You are on page 1of 38

บทที่ 12 ไฟฟาเคมี (Electrochemistry)

วิชา 419008 เคมีสําหรับวิศวกร

โดย อ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ


ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตรประยุกต
Ox. No. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
Redox reaction and balancing www.ic.kmutnb.ac.th/wpr
Galvanic cell, Eo, Ecell , G
Electrolysis and applications
Corrosion and protection http://wps.prenhall.com/wps/media/objects/602/616516/Chapter_18.html
ไฟฟาเคมี (Electrochemistry)
การศึกษาเกีย่ วกับปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นพรอมกับ
การไหลของอิเล็กตรอน หรือกระแสไฟฟา

Galvanic Cell Electrolytic Cell


การศึกษาถึงปฏิกิริยาเคมีที่ทํา กระบวนการเกิดปฏิกิริยา หรือ
ใหมีการไหลของกระแสไฟฟา การเปลี่ยนแปลงทางเคมีโดย
เซลลไฟฟา อาศัยพลังงานไฟฟาจากภายนอก

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 2
เลขออกซิเดชัน (Oxidation number, Ox no.)
ƒ เปนตัวเลขของธาตุที่แสดงถึงจํานวนของ e- ที่ใหหรือรับ
ƒ สวนใหญเปนเลขจํานวนเต็ม ( 0, 1, 2, 3, ... )
ƒ เครื่องหมายเปน + หรือ - ก็ได

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 3
กฎเกณฑการพิจารณา Ox no.
1. อะตอมของธาตุตางๆ ในสภาวะอิสระ มี Ox no. = 0 ไมวาธาตุนนั้ จะอยูใน
รูปอะตอมเดี่ยวหรือหลายอะตอม Ex. Zn, Ag, Hg, Cl2, H2, P4, S8
2. ไอออนที่มีอะตอมเดีย่ วจะมี Ox no.= ประจุของไอออนนัน้
Ex. Na+, Cl-, Al3+ , S2-
3. ในสารประกอบ โลหะหมู IA Ox no. = +1 เสมอ
โลหะหมู IIA Ox no. = +2 เสมอ
โลหะหมู IIIA Ox no. = +3 เสมอ
O Ox no. = -2 ยกเวน ใน peroxide Ex. H2O2, Na2O2
H Ox no. = +1 ยกเวน ในโลหะไฮไดร Ex. LiH, CaH2
4. ผลรวมทางพีชคณิตของ Ox no. ของอะตอมทั้งหมดในสูตรเคมีใดๆ จะมีคา
= ประจุสําหรับกลุมของอะตอมที่เขียนแสดงในสูตรนัน้
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 4
หลักในการพิจารณาเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบ
มักจะระบุเลขออกซิเดชันของธาตุที่มักจะมีเลขออกซิเดชันที่แนนอนกอน เชน โลหะหมู
IA, IIA, IIIA, O และ H จากนั้นจึงคอยคิดเลขออกซิเดชันของธาตุอื่นๆ ตอไป โดยคํานวณจาก
ผลรวมทางพีชคณิตของเลขออกซิเดชันจะมีคา เทากับประจุของสารนั้น ตามกฏขอสุดทาย
สารประกอบหรือ ผลรวมทางพีชคณิต เลขออกซิเดชันของ เลขออกซิเดชันของ
ไอออน ของเลขออกซิเดชัน ธาตุที่พิจารณากอน ธาตุทขี่ ดี เสนใต
1) SO42- -2 O = -2 S = +6
2) MnO2 0 O = -2 Mn = +4
3) KMnO4 0 K = +1, O = -2 Mn = +7
4) ClO4- -1 O = -2 Cl = +7
5) Cr2O72- -2 O = -2 Cr = +7
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
การระบุเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบหรือไอออน จะตองระบุเลขออกซิเดชันตอธาตุนั้น 1 อะตอม
KMUTNB 5
ปฏิกิริยารีดอกซ (ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดกั ชัน)
Redox reaction (Oxidation-Reduction reaction)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน = ปฏิกิริยาที่มีการให e- (เสีย e-) Ox no. เพิ่ม
Fe2+ Fe3+ + e-
ตัวรีดิวซ ให e- (Reducing agent)

ปฏิกิริยารีดักชัน = ปฏิกิริยาที่มีการรับ e- Ox no. ลด


Ti3+ + e- Ti2+
ตัวออกซิไดซ รับ e- (Oxidizing agent)

ตัวรีดวิ ซอยูในปฏิกิริยา Oxidation และ ตัวออกซิไดสอยูในปฏิกิริยา Reduction


Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 6
ปฏิกิริยารีดอกซ

Fe2+ + Ti3+ Fe3+ + Ti2+


ตัวรีดิวซ ตัวออกซิไดซ

ตัวรีดิวซ vs. ตัวออกซิไดส


ใหอิเล็กตรอน รับอิเล็กตรอน
มีเลข Oxidation number เพิ่มขึน้ มีเลข Oxidation number ลดลง
ทําหนาที่รีดิวซ ทําหนาที่ออกซิไดส
ถูกออกซิไดส ถูกรีดวิ ซ
อยูในปฏิกิริยา Oxidation อยูในปฏิกิริยา Reduction
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 7
การพิจารณาวาเปนปฏิกิริยารีดอกซหรือไม
ปฏิกิริยารีดอกซ เปนปฏิกิริยาที่สารในปฏิริยามีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน

เลขออกซิเดชัน 0 +1 +2 0
Cu (s) + 2 Ag+ (aq) → Cu2+ (aq) + 2 Ag (s)
Redox

เลขออกซิเดชัน +1 -1 +1 -2 +1 +1 -1 +1 -2
HCl (aq) + NaOH (aq) → NaCl (aq) + H2O (l)
Non-redox

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 8
การดุลสมการรีดอกซ

สารตัง้ ตน → ผลิตภัณฑ


• ดุลทั้งจํานวนอะตอม ซาย = ขวา
• ดุลจํานวนอิเล็กตรอนที่ให (ใน oxidation) = อิล็กตรอนที่รับ (ใน Reduction)
• ดุลจํานวนประจุไฟฟา ซาย = ขวา

การดุลสมการรีดอกซมี 2 วิธี
1. การดุลสมการรีดอกซโดยวิธีการเปลี่ยน Ox no.
2. การดุลสมการรีดอกซโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยา
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 9
การดุลสมการรีดอกซโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยา
1. ตรวจสอบเลขออกซิเดชันของธาตุในสารทุกตัวในปฏิกิริยา พิจารณาวา
สารใดเปนตัวรีดิวซ (Ox. No เพิ่ม) และ สารใดเปนตัวออกซิไดส (Ox. No ลด)
2. แยกครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน โดยใหระบุถึงสารตั้งตนและผลิตภัณฑ
3. ดุลแตละครึง่ ปฏิกิริยา ตามขั้นตอนนี้
- ดุลธาตุที่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
- เติมอิเล็กตรอนเขาไปในดานที่มีเลขออกซิเดชันสูงกวา ใหมีจํานวนเทากับ
เลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลง
- ดุลจํานวนประจุไฟฟาโดยการเติม H+ ในกรณีที่ปฏิกิริยาเกิดในสารละลายกรด
และเติม OH- ในกรณีที่ปฏิกิริยาเกิดในสารละลายเบส
- ดุลจํานวนอะตอมของ O และ H และทําจํานวน O และ H ทั้ง 2 ฝงใหเทากัน
โดยการเติม H2O
4. ทําแตละครึ่งปฏิกิริยาใหสมบูรณโดยการคูณดวยตัวเลขนอยที่สุด เพื่อทําใหจํานวน
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
อิเล็กตรอนของครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองเทากันKMUTNB 10
ขั้นตอน วิธีทํา วิธคี รึ่งปฏิกิริยา
1. ตรวจสอบ Ox no. ของธาตุในสารทุกตัว +6 -2 +1 -2 +3 0
และดูวา สารใดเปนตัวรีดิวซ (Ox. No เพิ่ม) Cr2O72- + H2S → Cr3+ + S
และ สารใดเปนตัวออกซิไดส (Ox. No ลด) ออกซิไดส รีดิวซ
2. แยกครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่ง ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
ปฏิกิริยารีดักชัน H2S → S Cr2O72- → Cr3+
3. ดุลแตละครึ่งปฏิกิริยา ตามขั้นตอนนี้ -2 0 +6 +3
- ดุลธาตุที่มีการเปลี่ยนแปลง Ox.No. H2S → S Cr2O72- → 2 Cr3+
-เติม e เขาไปในดานที่มี Ox.No. สูงกวาใหมี H2S → S + 2 e- Cr2O72- + 6 e- → 2 Cr3+
จํานวนเทากับ Ox.No. ที่เปลี่ยนแปลง
- ดุลจํานวนประจุไฟฟาโดยการเติม H+ ใน H2S → S + 2 e- + 2 H+ Cr2O72- + 6 e- + 14 H+ → 2 Cr3+
กรณีที่ปฏิกริ ิยาเกิดในสารละลายกรด
- ดุล O และ H โดยการเติม H2O - Cr2O72- + 6 e- + 14 H+ → 2 Cr3++7 H2O
4. ทําแตละครึ่งปฏิกิริยาใหสมบูรณโดยการ H2S → S + 2 e- + 2 H+ Cr2O72- + 6 e- + 14 H+ → 2 Cr3++ 7 H2O
คูณดวยตัวเลขนอยที่สุด เพื่อทําใหจํานวน e ×3
ของครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองเทากัน 3 H2S → 3 S + 6 e- + 6 H+
5. รวมครึ่งปฏิกิริยาที่สมบูรณเขาดวยกัน 3 H2S + Cr2O72- + 6 e- + 14 H+ → 3 S + 6 e- + 6 H+ + 2 Cr3++ 7 H2O
Check จํานวนอะตอม และ ประจุไฟฟาทั้ง 3 H S + Cr O 2- + 8 H+ → 3 S + 2 Cr3++ 7 H O
Walaiporn
2 Prissanaroon
2 7 Ouajai, IC, 2
2 ขาง KMUTNB 11
Ex. จงดุลสมการรีดอกซตอไปนี้
1. Cu (s) + Ag+ (aq) Cu2+ (aq) + Ag (s)
2. Cd (s) + H+ + NO3- Cd2+ (aq) + NO (g) + H2O
3. Cr2O72- + H+ + H2C2O4 Cr3+ + H2O + CO2
4. Cr2O72- + H2S Cr3+ + S ( in acid solution)

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 12
เซลลกัลวานิก ( Galvanic cell)
เซลลไฟฟาที่ใชในการศึกษาปฏิกิริยา Redox (มีการไหลของกระแสไฟฟา)

- +

ครึ่งเซลล Zn ครึ่งเซลล Cu Oxidation Reduction


Zn (s) → Zn2+ (aq) + 2e- Cu2+ (aq) + 2e- → Cu (s)

1. ขั้วไฟฟา (Electrode) 2 ขั้ว ทําหนาที่ เปน ทางเดินของ e-


ขั้วที่เกิดปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน (Anode) = ขั้ว – , ขั้วที่เกิดปฏิกริ ิยารีดกั ชัน (Cathode) = ขั้ว +
2. สลล. Electrolyte ทําหนาที่ แหลงไอออน
Walaiporn + และ –
Prissanaroon
KMUTNB
Ouajai, IC,
13
http://library.tedankara.k12.tr/chemistry/vol1/redox/trans88.jpg
ปฏิกิริยาครึ่งเซลลรีดักชัน ปฏิกิริยาครึ่งเซลลออกซิเดชัน
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
ปฏิกิริยารีดอกซ
KMUTNB “Daniel cell”
14
ขั้วไฟฟา (Electrode) แบงเปน 2 ชนิด
1. Active Electrode : ขั้วทีม่ ีสวนในการเกิดปฏิกิริยา
Ex. Zn → Zn2+ + 2 e-

2. Inert Electrode : ขั้วที่ทําหนาที่เปนทางเดินของอิเล็กตรอนเทานั้น


โดยไมมีสวนในปฏิกิริยา Ex. Pt , C(Graphite)
Ex. ขั้วมาตรฐานไฮโดรเจน (Standard Hydrogen Electrode, SHE)

2 H+ + 2 e- → H2 (g) E0H = 0 Volt


2
ขั้วที่เปนหลอดแกว ขางในมีลวด Pt จุมอยูใน
สลล. ที่มี H+ 1 Walaiporn
M และมีPrissanaroon
กKMUTNB
ารผาน HOuajai,
2 (g) ที่มีความดัน 1 atm
IC,
15
การเขียนแผนภาพเซลลแบบยอ (Shorthand representation)
1. การเขียนแผนภาพครึ่งเซลล ขั้วไฟฟา(สถานะ)/สารละลาย(ความเขมขน)
Ex. Zn/Zn2+(1M) Zn/Zn2+ Cu/Cu2+(1M) Cu/Cu2+
Pt/Br2(l),Br-(aq) Pt/H2(g)/H+(aq) = ขัว้ มาตรฐานไฮโดรเจน

2. การเขียนแผนภาพรวมปฏิกิริยารีดอกซ - ตอแผนภาพครึ่งเซลลมาตอกันโดย
คั่นดวย // กรณีใช salt bridge หรือคั่นดวย , ในกรณีที่ใชแผนพรุน
Oxidation // Reduction Oxidation : Zn Zn 2+ + 2 e-

Anode // Cathode Reduction : Cu 2+ + 2 e- Cu


ขั้วทีใ่ ห e- // ขั้วทีร่ บั e- Zn + Cu2+ Zn2+ + Cu
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 16
Ex. Co(s)/Co2+//Ag+/Ag(s)
จงวาดรูปเซลลกลั วานิกจากแผนภาพเซลลแบบยอ พรอมทั้งระบุ ขั้วบวก ลบ
Anode Cathode ตัวรีดิวซ และ ตัวออกซิไดส รวมทั้งสมการเคมีที่เกิดขึ้น

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 17
ศักยไฟฟาอิเล็กโตรดมาตรฐาน (Standard Electrode Potential)
วัดไดโดยตอกับขั้วมาตรฐานไฮโดรเจน สภาวะมาตรฐาน
2 H+ + 2 e- H2 (g) E0H = 0 Volt อุณหภูมิ 25 oC หรือ 298 K
2
Gas
+ - - +
ความดัน 1 บรรยากาศ
หรือ 1 atm
Solution
ความเขมขน 1 โมลาร
หรือ 1 โมล/ลิตร
Reduction Oxidation Oxidation Reduction

Zn Zn2+ + 2 e- Eoox = 0.763 V Cu2+ + 2 e- Cu EoRed = 0.340 V


Zn2+ + 2 e- Zn EoRed = - 0.763 V Prissanaroon Ouajai, IC,
Walaiporn
KMUTNB 18
ศักยไฟฟารีดักชันมาตรฐาน

รับ e ไดดี
เปนตัวออกซิไดส ที่ดี
เกิด Reduction ไดดี
เปนขั้ว Cathode

ให e ไดดี
เปนตัวรีดิวซที่ดี
เกิด oxidation ไดดี
เปนขั้ว Anode

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 19
Ex. จากสารที่กําหนดให จงตอบคําถามตอไปนี้
Li Li+ Cd Cd2+ Cu Cu2+ Ag Ag+

1. สารใดเปนตัวรีดิวซที่ดีที่สุด
2. สารใดเปนตัวออกซิไดสที่ดีที่สุด

3. โลหะใดบางที่เกิดปฏิกิริยาเมื่อนํามาจุมในสารละลายที่มี Cd2+
4. โลหะใดบางที่เกิดแกส H2 เมื่อนํามาจุมในสารละลาย HCl

Ex จงทํานายวา ถาจุมแผนตะกัว่ (Pb) ลงในสารละลาย Zn2+(1M)


จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรหรือไม
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 20
แรงเคลือ่ นไฟฟามาตรฐานของเซลลไฟฟาเคมี (Eocell)
n Eocell = EoRed + EoOx
E o
o cell = Eo
Red,Cathode - E o
Red,Anode
Note
1. ในตารางจะกําหนด EoReduction มา ดังนั้น ถาตองการ EoOxidation ตองมีการกลับเครื่องหมาย
2. ในการดุลสมการรีดอกซ บางครั้งจะมีการคูณดวยตัวเลขเพื่อดุลจํานวน e- ที่ใหและรับ
ในการคิดคา Eo ไมตองเอาเลขใดมาคูณ
3. ความหมายของ Eocell
+ ปฏิกิริยาเกิดไดเองในทิศทางที่ตอวงจร
- ปฏิกิริยาเกิดเองไมไดในทิศทางที่ตอวงจรแตเกิดไดถามีการสลับขั้วไฟฟา
เรียกวา Electrolytic Cell
0 ปฏิกิริยาอยูที่ภาวะสมดุ ล
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 21
Ex.1 จงหา Eocell ของเซลล Zn(s)/Zn2+(1M)//Cu2+(1M)/Cu(s)
(Ans. +1.10 V)

Ex.2 ปฏิกริ ิยา 2Ag + Zn2+ 2Ag+ + Zn เกิดขึ้นไดเองหรือไม

Ex.3 จงเขียนปฏิกิรยิ ารีดอกซที่สรางจากครึ่งเซลลที่กําหนดให


Ni2+ + 2 e- Ni Eo = -0.25 V
Na+ + e- Na Eo = -2.71 V

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 22
เคมีไฟฟา และเทอรโมไดนามิกส
ปฏิกิริยาที่เกิดเองได ΔG < 0 พลังงานอิสระที่ลดลงจะถูกเปลี่ยนเปนงานทางไฟฟา

ΔGo = Welec = -nEoF Eo = -ΔGo


nF
เมื่อ E0cell = แรงเคลื่อนไฟฟามาตรฐานของเซลล (V) = EoReduction+ EoOxidation
ΔGo = พลังงานอิสระมาตรฐาน (J)
F = คาคงที่ฟาราเดย = 96487 C = 96487 J/V.mol
n = จํานวน e- ที่ถายเทในปฏิกิริยารีดอกซ
ชนิดของปฏิกิริยา เครื่องหมายของ ΔG เครื่องหมายของ Ecell
ปฏิกิริยาที่เกิดเองได − +
ปฏิกิริยาที่เกิดเองไมได + −
ปฏิกิริยา ณ สภาวะสมดุล Walaiporn Prissanaroon 0
KMUTNB
Ouajai, IC, 0 23
Ex. จงหา ΔGo ของปฏิกิริยาตอไปนี้ และปฏิกิริยาดังกลาวเกิดไดเองตามที่เขียนหรือไม

1. Zn(s)/Zn2+(1M)//Cu2+(1M)/Cu(s) ΔGocell = -nEocellF

2. 2AgCl (s) + Cu (s) → 2 Ag (s) + 2 Cl- (aq) + Cu2+ (aq)


เมื่อกําหนด AgCl (s) + e- → Ag (s) + Cl- (aq) Eo = +0.222 V
และ Cu2+ (aq) + 2 e- → Cu (s) Eo = +0.34 V

ΔGo = -nEoF (Ans. ΔGo = 22200 J)

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 24
สมการเนินสท (Nernst Equation)
aA + bB cC + dD
Ecell = Eocell - RT ln [C]c[D]d
nF [A]a[B]b
เมื่อ Ecell = แรงเคลื่อนไฟฟาของเซลล (V)
E0cell = แรงเคลื่อนไฟฟามาตรฐานของเซลล (V) = EoReduction + EoOxidation
R = คาคงที่ของกาซ = 8.314 J/mol.K = 8.314 V.C/mol.K
F = คาคงที่ฟาราเดย = 96487 C = 96487 J/V.mol
T = อุณหภูมิสัมบูรณ (K)
n = จํานวน e- ที่ถายเทในปฏิกิริยารีดอกซ
[A] = ความเขมขนของสาร A ในหนวย โมลตอลิตร
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 25
a) ถา T = 25 oC = 298 K
Ecell = Eocell - 0.0592 log [C]c[D]d
n [A]a[B]b
b) ถาสารทุกตัวอยูในสภาวะมาตรฐาน (เขมขน 1 M)
Ecell = Eocell
c) ถาปฏิกิริยาเกิดที่ภาวะสมดุล ( ΔG = 0 และ Ecell = 0 ), T = 25 oC
aA + bB cC + dD

Eocell = 0.0592 log [C]c[D]d Eocell = 0.0592 log K


n [A]a[B]b n
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 26
Ex. จงคํานวณคาคงทีส่ มดุลที่ 25 oC ของปฏิกิรยิ า
Zn (s) + Cu2+ (aq) Zn2+ (aq) + Cu (s)

Ex. ถาแรงเคลือ่ นไฟฟาของเซลล Zn(s)/Zn2+(c1)//Cu2+(c2)/Cu(s)


เทากับ 1.05 V จงคํานวณอัตราสวน [Zn2+] / [Cu2+]

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 27
เซลลความเขมขน (Concentration Cell)
เซลลกัลวานิกที่สรางจากครึ่งเซลลชนิดเดียวกัน แตสารละลายอิเล็กโตรไลท มีความเขมขน
ตางกัน โดยจะมีการถายเทสาร (ไอออน) จากความเขมขนสูง ไปสู ความเขมขนต่ํา หรือ
“อิเล็กตรอนถายเทจากครึ่งเซลลที่เขมขนต่ําไปครึ่งเซลลที่เขมขนสูง”
Conc. สูง เกิด Reduction
Cu2+ (aq, conc. สูง) + 2e- Cu (s)

- + Conc. ต่ํา เกิด Oxidation


Cu (s) Cu2+ (aq, conc. ต่ํา) + 2e-

Cu2+ (aq, conc. สูง) Cu2+ (aq, conc. ต่ํา)

Oxidation Reduction Eocell = 0.34 + (-0.34) = 0 V


Anode Cathode Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 28
แรงเคลื่อนไฟฟาของเซลลความเขมขน
จาก Nernst Equation
aA + bB cC + dD Ecell = Eocell - RT ln [C]c[D]d
nF [A]a[B]b
สมการเคมีของเซลลความเขมขน Cu2+ (aq, conc. สูง) Cu2+ (aq, conc. ต่ํา)

Ecell = Eocell - RT ln [conc. ต่ํา] Ecell = - RT ln [conc. ต่ํา]


nF [conc. สูง] nF [conc. สูง]
Eocell = 0 เพราะเปนครึง่ เซลลชนิดเดียวกัน Ecell = - RT ln [Anode]
nF [Cathode]
Ex. จงคํานวณ Ecell ที่ 25 oC ของปฏิกริ ิยา Zn (s)/Zn2+ (0.024M) // Zn2+ (0.48M)/Zn (s)
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB 29
ประโยชนของเซลลกลั วานิก
เซลลกัลวานิกแบงเปน 2 ประเภท ในแงการใชงาน
1. เซลลกัลวานิกแบบปฐมภูมิ (Primary galvanic cell) Ex. เซลลแหง หรือ เซลลถานไฟฉาย (Dry Cell)

กลองเซลล = Zn(s) Anode (ขั้วลบ)


แทง Graphite = Cathode (ขั้วบวก)
Electrolyte = NH4Cl + MnO2 + ZnCl2
+ Inert filler

Anode (-) Zn (s) Zn2+ (aq) + 2 e-


Cathode (+) 2MnO2(s) + 2NH4+(aq) + 2e- Mn2O3(s) + H2O (l) + 2NH3(aq)
Redox การจายไฟ
Zn(s) + 2MnO2(s) + 2NH4+(aq) Zn2+(aq) + Mn2O3(s) + H2O (l) + 2NH3(aq)
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
Ecell = 1.5 V
KMUTNB 30
2. เซลลกัลวานิกแบบทุติยภูมิ (Secondary galvanic cell)
Ex. เซลลสะสมไฟฟาแบบตะกั่ว or แบตตารี (Lead storage battery)
Anode (-) = Pb
Cathode (+) = PbO2
Electrolyte = H2SO4 เจือจาง
Anode (-) Pb (s) + SO42- PbSO4 (s) + 2e-
Cathode (+) PbO2 (s) + SO42- + 4H+ + 2e-
PbSO4 (s) + 2H2O
Redox การจายไฟ
Pb (s) + PbO2 (s) + 2HSO4- + 2H+ 2PbSO4 (s) + 2H2O
1. Ecell = 2.0 V ดังนั้น 1 Battary ใช 6 เซลลตอ กัน = 12 V
2. สามารถอัดไฟไดใหม เพราะปฏิกิริยานี้ผนั กลับได
การอัดไฟ 2PbSO4 (s) + 2H2OWalaiporn Prissanaroon
Pb (s)Ouajai,
+ PbO IC, (s) + 2HSO - + 2H+
KMUTNB
2 4 31
อิเล็กโตรไลซิส (Electrolysis)
2Au (s) + Zn2+ (aq) 2Au+ (aq) + Zn (s) Eocell = -2.18 V

ปฏิกิริยานีจ้ ะไมเกิดขึน้ เอง แตถา ปอนศักยไฟฟาเขาไป > 2.18 V


พบวา ปฏิกิริยานีจ้ ะเกิดได อิเล็กโตรไลซิส
อิเล็กโตรไลซิส คือ กระบวนการเกิดปฏิกิริยา หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
โดยอาศัยพลังงานไฟฟาจากภายนอก

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 32
เซลลอิเล็กโตรไลติก (Electrolytic Cell)
เซลลที่เกิดกระบวนการอิเล็กโตรไลซิส ประกอบดวย
1. ขั้วไฟฟา 2 ขั้ว
ขั้วที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน Anode
ขั้วที่เกิดปฏิกิริยารีดักชัน Cathode
2. แหลงจายไฟ (Power Supply)
ขั้วที่ตอกับขั้วลบของแหลงจายไฟ = ขั้วลบ
ขั้วที่ตอกับขั้วบวกของแหลงจายไฟ = ขั้วบวก
3. สารละลาย Electrolyte
Oxidation Reduction แหลง และ ทางเดินของไอออน
Anode Cathode
ขั้วบวก ขั้วลบ Walaiporn 2Prissanaroon
Na+ (l)Ouajai,+ IC,2 Cl- (l) 2Na (l) + Cl2 ( g)
KMUTNB 33
เซลลกัลวานิก เซลลอิเล็กโตรไลติก
1. ประกอบดวย 1. ประกอบดวย
- ขั้วไฟฟา 2 ขัว้ - ขั้วไฟฟา 2 ขัว้
- สลล. Electrolyte - สลล. Electrolyte
- แผนพรุนหรือสะพานเกลือ - แหลงจายไฟ
2. ทิศทางการไหลของ e- 2. ทิศทางการไหลของ e-
- ดูจาก เข็มของ Ammeter - ดูจาก เข็มของ Ammeter
- ดูจาก Eo ของแตละครึ่งเซลล - ดูจากการตอกับแบตตารี
วาครึ่งเซลลไหนให e- (Eo ) e- วิ่งออกจากขั้ว - ของ Batt
ครึ่งเซลลไหนรับ e- (Eo ) e- วิ่งเขาหาขั้ว + ของ Batt
3. การกําหนดขั้วของเซลล 3. การกําหนดขั้วของเซลล
- Anode Oxidation - Anode Oxidation
- Cathode Reduction - Cathode Reduction
- ขั้ว + ขั้วที่ e- ไหลเขา - ขั้ว + ขั้วที่ตอ กับขั้ว+ของ Batt
- ขั้ว - ขั้วที่ e- ไหลออก - ขั้ว - ขั้วที่ตอ กับขั้ว-ของ Batt
ดังนัน้ Anode ขั้ว - ดังนัน้ Anode ขั้ว +
Cathode ขั้ว + Walaiporn Prissanaroon Ouajai,Cathode
IC, ขั้ว -
KMUTNB 34
ประโยชนของอิเล็กโตรไลซิส
1. การถลุงโลหะ การแยกธาตุออกจากสารประกอบ
Ex. การเตรียมโลหะโซเดียม จากเกลือ Na
ขั้วลบ Cathode Reduction Na+(l) + e- Na (l) Na (s)
ขัว้ บวก Anode Oxidation 2Cl-(l) Cl2(g) + 2e-
Down cell รวม
2Na+(l) + 2Cl-(l) 2Na (l)+ Cl2(g)

2Na (s)
Anode : แกรไฟต
Cathode : Fe ทรงกระบอก
Electrolyte
Walaiporn Prissanaroon
KMUTNB
Ouajai, IC, : NaCl (l)
35
2. การทําโลหะใหบริสุทธิ์ Ex. การทําโลหะทองแดงใหบริสุทธิ์
โลหะ Cu + Trace of Fe, Zn Anode (+) = Cu ที่ตองการทําใหบริสุทธิ์
Cathode (-) = Cu บริสุทธิ์
Electrolyte = CuSO4
ขั้วบวก Anode Oxidation
Cu Cu2+ + 2e- EOxo = -(+0.34) V
Fe Fe2+ + 2e- EOxo = -(-0.44) V
Zn Zn2+ + 2e- EOxo = -(-0.76) V
ขั้วลบ Cathode Reduction
Cu2+ + 2e- Cu ERedo = (+0.34) V
Fe2+ + 2e- Fe ERedo = (-0.44) V
Zn2+ + 2e-
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC, Zn ERedo = (-0.76) V
KMUTNB 36
3. การชุบผิวโลหะดวยไฟฟา (Electroplating)
Ex. การเคลือบเงินบนชอนสังกะสี
Anode (+) = โลหะที่จะใชเคลือบ (Ag)
Cathode (-) = โลหะที่ถูกเคลือบ (ชอนสังกะสี)
Electrolyte ไอออนของโลหะที่จะใชเคลือบ (Ag+)

ขั้วบวก Anode Oxidation


Ag (s) Ag+(aq) + e-
ขั้วลบ CathodeReduction
Ag+ (aq) + e- Ag (s)
สามารถใชกฏฟาราเดยเพื่อชวยในการควบคุม
ปริมาณของสารเคลื
Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,
KMUTNB อบได 37
The End of Semester
Good Luck
Hope to see you again (not in the class !!!)

Walaiporn Prissanaroon Ouajai

Walaiporn Prissanaroon Ouajai, IC,


KMUTNB 38

You might also like