฉนวนสังเคราะห์ที่สำคัญเท่านั้น
H
C C
Cl C C C C Cl
ตัวอย่างโครงสร้างโมเลกุลของ
Cl C CHHC CH
a) Askarele C C Trichorinated biphenyls
H H
Askarele เป็นชื่อเรียกของฉนวนเหลวสังเคราะห์
! PCBs หรือ Polychlorinated biphenyls บริษัท
Bayer AG ในเยอรมันนี้เป็นผู้ผลิต Askarel ขึ้น โดยใช้ชื่อทางการค้าว่า Clophen โดยนำไปใช้
ในหม้อแปลงไฟฟ้า และใน capacitor เนื่องจากมีคุณสมบัติของการติดไฟยาก และมีค่า εr สูง
PCBs มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับจำนวน Cl ในโมเลกุล ซึ่งแยกออกเป็น di-, Tri-, Tetra-,
Penta หรือ Hexachlorinated biphenyls และเนื่องจาก PCB มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าดี (εr = 4....6
ที่ 50 Hz, 20oC) จึงใช้เป็นไดอิเล็กทริคใน Capacitor
คุณสมบัติทางไฟฟ้าของ Chlorinated biphenyls ที่ 20℃

ความเข้มสนามไฟฟ้าเบรคดาวน์ Eb = 200.....300 kV/cm


Permittivity εr = 4….6 (50 Hz)
แฟคเตอร์สูญเสียไดอิเล็กทริค tanδ < 10-3 ที่ 50 Hz
ความหนาแน่น 𝛾 = 1.35 …. 1.55 g/cm3
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 62 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
นอกจากคุณสมบัติทางไฟฟ้าของ PCBs จะดีแล้วคุณสมบัติทางเคมีและทางฟิสิกส์ยังดี
อีกด้วยคือ ทนต่อความร้อน มีจุดติดไฟสูงมาก จนอาจจะเรียกว่า Non-Flammable Liquid
เมื่อใช้งานที่อุณภูมิสูงจะไม่ทำปฎิกริยา Oxidation ถึงแม้ว่าจะมีตัว Metallic Catalyst อยู่ด้วย
ก็ตาม เมื่อมี Arc จะเกิดก๊าซผสมต่างๆ ซึ่งไม่ติดไฟ (Non-Combustible Gasses) และ Dry
Hydrochloric Acid ถ้าถูกเผาที่ความร้อน 305℃ (600°F) จะได้ Ageing Product ที่เรียกว่า
Polychlorinated Dibenzofurans และ Polychlorinated Dibenzodioxin ซึ่งเป็นสารพิษที่
เห็นผลความเป็นพิษในทันทีที่สัมผัส สูดดม หรือรับประทานเข้าไป ทำให้เกิดการเสื่อมถอย
ของสุขภาพ นอกจากนี้ PCBs ยังเป็นพิษต่อคนและสัตว์หากร่างกายสะสม PCBs ไว้มากเป็น
ชนิดเรื้อรังจะทำลายสภาพของยีนซึ่งมีผลต่อกรรมพันธ์ และนอกจากนั้นในการใช้ PCB ที่มี
จำนวนอะตอม Cl ประกอบอยู่สูงนั้น ทำให้โครงสร้างของโมเลกุลของมันทำลายได้ยาก จึง
เป็นสารที่คงทน ไม่แปรสภาพได้ง่าย ๆ จึงทำให้เกิดมลภาวะ ดังนั้นในหลาย ๆ ประเทศได้
ห้ามการใช้ PCBs เป็นฉนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าแล้ว
ปัจจุบัน กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ กฟผ ได้
กำหนดแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ PCBs ที่มีบรรจุในอุปกรณ์ไฟฟ้า เพื่อการบำรุงรักษา การ
ป้องกันอันตราย การจัดเก็บ และเทคนิคการกำจัด PCBs นศ.สามารถค้นคว้าต่อได้ที่ http://
www.pcd.go.th/info_serv/air_PCBsThai.htm

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 63 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
b) Substitue Askarele
เมื่อ chlorinated Biphenyle เป็นอันตรายทั้งต่อบุคลากร และต่อมลภาวะ จึงได้มีการค้นคิด
ฉนวนเหลวขึ้นมาทดแทน ซึ่งจะไม่มีส่วนผสมของ Chlorine (Cl) ซึ่งฉนวนสังเคราะห์เหล่านี้จะ
สามารถสลายตัวได้ง่ายเมื่อรั่วไหลสู่บรรยากาศ โดยฉนวนสังเคราะห์ที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ในรุ่น
แรกๆ สำหรับใช้เป็นไดอิเล็กทริคในตัวเก็บประจุที่สำคัญ ๆ คือ : BNC(Benzylneocaprat) ;
PXE(Pheny-Xyly-Ethan) ; MIPB(Mono-Isopropyl-Biphenyl) ; DTE(Ditolylether)

คุณสมบัติ PXE MIPB BNC DTE


แรงดันเบรคดาวน์ (VDE0370 Teil1) [kV] > 70 > 70 > 70 > 70
tanδ ที่ 50 Hz ที่ 90o C <10x10-4 <10x10-4 <10x10-4 <10x10-4
Relative Permittivity εr ที่ 50 Hz 20 ℃ 2.6 2.8 3.8 3.5
εr ที่ 50 Hz 60 ℃ 2.5 2.5 3.4 3.2
สปส.การรับก๊าซ(IEC 628) [µl/min] ที่ 30 ℃ 57 73 50 -
ที่ 80 ℃ 138 154 113 -
Pourpoint [℃] -48 -55 -60 -54
Flash Point (จุดวาบไฟ) [℃] 156 155 155 146
Fire Point (Burning Point , จุดติดไฟ) [℃] 170 175 165 154
ความหนาแน่น ที่ 20 ℃ [g/cm3] 0.99 0.99 0.95 1.04

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 64 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
c) Substitue Askarele for Transformer
ฉนวนน้ำมันสังเคราะห์สำหรับหม้อแปลงไฟฟ้ามีพัฒนาควบคู่ไปกับฉนวนน้ำมันสังเคราะห์
สำหรับตัวเก็บประจุ ซึ่งจัดอยู่ในประเภทสารไอโดรคาร์บอนความร้อนสูง หรือ HTK-oil ซึ่งมี
จุดวาบไฟ(Flash point) สูงประมาณ 210℃ ถึง 305℃ และจุดติดไฟ (Burning point) สูง
ประมาณ 310℃ ถึง 360℃ และตัวมันเองจะติดไฟที่อุณหภูมิ 400℃ และไม่ทำลายสภาพ
แวดล้อม
d) Silicon liquid or Silicon Oil
ของเหลวซิลิโคน หรือน้ำมันซิลิโคน เป็นของเหลวที่เหมาะที่จะใช้เป็นฉนวนไฟฟ้า เนื่องจากมี
ค่าความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้า Eb สูงมาก ประมาณ 300-400 kV/cm; tanδ < 10-4 และค่า εr ≈
2.6 (ที่ 50 Hz) ทนต่อปฏิกริยาอ๊อกซิเดชั่น เสื่อมสภาพยาก ความหนืดเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย และ
มีจุดวาบไฟและจุดติดไฟสูง(>300℃ และ >335℃ ตามลำดับ) ข้อเสียของของเหลวชนิดนี้คือ
ราคาแพง มีค่า εr ค่อนข้างต่ำเมื่อนำไปใช้ใน Capacitor
เมื่อเปรียบเทียบของเหลวซิลิโคนกับฉนวนเหลวที่มี
CH3 CH3 CH3
พื้นฐานจากน้ำมันดิบแล้ว ของเหลวซิลิโคนมีคุณสมบัติ
H3C Si O Si O Si CH3
การระบายความร้อนไม่ดี มีค่า ส.ป.ส. การขยายตัวเนื่อง
CH3 CH3 CH3
จากความร้อนสูง และมีค่าแฟคเตอร์พลังงานสูญเสีย n
ไดอิเล็กทริคสูงกว่า !

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 65 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.4.3 Plant Oil
เมื่อเริ่มต้นเทคนิคการฉนวนนั้นได้มีการใช้น้ำมันสนเป็นสารซึมซับสำหรับหม้อแปลงไฟ
ฟ้า แต่เนื่องจากคุณสมบัติการเสื่อมสภาพที่ไม่ดี และคุณสมบัติการแข็งตัวจึงทำให้ Mineral
Oil เข้ามาแทนที่ ปัจจุบันน้ำม้นพืชเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตสารเคลือบ (lac,varnish) ลวด
ไฟฟ้า เนื่องจากคุณสมบัติพื้นฐานของ Polyesterresin และ Polyurethanresin ที่มีในน้ำมันพืช
เช่น น้ำมันของต้น flax(Linseed Oil) น้ำมันถั่วเหลือง (Soy Oil) น้ำมันสน (Turpentine) น้ำมัน
ละหุ่ง(Castor Oil) เป็นต้น
น้ำมันละหุ่ง เป็นน้ำมันที่นำมาใช้ในตัวเก็บประจุกระแสตรง(DC-Capacitor) และในตัว
เก็บประจุอิมพัลส์ (Impuls Capacitor) จนถึงปัจจุบันนี้เนื่องจากคุณสมบัติของค่าความสามารถ
ในการนำ ฟลักซ์ไฟฟ้าสัมพัทธ์ที่ดีของมัน (εr = 4.5) และนอกจากนั้นตัวเก็บประจุที่ใช้น้ำมัน
ละหุ่งเป็นไดอิเล็ก ทริคนั้นมีอายุการใช้งายมากกว่าตัวเก็บประจุที่ใช้ Mineral Oil ถึง 10 เท่า
แต่มันมีความหนืดสูงจึงไม่เหมาะเป็นสารซึมซับ แต่ก็สามารถทำได้ที่อุณหภูมิสูงๆ ดังนั้นจึงไม่
สามารถใช้งานที่อุณหภูมิแวดล้อมปรกติได้ และมันจะแข็งตัวที่อุณหภูมิ –10℃ ถึง –18℃ ด้วย
เหตุนี้จึงไม่สามารถใช้งานที่อุณหภูมิต่ำๆได้

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 66 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.2.4.4 Water

น้ำบริสุทธิ์มีความคงทนต่อแรงดัน(Êb50)ที่สูงมากคือประมาณ 40 kV/mm ภายในเวลา


1µs แต่เมื่อให้รับภาระเป็นเวลายาวขึ้น Êb50 จะลดลง เป็นประมาณ 20 kV/mm ภายในเวลา
10µs และเมื่อให้รับภาระต่อเนื่องนั้น เนื่องจากน้ำมีค่าความนำไฟฟ้าสูง จึงทำให้ที่เพียงความ
เข้มสนามไฟฟ้าต่ำๆก็เกิดความร้อนและกลายเป็นไอ ซึ่งนำไปสู่การเสียสภาพฉับพลัน

น้ำมีโมเลกุลแบบ Dipolar จึงทำให้มีค่าคงที่ไดอิเล็กทริคสูง (εr = 81) และน้ำที่ถูกขจัด


ไอออน(Deionization) แล้ว และเนื่องจากสามารถเกิด Dissociation ของโมเลกุลน้ำได้ จึง
ทำให้น้ำมีความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้บ้าง 𝜅 = 10-7 S/m และเมื่อน้ำสามารถสัมผัส
กับอากาศได้ น้ำจะสามารถรวมตัวกับ CO2ได้ทำให้น้ำมีความนำกระแสไฟฟ้าสูงขึ้น 𝜅 = 10-4
S/m

เนื่องจากน้ำบริสุทธิ์มีค่าคงที่ไดอิเล็กทริคสูงและมีความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าโดย
เฉพาะแรงดันสูงชนิดอิมพัลส์ดังกล่าวจึงถูกนำมาใช้เป็นฉนวนใน Pulse-Power-Technology
นอกจากนั้นน้ำบริสุทธิ์ยังถูกนำมาใช้เป็นความต้านทานในวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 67 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.7 - 3.0

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 68 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.3 เบรกดาวน์ในฉนวนแข็ง (ความคงทนต่อแรงดันของฉนวนแข็ง [Eb])
2.3.1 Conduction & Loss Mechanism
ในฉนวนแข็งโดยทฤษฎีแล้วกลไกการนำไฟฟ้าเหมือนกับในฉนวนเหลว คือ
๏ การนำไฟฟ้าด้วยอนุภาคประจุอิสระ (Charge Carriers Conduction Mechanism)
๏ การเกิดขั้วไฟฟ้า (Polarisation Mechanism)
แต่ในฉนวนแข็งจะมีกระบวนการที่มากกว่าฉนวนเหลวคือ Ionization

2.3.1.1 DC-Conduction
ในฉนวนแข็งเหมือนกับในฉนวนเหลว คือ มีอนุภาคประจุอิสระอยู่ก่อนแล้ว ดังนั้นเมื่อฉนวน
อยู่ในสนามไฟฟ้าจึงทำให้
๏ เกิดการเคลื่อนที่ของอนุภาคประจุ
๏ เกิดการเรียงตัวของ Dipole
ด้วยกระบวนการนี้ค่าความนำจำเพาะในฉนวนแข็งในสนามไฟฟ้ากระแสตรงมีค่าดังนี้ :

κ = ∑ n ⋅ q ⋅b
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 69 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
เมื่อฉนวนแข็งรับภาระแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะเกิดกระบวนการที่
แตกต่างกันอีกหลายกระบวนการ ซึ่งส่งผลให้ ค่าความนำจำเพาะกระแสตรง [𝜅] ลดลง และ
จะเข้าสู่สภาวะคงตัว (Saturation) นับเวลาเป็นนาที หรือ อาจจะถึงเป็นเดือน

!
Transient Conductivity

Saturation Conductivity

1 min 10 min t

กระบวนการเปลี่ยนแปลงจาก Transient ถึง Saturation นั้นจะเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิ


ของเนื้อฉนวน และ ความเข้มสนามไฟฟ้า

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 70 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
กระบวนการ Conduction เกิดกลไกต่างๆตามเวลาที่เปลี่ยนไปดังนี้ :
ps Deformation Polarisation และ Ionic Polarisation
min…hr. Orientation of Dipole หรือ Orientation Polarisation
hr…..days การเคลื่อนที่ของอนุภาคอิสระ
week…Month Recombination ของอนุภาคอิสระ

Saturation Conduction : อนุภาคประจุที่ทำหน้าที่นำกระแสในช่วงนี้เกิดได้จาก :


Ions Dissociation ของโมเลกุลแปลกปลอม
Collision Ionization เนื่องจาก Free Electron
Thermal Lattice Oscillation
Electrons เกือบทั้งหมดเกิดจากการ Injection จากขั้วแคโทด (Cathode)

ที่ความเข้มสนามไฟฟ้าสูงๆ การนำไฟฟ้าจะเกิดจาก Electron เป็นหลัก ส่วนของ Ion ถือว่ามี


น้อยมากจนตัดทิ้งได้ ดังนั้นสมการการนำไฟฟ้าจึงเขียนอย่างง่ายได้ว่า

κ e = ne ⋅be ⋅ e
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 71 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
Energy Band Model (Fröhlich Band Model): ใช้อธิบายการนำไฟฟ้าในวัสดุ
W Insulator
Semiconductor CB
Conductor
CB
CB (conduction band)
Fermi Level
W=0.1.......1 eV
VB (valence band) FB W= 2.......10 eV
VB (forbidden band)
VB

ตัวอย่างโครงสร้างโมเลกุล Semiconductor

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 72 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
Energy Band Model: อธิบายการนำไฟฟ้าในวัสดุ High Polymer
CB : Conduction Band

FG : Forbidden Gap
Hole
Donor (Donator)

VB : Valence Band

๏ ฉนวน high polymer มีโครงสร้างไม่สม่ำเสมอ มีส่วนอสัณฐาน(Amorphous) และส่วนที่เป็น


ผลึก (Crystalline) ปนอยู่ด้วยกัน
๏ ด้วยเหตุนี้ทำให้ฉนวน high polymer มีแถบพลังงานทั้งสองไม่เรียบ
๏ ใน Forbidden gap ประกอบไปด้วย Hole และ Donor ที่มีระดับพลังงานสูงใกล้กับพลังงาน
ในชั้น CB

Donor สามารถให้อิเล็กตรอนอิสระเข้าสู่สถานะนำไฟฟ้าได้ง่ายเมื่อได้รับพลังงาน
ความร้อนหรือพลังงานจากสนามไฟฟ้า เพียงเล็กน้อย
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 73 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
Hole เรียกอีกอย่างว่า trabs (กับดัก e) แบ่งตามระดับพลังงานได้ 2 ระดับ
คือ energy deep trap และ energy flat trap

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 74 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
อิเล็กตรอนใน FG เกิดขึ้นได้เนื่องจากหลายสาเหตุเช่น :
๏ โมเลกุลแปลกปลอม และความไม่บริสุทธิ์
๏ Internal Barriers
๏ Branching point of polymer chain

ที่มาของอิเล็กตรอนในเนื้อฉนวน ยังเกิดขึ้นได้จากการฉีดอิเล็กตรอน (Electron Injection)


จากขั้วไฟฟ้าแคโทด
๏ Richardson - Schottky Injection : (สนามไฟฟ้าต่ำ + อุณหภูมิ)[ ~ 200…300kV/mm]
๏ Fowler - Nordheim Injection : (สนามไฟฟ้า) [ E >300kV/mm]
I II III
I: ความเข้มสนามไฟฟ้าต่ำ 𝜅 = 𝜅0 =const. Ion-
conduction และ Polarization processes
II: Electron Processes เริ่มต้นที่ประมาณ E > 1kV/mm
ด้วยสมการ
κ ≈E m
m>0
III: ในบริเวณที่มีค่าความเข้มสนามไฟฟ้าสูง การนำ
ไฟฟ้าจะเนื่องจากอิเล็กตรอนเท่านั้น (Electron-
conduction)
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 75 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.3.1.2 AC-Losses

Pdiel = U ⋅ ω ⋅C ⋅ tan δ Total


2

tan δ Total = tan δ Cond. + tan δ Pol. + tan δ PD

tan δ Cond. ตัวประกอบความสูญเสียในไดอิเล็กทริคเนื่องจากการนำกระแส


(Conduction)

tan δ Pol. ตัวประกอบความสูญเสียในไดอิเล็กทริคเนื่องจากการเกิดขั้วไฟฟ้า


(Polarization)

tan δ PD ตัวประกอบความสูญเสียในไดอิเล็กทริคเนื่องจากการเกิดดีสชาร์จ
บางส่วนภายในไดอิเล็กทริค(Internal Partial Discharge)

tan δ Cond. และ tan δ Pol. เหมือนกับตัวประกอบความสูญเสียในฉนวนเหลว

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 76 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.3.1.2 AC-Losses

tan δ PD ตัวประกอบความสูญเสียที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเกิด PD ขึ้นในฉนวนแข็ง


บริเวณที่มีความเข้มสนามไฟฟ้าสูง ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุ
ต่างๆ ดังเช่น : เศษโลหะปลายแหลม ขอบโลหะ สิ่งสกปรกเจือปน ช่อง
ว่าง(Gas Bubble) รอยแตกของฉนวนแข็ง

UT

C1 C1 U1
C1 SG
C3 C3 C3
C2
UT
C2 C2 U2

โมเดลแสดงการเกิด Internal PD ในฉนวนแข็งเนื่องจาก Gas Bubble

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 77 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
UT

U1
C1 SG
U UT C3
C2
UT
U2
U1

+Uf

t
-Uf
U1

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 78 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
เมื่อป้อนแรงดันทดสอบ UT แรงดันตกคร่อม Gas
UT
Bubble ขณะยังไม่เกิด PD ภายในมีค่าดังนี้
U1 C2 C2
U1′ = UT ⋅ ≈ ⋅UT
C3
C1 SG C1 + C2 C1 (C2 << C1 )
C2 การคำนวณ PD-Loss ใช้วงจรสมมูลโดยพิจารณา
UT
U2 ขณะเกิด PD แรกที่ Bubble (ที่ C1) แรงดันค่ายอด
ของแรงดันทดสอบจะมีค่าดังสมการ
C1 + C2
U UT
ÛTf = Uf ⋅
C2
ปริมาณประสิทธิผลมีค่าดังนี้
+Uf
1 C1 + C2
-Uf
t
UTf = ⋅U f ⋅
U1 2 C2

เพื่อพิสูจน์หากำลังไฟฟ้าสูญเสียเมื่อเกิด PD ต้อง
พิจารณาพลังงาน : พลังงานก่อนเกิด PD จะต้องเท่ากับพลังงานหลังเกิด PD
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 79 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
พิจารณาพลังงาน : พลังงานก่อนเกิด PD จะต้องเท่ากับพลังงานหลังเกิด PD
ผลต่างของพลังงาน คือพลังงานที่สูญเสียเมื่อเกิด PD แต่ละครั้ง :
WB : พลังงานก่อนเกิด PD (Before)
ΔW = WB − WA WA : พลังงานหลังเกิด PD (After)
พลังงานก่อนเกิด PD แต่ละครั้ง :
1 1 1
WB = C1U1 + C2U 2 + C3U 3
2 2 2

2 2 2
ในขณะที่ : U1 + U 2 = U 3 = UT = ÛTf = 2 ⋅UTf

1 2 ⎛ C1 ⋅C2 ⎞ ⎛ C1 ⋅C2 ⎞ 2
WB = ÛTf ⎜ + C3 ⎟ = ⎜ + C3 ⎟ ⋅UTf
2 ⎝ C1 + C2 ⎠ ⎝ C1 + C2 ⎠
พลังงานหลังเกิด PD แต่ละครั้ง : พิจารณาให้ C1 ดีสชาร์จประจุออกจนหมด
1 ^2
WA = UTf (C2 + C3 ) = (C2 + C3 )⋅UTf
2

2
2
C
ΔW = WB − WA = ⋅UTf
2 2
C1 + C2
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 80 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
พิจารณาการเกิด PD ในหนึ่งคาบเวลา จะเกิดขึ้นทั้งหมด n ครั้ง :

Uˆ1′ UT
n = 4⋅ = 4⋅ สำหรับกรณี UT ≥ UTf
Uf UTf
n=0 สำหรับกรณี UT ≥
< UTf

ดังนั้นพลังงานสูญเสียในหนึ่งคาบเวลามีค่าดังนี้ :
2
C
W = n ⋅ ΔW = 4 ⋅ ⋅UTf ⋅UT
2
C1 + C2
กำลังไฟฟ้าสูญเสีย(Active Power[PW])ในหนึ่งคาบเวลามีค่าดังนี้ :
2
W C
PW = =W ⋅ f = 4⋅ f ⋅ ⋅UTf ⋅UT
2
T C1 + C2
กำลังไฟฟ้าสูญเสีย (Rective Power[PQ])ในหนึ่งคาบเวลามีค่าดังนี้ :

⎛ C1 ⋅C2 ⎞
PQ = UT ⋅ I C = U ⋅ ω ⋅CTotal 2
= 2π f ⋅U ⋅ ⎜
2
+ C3 ⎟
⎝ C1 + C2 ⎠
T T

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 81 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
activePower U ⋅ I ⋅ cosθ I R
จากคำจำกัดความของ tan δ = = =
reactivePower U ⋅ I ⋅sin θ I C
C22 2
PW 2 C1 +C2 UTf 2 C2 UTf
tan δ PD = = ⋅ C1⋅C2 ⋅ = ⋅ ⋅
PQ π C1 +C2 + C3 UT π C1 ⋅C2 + C3 (C1 + C2 ) UT

เมื่อพิจารณาให้ : C3 >> C1 >> C2


2
2 C UTf
tan δ PD = ⋅ ⋅ 2
สำหรับกรณี UT ≥ UTf 1
π C1 ⋅C3 UT tan δ PD ∼
UT
tan δ PD = 0 สำหรับกรณี UT <
≥ UTf

ทฤษฎี ปฏิบัติ

UTf UT UTf UT
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 82 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
กลไกที่นำไปสู่การสูญเสียในไดอิเล็กทริค สรุปได้ 3 กลไกคือ :
๏ Ion หรือ electron conduction นำไปสู่การเกิด Conduction loss
๏ Orientation หรือ Electronic Polarization นำไปสู่การเกิด Polarization loss
๏ Internal - หรือ external – Partial Discharge นำไปสู่การเกิด Ionization loss

ซึ่งกำลังไฟฟ้าสูญเสียอาจจะเกิดขึ้นในไดอิเล็กทริคใดๆได้ทั้ง 3 ชนิด หรืออาจจะเกิดขึ้นชนิดใด


ชนิดหนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของไดอิเล็กทริคนั้นๆ ดังนั้น ถ้าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าสูญเสียใน
ไดอิเล็กทริคแต่ละชนิดคือ tanδCond. , tanδPol. และ tanδPD ตามลำดับ ดังนั้นตัวประกอบกำลัง
ไฟฟ้าสูญเสียในไดอิเล็กทริครวมจะมีค่า : tan δ Total = tan δ Cond. + tan δ Pol. + tan δ PD
และกำลังไฟฟ้าสูญเสียจะมีค่า
Pdiel = U 2 ⋅ ω ⋅C ⋅ tan δ Total
′ = E ⋅ ω ⋅ ε 0 ⋅ ε r tan δ Total
Pdiel 2

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 83 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.3 เบรกดาวน์ในฉนวนแข็ง (ความคงทนต่อแรงดันของฉนวนแข็ง [Eb])
การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนไฟฟ้าของแข็งมีกระบวนการการเกิดหลายแบบซึ่ง
กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนแข็งนั้นเปลี่ยนแปลงไปตามระดับแรงดันที่ฉนวน
แข็งนั้นรับภาระอยู่และระยะเวลาของการรับภาระแรงดันไฟฟ้านั้น ซึ่งเมื่อป้อนแรง
ดันไฟฟ้าสูงมากๆจะเกิดเบรกดาวน์ในระยะเวลาสั้น แต่ฉนวนชนิดเดียวกันนั้นถ้า
ป้อนแรงดันไฟฟ้าต่ำๆ
ฉนวนจะเกิดเบรก
ดาวน์ได้เช่นกันแต่
ระยะเวลาที่ใช้จน
ก ร ะ ทั่ ง เ กิ ด เ บ ร ก
ด า ว น์ จ ะ น า น ก ว่ า
มาก

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 84 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.3.1 Electrical Breakdown

การเกิดเบรกดาวน์เนื่องจากไฟฟ้า(Electrical Breakdown) หมายถึงกลไก


ของการเกิดการเสียสภาพของฉนวนไฟฟ้าของแข็งอธิบายได้ด้วยกระบวนการ
อันเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุของแรงดันไฟฟ้าที่ป้อนให้กับฉนวนแข็งนั้นซึ่ง
สามารถแยกย่อยได้อีก 3 ประเภทคือ
๏ การเกิดเบรกดาวน์แบบบริสุทธิ์ (Intrinsic Breakdown)
๏ การเกิดเบรกดาวน์แบบแรงกลไฟฟ้า (Electro-mechanical Breakdown)
๏ การเกิดเบรกดาวน์แบบสตรีมเมอร์ (Streamer breakdown)

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 85 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
a) การเกิดเบรกดาวน์แบบบริสุทธิ์ (intrinsic breakdown)

ภายใต้สนามไฟฟ้าที่มีความเข้มสนามไฟฟ้าสูง อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ในสนาม
ไฟฟ้า จาก Energy Band Model ของ Fröhlich อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ได้ในแถบ
ตัวนำ (Conduction Band) เมื่ออิเล็กตรอนนั้นได้รับพลังงานที่สูงพอ และด้วย
พลังงานจลน์ที่เหมาะสม(ระยะอิสระเหมาะสม)ของการเกิดไอออนโดยการชน(Collision
ionization) จะสร้างอะวาลานซ์ของอิเล็กตรอนขึ้น(Electron avalanche) และเมื่อสมบูรณ์
ตามเงื่อนไขการเกิดเบรกดาวน์ก็จะทำให้เกิดเบรกดาวน์ขึ้น ทั้งนี้ในการพิจารณาการ
เกิดเบรกดาวน์แบบบริสุทธิ์ของวัสดุแข็งใดๆ วัสดุนั้นต้องเป็นสารเนื้อเดียวกันทั้งหมด
(Homogenous)และต้องควบคุมการเบรกดาวน์แบบบริสุทธิ์ให้เกิดจากกระบวนการทาง
ไฟฟ้าจริงๆเท่านั้นไม่มีตัวประกอบอื่นที่มีผลต่อการเกิดเบรกดาวน์เข้ามาเกี่ยวข้อง จึง
สามารถทำได้เฉพาะในห้องปฏิบัติการเท่านั้น

การเกิดเบรกดาวน์แบบบริสุทธิ์จะมีค่าความเข้มสนามไฟฟ้าเบรกดาวน์อยู่ใน
ช่วงเป็น MV/cm และเวลาเบรกดาวน์อยู่ในช่วง 10-8…10-6 สมการของการเกิดเบรก
ดาวน์แบบบริสุทธิ์ชึ่งเสนอโดย Fröhlich นั้นยังคงมีความคลาดเคลื่อนจาการทดลองอยู่
(+/- 30%)

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 86 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
b) การเกิดเบรกดาวน์เนื่องจากแรงกลไฟฟ้า (Electro-mechanical Breakdown)
ฉนวนไฟฟ้าของแข็งเมื่ออยู่ภายใต้แรงดันไฟฟ้าสูงๆความเข้มสนามไฟฟ้านั้นทำให้
เกิดภาระแรงกด (Compressive Stress) และถ้าภาระดังกล่าวสูงกว่าความคงทนต่อ
ภาระแรงกดทางกลของวัสดุ (Mechanical compressive strength) ก็จะทำให้ฉนวน
ของแข็งนั้นเสียสภาพทางกล(แตกหัก Collapse) ซึ่งแรงดันเบรกดาวน์สามารถ
คำนวณได้จากสมการ

Ub = d ⋅
2Y ⋅ ln ( ) d0
d

ε 0ε r

d0 และ d คือ ความหนาของฉนวนก่อนและหลัง


ป้อนแรงดันไฟฟ้าตามลำดับ
Y คือ ค่ายังโมดุลลัส (Young’s modulus) ของ
ฉนวนของแข็ง

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 87 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
c) การเกิดเบรกดาวน์แบบสตรีมเมอร์ (Streamer Breakdown)

(Breakdown due to Tracking)

การเกิดเบรกดาวน์ในแต่ละครั้งเป็น
ลั ก ษ ณ ะ เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ก า ร เ กิ ด ใ น
ฉนวนก๊าซ แต่ในฉนวนแข็งมักจะ
เกิดหลายครั้ง และจะมีแนวเบรก
ดาวน์หลายแนว ดังรูปที่ได้จากการ
ทดลอง กับอิเล็กโตรดปลายแหลม
โดยการป้อนแรงดัน อิมพัลส์ 1/30µs

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 88 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.3.2 Thermal Breakdown

การพิจารณาการเสียสภาพฉับพลัน(เบรกดาวน์)เนื่องจากความร้อน จะพิจารณา
เฉพาะความร้อนที่เกิดเนื่องจากพลังงานสูญเสียในไดอิเล็กทริคเท่านั้นซึ่งพลังงาน
สูญเสียนี้จะทำให้อุณหภูมิภาย ในฉนวนสูงขึ้น และพลังงานสูญเสียนั้นเองก็จะ
เปลี่ยนแปลงด้วยเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ในช่วงของการเปลี่ยนแปลงของ
พลังงานสูญเสียเพิ่มสูงขึ้นมากเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย จะเกิดสภาวะ
อันตรายในฉนวนแข็งที่เรียกว่า “over heat” และสุดท้ายจะนำไปสู่การเบรกดาวน์
ซึ่งกลไกเช่นนี้เราเรียกว่า “การเบรกดาวน์เนื่องจากความร้อน” (Thermal
breakdown)
พลังงานสูญเสียในไดอิเล็กทริคในสนามไฟฟ้ากระแสสลับ

′ = E ⋅ ω ⋅ ε 0 ⋅ ε r tan δ
Pdiel 2

พลังงานสูญเสียในไดอิเล็กทริคในสนามไฟฟ้ากระแสตรง

U 2
U κ ⋅A
2
Pdiel = = U ⋅G 2
′ =
Pdiel ⋅ = E ⋅κ
2

R A⋅s s
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 89 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
การระบายพลังงานความร้อน

หมายถึงพลังงานที่ถูกระบายออกต่อหน่วยปริมาตร สมการการระบายความ
ร้อนนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะทางเรขาคณิตของฉนวนและความสามารถในการนำ
ความร้อนของฉนวนซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้ α คือ ส.ป.ส.การระบายความร้อน
A คือ พ.ท.ผิวการระบายความร้อน
Pab′ = −div(λ ⋅ grad(ϑ )) Pab = α ⋅ A ⋅(ϑ − ϑ A )

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิไดอิเล็กทริค ก็จะมีการเปลี่ยนแปลงของ
พลังงานสูญเสียด้วย ดังนั้นฉนวนจะสามารถอยู่ในสภาวะเสถียร(stable) ได้นั้นก็
ต่อเมื่อมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นการระบายความร้อนก็จะยังมากกว่าหรืออย่างน้อยก็ต้อง
เท่ากับความร้อนที่เกิดขึ้นเนื่องจากพลังงานสูญเสียไดอิเล็กทริค หรืออาจจะกล่าว
ได้ว่า ไดอิเล็กทริคจะอยู่ในสภาวะเสถียรได้ก็ต่อเมื่อ

dPab′ ′
dPdiel

dϑ dϑ
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 90 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
การระบายความร้อนสามารถระบายได้
P = f (ϑ )
เฉพาะที่ผิวของอิเล็กโตรด โดยอุณหภูมิ
U < UK
U = UK รอบฉนวน =ϑA จุดทำงานของฉนวนหรือ
สภาวะเสถียรทางความร้อนฉนวนไฟฟ้าจะ
U > UK
2 อยู่ที่จุด 1 เพียงตำแหน่งเดียว ในขณะที่จุด
2 เป็นจุดไม่เสถียร (unstable) เนื่องจาก

dPab′ ′
dPdiel
<
Pdiel
zu
K
dϑ dϑ
กําลังไฟฟ้าสูญเสียใน
1 ไดอิเล็กทริค เมื่ออุณหภูมิรอบฉนวนเพิ่มขึ้น หรือแรงดัน
(Dielectric power loss)
Pab ตกคร่อมฉนวนเพิ่มขึ้น ทำให้จุด 1 และ 2
กําลังไฟฟ้าสูญเสียเนื่องจากกระแสไฟฟ้า
(Ohmic conductor losses) เลื่อนมาบรรจบกันได้ที่จุด K เป็นจุดที่
ϑA ϑ1 ϑK ϑ2
ทำให้ฉนวนเสียสภาวะสมดุลได้ง่าย
ΔϑU K
แรงดันที่ก่อให้เกิดจุดทำงาน K นี้เรียกว่า “thermal tile voltage” หรือแรงดันที่ก่อให้เกิด
การเบรกดาวน์เนื่องจากความร้อน [ UK] หรือ “Thermal breakdown voltage”
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 91 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ตัวอย่าง

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 92 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ตัวอย่าง

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 93 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
2.3.3 การเกิดเบรกดาวน์เนื่องจากการกัดกร่อน (Erosion Breakdown)

การเกิดเบรกดาวน์ ชนิดนี้จะเกิดขึ้นเมื่อฉนวนตกอยู่ภายใต้ภาระแรงดันเป็นเวลานาน
มากและมีระดับแรงดันเบรกดาวน์ต่ำมาก ซึ่งสาเหตุเนื่องจากเนื้อฉนวนเกิดการ
กัดกร่อน เป็นเวลานาน ซึ่งเป็นผลมาจากแรงดันไฟฟ้า และองค์ประกอบต่างๆ ซึ่งนำ
ไปสู่การเกิด PD และท้ายสุดจะทำให้ฉนวนเกิดการเสียสภาพโดยสมบูรณ์ แบ่งเป็น
สาเหตุที่สำคัญของการทำให้เกิดเบรกดาวน์ได้ดังนี้

a) การเกิดเบรกดาวน์เนื่องจากโพรงภายในฉนวน
b) การเกิดเบรกดาวน์เนื่องจากปฏิกริยาเคมี (Chemical Breakdown)

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 94 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
a) การเกิดเบรกดาวน์เนื่องจากโพรงภายในฉนวน

การเกิด PD อย่างต่อเนื่องขณะใช้งานของวัสดุแข็งเป็นเวลานานๆผิวฉนวนแข็ง
ของโพรง(ทำหน้าที่เสมือนอิเล็กโตรดขั้วบวกและลบ)จะรับภาระพลังงานกลจาก
การกระแทกของอิเล็กตรอน (Electron bombardment) ทำลายโครงสร้างทาง
เคมี(Chemical Bond) ของฉนวนได้ ทำให้เกิดการกัดกร่อนอย่างต่อเนื่องเกิด
เป็นลักษณะคล้ายต้นไม้ซึ่งถูกเรียกว่า Electrical Tree ต้นไม้ไฟฟ้านี้จะเติบโต
(ขยายใหญ่ขึ้น)ไปในทิศทางของสนามไฟฟ้า
และจะนำไปสู่การเกิดเบรก
ดาวน์อย่างสมบูรณ์ได้โดย
แนวของการเบรกดาวน์จะเป็น
แนวของต้นไม้ไฟฟ้านี้นั่นเอง

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 95 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
tree bush

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 96 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
b) การเกิดเบรกดาวน์เนื่องจากปฏิกริยาเคมี (Chemical Breakdown)

ปฏิกริยาเคมีภายในเนื้อฉนวนมีผลทำให้คุณสมบัติของฉนวนต่ำลงซึ่งส่งผลให้เกิด
เบรกดาวน์ที่ระดับแรงดันที่ต่ำลง ปฏิกริยาดังกล่าวสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งที่มีสนาม
ไฟฟ้าหรือไม่ก็ได้ ซึ่งมีสาเหตุหลายอย่างด้วยกัน ฉนวนชนิดอินทรีย์สารจะมีการ
เปลี่ยนแปลงของคุณสมบัติอย่างช้าในสภาวะแวดล้อมปรกติ แต่จะเปลี่ยนแปลงได้
เร็วเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เช่นกระดาษจะสูญเสียความแข็งแรงทางกลในเวลา 2 ถึง 3
วันที่อุณหภูมิประมาณ 150 C และจะเร็วขึ้นเมื่อมีความชื้นเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย และ
o

แน่นอนเมื่อฉนวนมีคุณสมบัติทางกลเสื่อมลงคุณสมบัติทางไฟฟ้าก็ลดน้อยลงเช่น
กัน
กระบวนการไฮโดรไลซิส (Hydrolysis) เป็นกระบวนการทางเคมีที่มีน้ำ
เป็นต้นเหตุ กระบวนการนี้มีผลต่อฉนวนไฟฟ้าของแข็งด้วย เช่นในฉนวนประเภท
Polymer เมื่อมีน้ำอยู่ในฉนวนหรือที่ผิวของฉนวนแข็ง และเมื่อฉนวนอยู่ภายใต้
สนามไฟฟ้าเป็นเวลานานๆ น้ำจะสามารถแทรกซึมเข้าไปในเนื้อฉนวนได้ โดย
ลักษณะของการแทรกซึมของน้ำมีลักษณะคล้ายต้นไม้

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 97 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ลักษณะของการแทรกซึมของน้ำมีลักษณะคล้ายต้นไม้(ซึ่งเรียกว่า Chemical Tree
หรือ Water Tree [WT]) และเมื่อเวลาผ่านไป WT ก็จะเจริญเติบโต(ขยายใหญ่
ขึ้น)ไปในทิศทางของสนามไฟฟ้า ฉนวนจะถูกกัดกร่อนอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน
และเนื่องจากน้ำเป็นตัวนำที่ดีจะสามารถนำไปสู่การเกิดเบรกดาวน์อย่างสมบูรณ์
ได้ หรือเมื่อบริเวณปลายของ WT ที่นำไฟฟ้านั้นเกิดความเข้มสนามไฟฟ้าสูงมาก
พออาจจะนำให้เกิด Electrical Tree ขึ้นได้และทำให้นำไปสู่การเบรกดาวน์ของ
ฉนวนแข็งได้เร็วขึ้น

ตัวประกอบสำคัญที่ก่อให้เกิด WT ในฉนวนคือ
๏ สนามไฟฟ้า
๏ ความชื้น หรือ น้ำ
๏ เวลา

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 98 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
Bow tie tree Vented tree

ตัวอย่าง WT

ในฉนวนเคเบิล

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 99 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
ตัวอย่างการเกิด WT ในฉนวนเคเบิล

010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 100 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 101 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics
010113133 : High Voltage Engineering II (1/2559) 102 2. Breakdown in Liquid & Solid Dielectrics

You might also like