You are on page 1of 191

ไฟฟ้ าเคมี

(Electrochemistry)
เกณฑ์การวัดและประเมินผลรายวิชา เคมี5 ว 33225
1. อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30
2. คะแนนระหว่างภาค จานวน 70 คะแนน นักเรียนต้องปฏิบัติดังนี้
2.1 คะแนนสอบหลังเรียนแต่ละหน่วย
ก่อนกลางภาค จานวน 10 คะแนน
หลังกลางภาค จานวน 10 คะแนน
2.2 คะแนนสมุดบันทึกระหว่างเรียน + แบบฝึกหัด จานวน 10 คะแนน
2.3 คะแนนเข้าห้องเรียน จานวน 10 คะแนน
2.4 การปฏิบัติกิจกรรม (กลุ่ม-ทดลอง) ในห้องปฏิบัติการ จานวน 10 คะแนน
2.5 คะแนนสอบกลางภาค จานวน 20 คะแนน
รวมคะแนนระหว่างภาค 70 คะแนน
3. การสอบปลายภาค จานวน 30 คะแนน
การสอบกลางภาค
1. ตากว่า 12 คะแนน สอบซ่อมได้ไม่เกิน 12 คะแนน
เกณฑ์การสอบย่อย 2. ถ้า 12 คะแนนขึ้นไป สอบใหม่ได้เพิมไม่เกิน 1 คะแนน
1. ตากว่า 6 คะแนน สอบซ่อมได้ไม่เกิน 6 คะแนน
2. ถ้า 6 คะแนนขึ้นไป สอบใหม่ได้เพิมไม่เกิน 1 คะแนน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.อธิบายความหมายของปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน ปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ ตัวรีดวิ ซ์และตัวออกซิไดส์ ในด้าน
การถ่ายโอนอิเล็กตรอนและการเปลีย่ นแปลงเลขออกซิเดชันได้
2.จัดลาดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของธาตุหรือไอออนและเปรียบเทียบความสามารถในการเป็ นตัวรีดวิ ซ์
หรือตัวออกซิไดส์ได้

3.ดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชันและครึง่ ปฏิกริ ยิ าได้

4.ต่อเซลล์กลั วานิกจากครึง่ เซลล์ทก่ี าหนดให้ พร้อมทัง้ บอกขัว้ แอโนด ขัว้ แคโทดและเขียนสมการแสดงปฏิกริ ยิ าได้

5.เขียนแผนภาพเซลล์กลั วานิกได้

6.อธิบายวิธหี าค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึง่ เซลล์ (0E) โดยการเปรียบเทียบกับครึง่ เซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐานได้


จุดประสงค์การเรียนรู้
7.ใช้คา่ 0E ของครึง่ เซลล์คานวณหาค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของเซลล์และทานายการเกิดปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ได้

8.อธิบายหลักการทางานของเซลล์กลั วานิก เซลล์ปฐมภูม ิ เซลล์ทุตยิ ภูมแิ ละเซลล์อเิ ล็กโทรไลติกได้

9. อธิบายหลักการทางานพร้อมทัง้ เขียนสมการแสดงปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ในถ่านไฟฉาย เซลล์แอลคาไลน์ เซลล์ปรอท


เซลล์เงิน เซลล์เชือ้ เพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน เซลล์เชือ้ เพลิงโพรเพน-ออกซิเจน เซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่ เซลล์
นิกเกิล-แคดเมียม เซลล์ลเิ ทียม-ไอออน พอลิเมอร์และเซลล์โซเดียม-ซัลเฟอร์ได้

10.อธิบายหลักการของการแยกสารเคมีดว้ ยกระแสไฟฟ้ า การชุบโลหะด้วยไฟฟ้ า และการทาโลหะให้บริสทุ ธิ ์ พร้อม


ทัง้ เขียนสมการแสดงปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ได้

11.อธิบายสาเหตุหรือภาวะทีท่ าให้โลหะเกิดการกัดกร่อนพร้อมทัง้ เขียนสมการแสดงปฏิกริ ยิ าได้

12.อธิบายวิธปี ้ องกันการกัดกร่อนของโลหะโดยวิธอี ะโนไดว์ การรมดา วิธแี คโทดิก การเคลือบผิวด้วยพลาสติก สีหรือ


น้ ามัน การชุบโลหะได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
13.อธิบายหลักการทางานของแบตเตอรีอ่ เิ ล็กโทรไลต์ของแข็ง แบตเตอรีอ่ ากาศ การทาอิเล็กโทรไดอะลิซสิ น้าทะเลได้

14.ทาการทดลอง บันทึกผลการทดลอง แปลความหมายข้อมูลและสรุปผลการทดลองในเรือ่ งต่อไปนี้


- 14.1 ปฏิกริ ยิ าระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน
- 14.2 การถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กลั วานิก
- 14.3 เซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่
- 14.4 การแยกทองแดงไอออน (Cu2+) ออกจากสารละลาย CuSO4 ด้วยไฟฟ้ า
- 14.5 การชุบตะปูดว้ ยสังกะสี
- 14.6 การป้ องกันการกัดกร่อนของเหล็ก
ไฟฟ้ าเคมี (Electrochemistry)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction)

การดุลสมการรีดอกซ์

เซลล์ไฟฟ้ าเคมี

ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี


เลขออกซิเดชัน (Oxidation Number)
Oxidation Number : ตัวเลขที่แสดงค่าประจุไฟฟ้ าของอะตอม หรือไอออนของธาตุ
หลักการพิจารณาเลขออกซิชนั

1.ธาตุอิสระ มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ 0 EX. He , Na , O2 , CI2 , S8

2.ธาตุหมู่ 1A,2A,3A ในสารประกอบมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ +1 , +2 , +3 ตามลาดับ

3.ไฮโดรเจนมีเลขออกซิเดชันเป็ น +1 ถ้าเป็ นพันธะโคเวเลนต์ , -1 ถ้าเป็ นพันธะไอออนิก

4.ไอออนมีเลขออกซิเดชันเท่ากับประจุของไอออนนัน้ ๆ EX. Na+1 = +1 , Mg2+ = +2

5.ฟลูออรีนมีเลขออกซิเดชันเป็ น -1 เสมอ

6.เลขออกซิเดชันของสารประกอบใดๆก็ตาม รวมกันจะมีค่าเท่ากับ 0
หลักการพิจารณาเลขออกซิชนั

7.ออกซิเจน มีเลขออกซิเดชันเป็ น -2 ในสารประกอบทัวไป


่ EX. H2O , NaOH
มีเลขออกซิเดชันเป็ น -1 ในสารประกอบเปอร์ออกไซด์ EX. H2O2 , Na2O2
มีเลขออกซิเดชันเป็ น +2 ใน OF2

8.สารประกอบใดๆก็ตาม ธาตุที่มีค่า EN สูงกว่าจะแสดงประจุลบ

9.ไอออนชนิดเดียวกันจะมีประจุเท่ากัน SO42- , SO32- , PO43- , PO33- ,CIO- , CIO2- ,


CIO3- , CIO4- , NO3- , NO2- , CN- , SCN-

10.เลขออกซิเดชันจะมีค่าเป็ นจานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ หรือเศษส่วนก็ได้

11.ผลรวมทางพีชคณิตของเลขออกซิเดชันทุกตัว เท่ากับ ประจุของสารประกอบ


การหาเลขออกซิเดชัน
1. หาเลขออกซิเดชันของ Cr ใน
- K2CrO4

- Na2Cr2O7

2. หาเลขออกซิเดชันของ Mn ใน MnO42-
จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุที่ขีดเส้นใต้

KMnO4 HClO3 H3PO4

CrO42- HClO4
9.1 ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction)

การทดลอง 9.1 ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน

จุดประสงค์การทดลอง
1.เพื่อศึกษาปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับไอออนในสารละลายได้
2.เพื่ออธิบายการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างโลหะกับโลหะไอออนในปฏิกิริยา พร้อมทัง้
เขียนสมการแสดงการถ่ายโอนอิเล็กตรอนได้
สารเคมี
1.สารละลาย CuSO4 1.0 mol/dm3 อุปกรณ์
2.สารละลาย ZnSO4 1.0 mol/dm3 1.บีกเกอร์ ขนาด 50 cm3
3.Zn ขนาด 0.5 cm x 7 cm 2.กระบอกตวง ขนาด 25 cm3
4.Cu ขนาด 0.5 cm x 7 cm 3.กระดาษทราย ขนาด 3 cm x 3 cm
วิธีการทดลอง
1.ใส่สารละลาย CuSO4 1.0 mol/dm3 2.จุม่ Zn ลงในบีกเกอร์ใบที่ 1
ลงในบีกเกอร์ 2 ใบ ใบละ 25 cm3 จุ่ม Cu ลงในบีกเกอร์ใบที่ 2
สังเกตสีสารละลาย

*สังเกตชิ้นโลหะ
และสารละลาย
บันทึกผล

3.จุม่ Zn ลงในบีกเกอร์ใบที่ 3 3.ใส่สารละลาย ZnSO4 1.0 mol/dm3


จุ่ม Cu ลงในบีกเกอร์ใบที่ 4 ลงในบีกเกอร์ 2 ใบ ใบละ 25 cm3
สังเกตสีสารละลาย

*สังเกตชิ้นโลหะ
และสารละลาย
บันทึกผล

ZnSO4 1 M
ตารางบันทึกผลการทดลอง

ระบบที่ทดสอบ การเปลี่ยนแปลงที่สงั เกตได้

ชิ้นโลหะ สารละลาย

Zn ใน CuSO4

Cu ใน CuSO4

Zn ใน ZnSO4

Cu ใน ZnSO4
บันทึกผลการทดลอง

ระบบที่ทดสอบ การเปลี่ยนแปลงที่สงั เกตได้

ชิ้ นโลหะ สารละลาย

Zn ใน CuSO4 มีสารสีน้าตาลแดงเกาะบนสังกะสี สารละลายสีฟ้าจางลงเมื่อตัง้ ไว้เป็ น


ส่วนที่จ่มุ อยู่ในสารละลาย เมื่อเขี่ย เวลานานขึน้ สารละลายจะมีสีจางลง
สารสีน้าตาลแดงออก สังกะสีมี มาก จนไม่มีสี
ลักษณะขรุขระ
Cu ใน CuSO4 ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง

Zn ใน ZnSO4 ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง

Cu ใน ZnSO4 ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง


CuSO4 (aq) มีสีฟ้า ZnSO4 (aq) ไม่มีสี
ในสารละลายมี Cu2+ ในสารละลายมี Zn2+
จุ่ม Zn (s) ลงใน Cu2+ (aq)
มีสารสีน้าตาลแดงมาเกาะที่แผ่นโลหะ Zn(s) เมื่อใช้แท่งแก้วเขี่ยให้สารสีน้าตาลแดงหลุด
ออก พบว่าผิวโลหะ Zn (s) สึกกร่อนและบางลง
: ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ เป็ นปฏิกิริยาการถ่ายโอนอิเล็กตรอน ระหว่างโลหะ Zn (s) กับ Cu2+ (aq)
โลหะ Zn (s) ให้อิเล็กตรอนแล้วเกิดเป็ น Zn2+ (aq) อยู่ในสารละลาย

Zn (s) Zn2+(aq) + 2e- 1


· สารสีน้าตาลแดงที่อยู่บนผิวโลหะ Zn(s) คือ โลหะ Cu(s)
เกิดจาก Cu2+ (aq) ในสารละลายรับอิเล็กตรอนจากโลหะ Zn(s)
· ถ้าแช่โลหะ Zn(s) ในสารละลาย CuSO4 นานขึน้ สารละลายสีฟ้าจะจางลง แสดงว่า ปริมาณ Cu2+
ในสารละลายลดลง

Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) 2


Zn (s) Zn2+(aq) + 2e- ------ 1
Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) ------ 2
ทัง้ 2 สมการ เป็ นปฏิกิริยาที่สารมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน
โดย โลหะ Zn (s) ให้อิเล็กตรอน และ Cu2+ (aq) ในสารละลายรับอิเล็กตรอน
และในปฏิกิริยามีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันของสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์
- ปฏิกิริยาที่สารให้อิเล็กตรอน แล้วมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึน้ เรียกว่า ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
- ปฏิกิริยาที่สารรับอิเล็กตรอน แล้วมีเลขออกซิเดชันลดลง เรียกว่า ปฏิกิริยารีดกั ชัน
ปฏิกิริยาออกซิเดชันและปฏิกิริยารีดกั ชัน เป็ นครึ่งปฏิกิริยา เมื่อรวมปฏิกิริยาทัง้ สองเข้า
ด้วยกัน จะได้ปฏิกิริยาที่เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction)

Oxidation : Zn (s) Zn2+(aq) + 2e-


Reduction : Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)
Redox : Zn (s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s)
ส่วนการทดลองจุ่ม Cu ลงในสารละลาย Zn2+ แล้วไม่เกิดปฏิกิริยา
แสดงว่า ความสามารถในการให้อิเล็กตรอนของ Cu (s) < Zn (s)
แต่ ความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของ Cu2+ (aq) > Zn2+ (aq)
สามารถนาไปสู่การจัดลาดับความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนของโลหะและโลหะไอออน
แสดงว่า มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่าง Zn กับ Cu2+ หลังจากเกิดปฏิกิริยาแล้วในสารละลาย
จะมี Zn2+ (aq) เพิ่มขึน้ ส่วน Cu2+ (aq) ลดลงเป็ นผลให้สีฟ้าของสารละลายจางลง
สรุปผลการทดลอง

1.สารละลาย CuSO4 สีฟ้า ส่วนสารละลาย ZnSO4 ไม่มีสี


ในสารละลายจะมีโลหะไอออนคือ Cu2+ และ Zn2+ ตามลาดับ
2.ระบบที่เกิดปฏิกิริยา คือ Zn จุ่มอยู่ในสารละลาย Cu2+ และมี Cu และ Zn2+ เกิดขึน้
แสดงว่ามีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างโลหะ Zn กับ โลหะไอออน Cu2+
หลังจากเกิดปฏิกิริยาแล้วในสารละลายจะมี Zn2+ (aq) เพิ่มขึน้ และ Cu2+ (aq) ลดลง
เป็ นผลให้สีฟ้าของสารละลายจางลง
ไฟฟ้ าเคมี (Electrochemistry)

การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การใช้พลังงานไฟฟ้ า
ทาให้เกิดพลังงานไฟฟ้ า ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ปฏิกิริยาไฟฟ้ าเคมี (Electrochemical reaction)
เป็ นปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับการถ่ายโอนอิเล็กตรอน โดยเปลี่ยนแปลง
พลังงานเคมีเป็ นไฟฟ้ า หรือให้กระแสไฟฟ้ าแล้วทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี

ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน ปฏิกิริยาที่ไม่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน
เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ เรียกว่า ปฏิกิริยานอนรีดอกซ์
(Redox reaction) (Non-redox reaction)

ปฏิกิริยาที่มีการให้และรับอิเล็กตรอน ปฏิกิริยาที่ไม่มีการให้และรับอิเล็กตรอน
มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
มีตวั รีดิวซ์และตัวออกซิไดส์ AgNO3(aq) + KCl(aq) → AgCl(s) + KNO3(aq)
ประกอบด้วย 2 ครึ่งปฏิกิริยา
- ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation Reaction )
- ปฏิกิริยารีดกั ชัน (Reduction reaction)
Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox reaction)
ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเท (ให้-รับ) อิเล็กตรอน เกิดขึน้ พร้อมกัน ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันของสาร โดยสามารถแยกเป็ นปฏิกิริยาย่อยได้ 2 ปฏิกิริยา
เรียกว่า ครึ่งปฏิกิริยา
Redox = Oxidation + Reduction
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดกั ชัน
(Oxidation Reaction) (Redox reaction)
ปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอนของสาร ปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอนของสาร
เลขออกซิเดชันของสารจะเพิ่มขึน้ เลขออกซิเดชันของสารจะลดลง
สารที่ให้อิเล็กตรอน “ตัวรีดิวซ์” สารที่รบั อิเล็กตรอน “ตัวออกซิไดส์”
(Reducing agent) (Oxidizing agent)
ตัวรีดิวซ์ (Reducing agent) ตัวออกซิไดส์ (Oxidizing agent)
สารที่ให้อิเล็กตรอนแก่สารอื่น สารที่รบั อิเล็กตรอนจากสารอื่น
สารที่มีค่าเลขออกซิเดชันเพิ่มขึน้ สารที่มีค่าเลขออกซิเดชันลดลง
เป็ นตัวถูกออกซิไดส์ เป็ นตัวถูกรีดิวซ์
สารที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน สารที่เกิดปฏิกิริยารีดกั ชัน

Note!
ตัวรีดิวซ์ = ถูกออกซิไดส์ = oxidation reaction = ให้ e- = O.N. เพิ่มขึน้
ตัวออกซิไดส์ = ถูกรีดิวซ์ = reduction reaction = รับ e- = O.N. ลดลง
ความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนของโลหะ
ไอออนของโลหะแต่ละชนิด มีความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนในสารละลายต่างกัน

ทดลองจุ่มแผ่นโลหะ Zn , Cu และ Ag ลงในสารละลาย CuSO4 , AgNO3 , ZnSO4

Ag

AgNO3 CuSO4 ZnSO4


ความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนของโลหะ

1.จุ่ม Ag(s) ใน CuSO4 2.จุ่ม Cu(s) ใน AgNO3 3.จุ่ม Cu(s) ใน ZnSO4 4.จุ่ม Zn(s) ใน CuSO4
ความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนของโลหะ

1.จุ่ม Ag(s) ใน CuSO4 2.จุ่ม Cu(s) ใน AgNO3 3.จุ่ม Cu(s) ใน ZnSO4 4.จุ่ม Zn(s) ใน CuSO4
ไม่เปลี่ยนแปลง มีสารสีเทาดามาเกาะ ไม่เปลี่ยนแปลง มีสารสีตาลแดงมาเกาะ
ที่แผ่นทองแดง ที่แผ่นสังกะสี
ความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนของโลหะ
1.จุ่ม Ag(s) ใน CuSO4 ไม่เปลี่ยนแปลง

Ag(s) + Cu2+(aq) ไม่เกิดปฏิกิริยา


แสดงว่า Cu2+ ไม่สามารถรับอิเล็กตรอนจาก Ag(s) ได้

2.จุ่ม Cu(s) ใน AgNO3 มีสารสีเทาดามาเกาะ


ที่แผ่นทองแดง
Cu(s) + Ag+(aq) Cu2+(aq) + Ag (s)
แสดงว่า Ag+ สามารถรับอิเล็กตรอนจาก Cu(s) ได้
Cu(s) Cu2+(aq) + 2e-
Ag+ (aq) + 2e- Ag(s)
แสดงว่า Ag+ รับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า Cu2+
ความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนของโลหะ
3.จุ่ม Cu(s) ใน ZnSO4 ไม่เปลี่ยนแปลง

Cu(s) + Zn2+(aq) ไม่เกิดปฏิกิริยา


แสดงว่า Zn2+ ไม่สามารถรับอิเล็กตรอนจาก Cu(s) ได้

4.จุ่ม Zn(s) ใน CuSO4 มีสารสีตาลแดงมาเกาะ


ที่แผ่นสังกะสี

Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu (s)


แสดงว่า Cu2+ สามารถรับอิเล็กตรอนจาก Zn(s) ได้
Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-
Cu2+ (aq) + 2e- Cu(s)
แสดงว่า Cu2+ รับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า Zn2+
ความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนของโลหะ

จากผลการทดลอง สรุปความสามารถในการรับอิเล็กตรอน
Ag+ > Cu2+ > Zn2+

ถ้าจุ่มแผ่น Zn ลงในสารละลาย Ag+ จะเกิดปฏิกิริยาหรือไม่ ?

ถ้าจุ่มแผ่น Ag ลงในสารละลาย Zn2+ จะเกิดปฏิกิริยาหรือไม่ ?

สรุปความสามารถในการให้อิเล็กตรอน
Zn > Cu > Ag
In order to keep track of what loses electrons and what gains them
, we assign oxidation numbers.
© A species is oxidized when it loses electrons.
– Here, zinc loses two electrons to go from
neutral zinc metal to the Zn2+ ion.
© A species is reduced when it gains electrons.
– Here, each of the H+ gains an electron and they
combine to form H2.
© What is reduced is the oxidizing agent.
– H+ oxidizes Zn by taking electrons from it.
© What is oxidized is the reducing agent.
– Zn reduces H+ by giving it electrons.
พิจารณาปฏิกริ ยิ าต่อไปนี้
ปฏิกริ ยิ า……………………………….
1. 2H2 (g) + O2 (g) → 2H2O(l)
ปฏิกริ ยิ า…………………………………….
Reducing agent : …………………………………………………..
Oxidizing agent : ……………………………………………………
ปฏิกริ ยิ า ……………………………….
2. AsH3 + KCIO3 H3AsO4 + KCI
ปฏิกริ ยิ า ……………………………
Reducing agent : …………………………………………………..
Oxidizing agent : …………………………………………………..
พิจารณาปฏิกริ ยิ าต่อไปนี้
ปฏิกริ ยิ า……………………………….
3. KCIO3 + Na2SnO2 → KCI + Na2SnO3
ปฏิกริ ยิ า…………………………………….
Reducing agent : …………………………………………………..
Oxidizing agent : ……………………………………………………
ปฏิกริ ยิ า ……………………………….
4. CuO + NH3 Cu + H2O + N2
ปฏิกริ ยิ า ……………………………
Reducing agent : …………………………………………………..
Oxidizing agent : …………………………………………………..
ครึ่งปฏิกิริยา (Half Reaction)

Oxidation Reaction : Sn2+ Sn4+ + 2e-


Reduction Reaction : Fe3+ + e- Fe2+
Redox Reaction :
========================================
• ปฏิกิริยา oxidation และ reduction เกิดขึน้ พร้อมกัน แต่สามารถพิจารณา
กระบวนการแยกกัน เรียกแต่ละกระบวนการ ว่า “ครึ่งปฏิกิริยา” (Half Reaction)
• ในแต่ละครึ่งปฏิกิริยาจะมีอิเล็กตรอนเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
• เมื่อรวมสองครึ่งปฏิกิริยาจะได้ปฏิกิริยารวม เรียกว่า “ปฏิกิริยารีดอกซ์” (Redox Reaction)
และจานวนอิเล็กตรอนจะต้องดุล ไม่มีอิเล็กตรอนปรากฏในสมการสุทธิ
การพิจารณาว่าเป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่

พิจารณาธาตุอิสระในสมการ

มีธาตุอิสระ ไม่มีธาตุอิสระ

Redox พิจารณาเลขออกซิดนั ของธาตุ


(ถ้าสมการมีธาตุทรานซิชนั ให้พิจารณาก่อน)

เลขออกซิเดชันเปลี่ยน เลขออกซิเดชันไม่เปลี่ยน

Redox Non-Redox
ปฏิกิริยาที่เป็ นรีดอกซ์แน่ นอน
1. ปฏิกิริยาที่มีธาตุอิสระปรากฏอยู่ในสมการ
2. ปฏิกิริยาที่ไอออนของธาตุชนิดเดียวกันมีประจุเปลี่ยนไป
เช่น Sn2+ (aq) + 2Fe3+ (aq) → Sn4+ (aq) + 2Fe2+ (aq)
3. ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทอะตอมของธาตุ
เช่น CO(g) + NO2(g) → CO2(g) + NO(g)
4.ปฏิกิริยาการสันดาป ปฏิกิริยาการสังเคราะห์แสงของพืช การสึกกร่อนของโลหะ

ปฏิกิริยาที่ไม่เป็ นรีดอกซ์
1. การละลายน้าหรือแตกตัวในน้าของกรด เบส และเกลือ
เช่น HCl(aq) → H+ (aq) + Cl− (aq)
2. ปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดกับเบส (กรด + เบส → เกลือ + น้า)
เช่น HCI(aq) + NaOH(aq) → NaCI(s) + H2O (l)
3. ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายของสารประกอบไอออนิก 2 ชนิด แล้วเกิดตะกอน
เช่น AgNO3 (aq) + KCl(aq) → AgCl(s) + KNO3 (aq)
แบบฝึ กหัด 9.1 หน้ า 7
9.2 ดุลสมการรีดอกซ์

จานวนอะตอมของแต่ละธาตุ และ ผลรวมประจุ


การดุลสมการรีดอกซ์
ไฟฟ้ าของสาร เท่ากัน

การดุลสมการรีดอกซ์อย่างง่าย
เช่น 2Ca (s) + O2(g) 2CaO(s)
แต่ปฏิกิริยาที่มีความซับซ้อน
เช่น Cl2(aq) + OH-(aq) Cl-(aq) + ClO3-(aq) + H2O(l)
ต้องดุลทัง้ ระบบ สามารถดุลสมการได้ 2 วิธี คือ

1.การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน (The Oxidation Number Change Method)

2. การดุลสมการรีดอกซ์โดยครึ่งปฏิกิริยา (Half reaction Method)


1.การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน
(The Oxidation Number Change Method)
การดุลสมการของปฏิกิริยารีดอกซ์ เป็ นการทาจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและ
ผลรวมประจุไฟฟ้ าของสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์เท่ากัน เลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลง
เท่ากัน จานวนอิเล็กตรอนที่ให้และรับเท่ากัน แต่ถ้าเป็ นสมการไอออนิกต้องทาค่าประจุ
รวมทางซ้าย และทางขวาให้เท่ากันด้วย
หลักการดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน
ขัน้ ที่ 1 เขียนสมการ หาเลขออกซิเดชันของแต่ละอะตอมในปฏิกริ ยิ า เพือ่ ระบุตวั รีดวิ ซ์และตัวออกซิไดส์
ขัน้ ที่ 2 ดุลจานวนอะตอมของตัวรีดวิ ซ์และตัวออกซิไดส์ และหาการเปลีย่ นแปลงของเลขออกซิเดชัน
ขัน้ ที่ 3 ทาให้เลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ ขึน้ และลดลงให้เท่ากัน ด้วยการคูณไขว้สลับค่าเลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ และลดนัน้
ขัน้ ที่ 4 ดุลจานวนอะตอมของธาตุทไ่ี ม่มกี ารเปลีย่ นแปลงเลขออกซิเดชัน โดยเริม่ จากสารโมเลกุลใหญ่
- ขาด O เติม H2O - ขาด H เติม H+ - ขาดประจุ เติม e-
ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้ าของสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์ให้เท่ากัน
ตัวอย่าง การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน
เมื่อจุ่มโลหะ Al ลงในสารละลายที่มี Zn2+ พบว่าโลหะ Al ส่วนที่จ่มุ อยู่ในสารละลาย
กร่อนไป จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยา และดุลสมการ Al
Al(s) + Zn2+(aq) Al3+(aq) + Zn (s)
Zn2+

ขัน้ ที่ 1 เขียนสมการ หาเลขออกซิเดชันของแต่ละอะตอมในปฏิกริ ยิ า เพือ่ ระบุตวั รีดวิ ซ์และตัวออกซิไดส์

ตัวรีดิวซ์
เลขออกซิเดชัน 0 +2 +3 0
Al(s) + Zn2+(aq) Al3+(aq) + Zn (s)
ตัวออกซิไดส์
ขัน้ ที่ 2 ดุลจานวนอะตอมของตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์ และหาการเปลี่ยนแปลงของเลขออกซิเดชัน

ตัวรีดิวซ์ เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น 3
เลขออกซิเดชัน 0 +2 +3 0
Al(s) + Zn2+(aq) Al3+(aq) + Zn (s)
ตัวออกซิไดส์ เลขออกซิเดชันลดลง 2

ขัน้ ที่ 3 ทาให้เลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ ขึน้ และลดลงให้เท่ากัน ด้วยการคูณไขว้สลับค่าเลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ และลดนัน้

ในที่นี้เท่ากับ 6 โดยเติม 2 หน้ า Al และ Al3+ (Al จานวน 1 อะตอม เลขออกซิเดชันเพิ่มขึน้ 3 )


เติม 3 หน้ า Zn2+กับ Zn ( Zn2+ จานวน 1 โมลไอออน เลขออกซิเดชันลดลง 2 )

เพิ่มขึน้ ( 2 ) x 3 = 6
เลขออกซิเดชัน 0 +2 +3 0
2Al(s) + 3Zn2+(aq) 2Al3+(aq) + 3Zn (s)
ลดลง (3) x 2 = 6
ขัน้ ที่ 4 ดุลจานวนอะตอมของธาตุที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน โดยเริ่มจากสารโมเลกุลใหญ่
ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้ าของสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์ให้เท่ากัน

2 Al(s) + 3Zn2+(aq) 2Al3+(aq) + 3Zn (s)


ประจุไฟฟ้ า 0 3(+2) 2(+3) 0

ผลรวมประจุไฟฟ้ า 6+ 6+

จานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้ าของ
สารตัง้ ต้นกับผลิตภัณฑ์เท่ากัน

สมการรีดอกซ์นี้ดลุ แล้ว
จงดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน
EX.1 Cr2O72-(aq) + H+(aq) + H2S(aq) Cr3+(aq) + H2O (l) + S(s)

ขัน้ ที่ 1 เขียนสมการ หาเลขออกซิเดชันของแต่ละอะตอมในปฏิกริ ยิ า เพือ่ ระบุตวั รีดวิ ซ์และตัวออกซิไดส์

Cr2O72-(aq) + H+(aq) + H2S(aq) Cr3+(aq) + H2O (l) + S(s)


ขัน้ ที่ 2 ดุลจานวนอะตอมของตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์ และหาการเปลี่ยนแปลงของเลขออกซิเดชัน

Cr2O72-(aq) + H+(aq) + H2S(aq) Cr3+(aq) + H2O (l) + S(s)

ขัน้ ที่ 3 ทาให้เลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ ขึน้ และลดลงให้เท่ากัน ด้วยการคูณไขว้สลับค่าเลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ และลดนัน้

Cr2O72-(aq) + H+(aq) + H2S(aq) Cr3+(aq) + H2O (l) + S(s)


ขัน้ ที่ 4 ดุลจานวนอะตอมของธาตุที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน โดยเริ่มจากสารโมเลกุลใหญ่
ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้ าของสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์ให้เท่ากัน

Cr2O72-(aq) + H+(aq) + H2S(aq) Cr3+(aq) + H2O (l) + S(s)


EX.2 Zn(s) + KMnO4(aq) + H2SO4(aq) ZnSO4(aq) + MnSO4(aq) + K2SO4(aq) + H2O(l)
EX.3 MnO2(s) + KBr(aq) + H2SO4(aq) MnSO4(aq) + K2SO4(aq) + H2O(l) + Br2(l)
EX.4 Cr2O3 + Na2CO3 + KNO3 Na2CrO4 + CO2 + KNO2
EX.5 Cr3+ + CIO3- + OH- CrO42- + CI- + H2O
2. การดุลสมการรีดอกซ์โดยครึ่งปฏิกิริยา (Half reaction Method)

การดุลสมการรีดอกซ์โดยครึง่ ปฏิกริ ยิ า หรือวิธกี ารไอออน-อิเล็กตรอน (Ion-Electron


Method) มีหลักการสาคัญ คือ
แยกสมการออกเป็ นครึง่ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันและครึง่ ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน แล้วดุลจานวนอะตอม
และประจุไฟฟ้ าของสารในแต่ละครึง่ ปฏิกริ ยิ าให้เท่ากัน แล้วรวมสองครึง่ ปฏิกริ ยิ าเข้าด้วยกันและตัดสาร
ทีเ่ หมือนกันออกทัง้ สองด้าน
**พิจารณาว่าปฏิกริ ยิ าทีก่ าหนดให้เกิดขึน้ ในสารละลายกรดหรือสารละลายเบส
หลักการดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน
ขัน้ ที่ 1 เขียนสมการ หาเลขออกซิเดชันของแต่ละอะตอมในปฏิกริ ยิ า
ขันที
้ ่ 2 แยกสมการออกเป็ นครึง่ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันและครึง่ ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน
ขัน้ ที่ 3 ดุลจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้ าในแต่ละครึง่ ปฏิกริ ยิ า
- ดุลจานวนอะตอมของแต่ละธาตุ ยกเว้น O และ H
- ดุลจานวนอะตอม O โดยการเติม H2O
- ดุลจานวนอะตอม H โดยการเติม H+
- ดุลจานวนประจุไฟฟ้ า โดยการเติม อิเล็กตรอน

ขัน้ ที่ 4 ทาจานวนอิเล็กตรอนในครึง่ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันและรีดกั ชันให้เท่ากัน แล้วรวมครึง่ ปฏิกริ ยิ าทัง้ 2


้ ่ 5 ในสารละลายเบส เติม OH- ทัง้ 2 ข้างของสมการ เพือ่ ให้เกิดเป็ นน้า
ขันที
ขัน้ ที่ 6 ตรวจสอบจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้ าให้เท่ากัน
ตัวอย่าง การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา
Cr2O72-(aq) + I-(aq) Cr3+(aq) + I2 (s)
ขันที
้ ่ 1 เขียนสมการ หาเลขออกซิเดชันของแต่ละอะตอมในปฏิกริ ยิ า

O.N. ลดลง 3
Cr2O72-(aq) + I-(aq) Cr3+(aq) + I2 (s)
เลขออกซิเดชัน +6 -1 +3 0

O.N. เพิ่มขึน้ 1
ขันที
้ ่ 2 แยกสมการออกเป็ นครึง่ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันและครึง่ ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน

Oxidation Reaction I-(aq) I2 (s)


Reduction Reaction Cr2O72-(aq) Cr3+(aq)
ขัน้ ที่ 3 ดุลจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้ าในแต่ละครึง่ ปฏิกริ ยิ า

Oxidation Reaction I-(aq) I2 (s)


ดุลจานวนอะตอมของธาตุ ยกเว้น O และ H 2I-(aq) I2 (s)
ดุลจานวนอะตอม O โดยการเติม H2O 2I-(aq) I2 (s)
ดุลจานวนอะตอม H โดยการเติม H+ 2I-(aq) I2 (s)
ดุลจานวนประจุไฟฟ้ า โดยการเติมอิเล็กตรอน 2I-(aq) I2 (s) + 2e-
Reduction Reaction Cr2O72-(aq) Cr3+(aq)
ดุลจานวนอะตอมของธาตุ ยกเว้น O และ H
Cr2O72-(aq) 2Cr3+(aq)
ดุลจานวนอะตอม O โดยการเติม H2O
Cr2O72-(aq) 2Cr3+(aq) +7H2O
ดุลจานวนอะตอม H โดยการเติม H+
Cr2O72-(aq)+14H+ 2Cr3+(aq) +7H2O
ดุลจานวนประจุไฟฟ้ า โดยการเติมอิเล็กตรอน

Cr2O72-(aq)+14H+ +6e- 2Cr3+(aq) +7H2O


ขัน้ ที่ 4 ทาจานวนอิเล็กตรอนในครึง่ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันและรีดกั ชันให้เท่ากัน แล้วรวมครึง่ ปฏิกริ ยิ าทัง้ 2

Oxidation Reaction 2I-(aq) I2 (s) + 2e-


Reduction Reaction Cr2O72-(aq)+14H+ +6e- 2Cr3+(aq) +7H2O

Oxidation Reaction x3 6I-(aq) 3I2 (s) + 6e-


Reduction Reaction Cr2O72-(aq)+14H+ +6e- 2Cr3+(aq) +7H2O
Redox Reaction 6I-(aq) +Cr2O72-(aq)+14H+ 3I2 (s) +2Cr3+(aq) +7H2O

ขัน้ ที่ 5 ในสารละลายเบส เติม OH- ทัง้ 2 ข้างของสมการ เพือ่ ให้เกิดเป็ นน้า

ขัน้ ที่ 6 ตรวจสอบจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้ าให้เท่ากัน


ตัวอย่าง การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา
MnO4-(aq) + I-(aq) MnO2(s) + I2(aq) + OH-(aq)

ขัน้ ที่ 1 เขียนสมการ หาเลขออกซิเดชันของแต่ละอะตอมในปฏิกริ ยิ า

O.N. ลดลง 3
MnO4-(aq) + I-(aq) MnO2(s) + I2(aq) + OH-(aq)
เลขออกซิเดชัน +7 -1 +4 0
O.N. เพิ่มขึน้ 1
ขันที
้ ่ 2 แยกสมการออกเป็ นครึง่ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันและครึง่ ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน

Oxidation Reaction I-(aq) I2(aq)


Reduction Reaction MnO4-(aq) MnO2(s)
ขัน้ ที่ 3 ดุลจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้ าในแต่ละครึง่ ปฏิกริ ยิ า

Oxidation Reaction I-(aq) I2 (s)


ดุลจานวนอะตอมของธาตุ ยกเว้น O และ H 2I-(aq) I2 (s)
ดุลจานวนอะตอม O โดยการเติม H2O 2I-(aq) I2 (s)
ดุลจานวนอะตอม H โดยการเติม H+ 2I-(aq) I2 (s)
ดุลจานวนประจุไฟฟ้ า โดยการเติมอิเล็กตรอน 2I-(aq) I2 (s) + 2e-
Reduction Reaction MnO4-(aq) MnO2(s)
ดุลจานวนอะตอมของธาตุ ยกเว้น O และ H
MnO4-(aq) MnO2(s)
ดุลจานวนอะตอม O โดยการเติม H2O
MnO4-(aq) MnO2(s) +2H2O
ดุลจานวนอะตอม H โดยการเติม H+
MnO4-(aq) + 4H+ MnO2(s) +2H2O
ดุลจานวนประจุไฟฟ้ า โดยการเติมอิเล็กตรอน

MnO4-(aq) +4H+ +3e- MnO2(s) +2H2O


ขัน้ ที่ 4 ทาจานวนอิเล็กตรอนในครึง่ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันและรีดกั ชันให้เท่ากัน แล้วรวมครึง่ ปฏิกริ ยิ าทัง้ 2

Oxidation Reaction 2I-(aq) I2 (s) + 2e-


Reduction Reaction MnO4-(aq) +4H+ +3e- MnO2(s) +2H2O

Oxidation Reaction x3 6I-(aq) 3I2 (s) + 6e-


Reduction Reaction x2 2MnO4-(aq) +8H+ +6e- 2MnO2(s) +4H2O
Redox Reaction

6I-(aq) + 2MnO4-(aq) +8H+ 3I2 (s) + 2MnO2(s) +4H2O +OH-(aq)


้ ่ 5 ในสารละลายเบส เติม OH- ทัง้ 2 ข้างของสมการ เพือ่ ให้เกิดเป็ นน้า
ขันที

6I-(aq) + 2MnO4-(aq) +8H+ +8OH- 3I2 (s) + 2MnO2(s) +4H2O +8OH-(aq)


6I-(aq) + 2MnO4-(aq) +8H2O 3I2 (s) + 2MnO2(s) +4H2O +8OH-(aq)
6I-(aq) + 2MnO4-(aq) +4H2O 3I2 (s) + 2MnO2(s) +8OH-(aq)

ขันที
้ ่ 6 ตรวจสอบจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้ าให้เท่ากัน

6I-(aq) + 2MnO4-(aq) +4H2O 3I2 (s) + 2MnO2(s) +8OH-(aq)


จงดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา
EX.1 Fe2+(aq) + MnO4-(aq) + H+ Fe3+(aq) + Mn2+(aq) +H2O(l)
EX.2 H+(aq) + MnO4-(aq) + C2O42- Mn2+(aq) +H2O(l) + CO2(g)
EX.3 AI + NO2- + H2O +OH- NH3 + Al(OH)4-
แบบฝึ กหัด 9.2 หน้ า 22
In spontaneous
oxidation-reduction (redox)
reactions, electrons are
transferred and energy is
released.
9.3 เซลล์ไฟฟ้ าเคมี (Electrochemical Cell)

Cell with liquid junction


Cell without
liquid junction
เซลล์ไฟฟ้ าเคมี
(Electrochemical Cell)
เซลล์ไฟฟ้ าเคมี
(Electrochemical Cell)

ขัว้ ไฟฟ้ า (Electrode) อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte)

มีอย่างน้ อย 2 ขัว้ – ขัว้ จ่าย e- (Anode) สารที่นาไฟฟ้ าได้ โดยอาศัยการเคลื่อนที่ ของ ion
- ขัว้ รับ e- (Cathode)
ส่วนใหญ่เป็ นสารละลายไอออนิกที่ละลายน้า
ทาจากวัสดุที่ยอมให้e-/กระแสไฟฟ้ าผ่านได้
สะพานเกลือ (Sali Bridge)
สะพานไอออน มีหน้ าที่ รักษาสมดุลไอออนบวกและไอออนลบ

Anode : ไอออนบวกจะละลายลงในสารละลายเพิ่มมากขึน้
Cathode : ไอออนบวกจากสารละลายรับ e- เกาะที่ขวั ้
ไอออนลบเพิ่มขึน้

ความไม่สมดุลของไอออนมีมากขึน้ ทาให้ e- ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ อาศัย สะพานเกลือ


ช่วยรักษาสมดุลได้โดย
- ไอออนบวกจากสะพานเกลือจะเคลื่อนที่ไปยังครึ่งเซลล์ที่มีไอออนลบมาก
- ไอออนลบจากสะพานเกลือจะเคลื่อนที่ไปยังครึ่งเซลล์ที่มีไอออนบวกมาก
เซลล์ไฟฟ้ าเคมี
(Electrochemical Cell)
เครื่องมืออุปกรณ์ทางเคมีที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีเป็ นไฟฟ้ า หรือไฟฟ้ าเป็ นเคมี

พลังงานเคมี
Galvanic cell พลังงานไฟฟ้ า
(ปฏิกิริยาเคมี) (กระแสไฟฟ้ า)
Electrolytic cell

เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)


เซลล์ไฟฟ้ าเคมี
(Electrochemical Cell)
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

การทดลอง 9.2 การถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กัลวานิก

จุดประสงค์การทดลอง
1.เพื่อศึกษาการถ่ายโอนอิเล็กตรอน
ในเซลล์กลั วานิกได้
2.เพื่ออธิบายทิศทางการถ่ายโอน
อิเล็กตรอนในเซลล์กลั วานิกได้
3.เพื่ออธิบายได้ว่าครึ่งเซลล์ใด
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันหรือรีดกั ชัน
4.เพื่ออธิบายหน้ าที่ของสะพานเกลือได้
อุปกรณ์
1.บีกเกอร์ ขนาด 50 cm3
2.กระบอกตวง ขนาด 25 cm3
สารเคมี
3.กระดาษกรอง ขนาด 1 cm x 8 cm
1.สารละลาย CuSO4 1.0 mol/dm3
4.โวล์ตมิเตอร์
2.สารละลาย ZnSO4 1.0 mol/dm3
5.หลลอดไฟ
3.สารละลาย KNO3
4.Zn ขนาด 0.5 cm x 0.5 cm
5.Cu ขนาด 0.5 cm x 0.5 cm
วิธีการทดลอง
2.นาบีกเกอร์ที่มีโลหะจุ่มอยู่ใน
สารละลายมาวางชิดกัน ใช้สะพาน
1.จุม่ แผ่น Cu ลงในสารละลาย เกลือ วางพาดบีกเกอร์ทงั ้ สองให้ 3.ต่อแผ่น Cu และ แผ่น Zn เข้า
CuSO4 1.0 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3 ปลายกระดาษจุ่มในสารละลายของ กับโวลต์มิเตอร์
จุ่มแผ่น Zn ลงในสารละลาย *สังเกตทิ ศทางการเบนเข็มโวลต์มิเตอร์
แต่ละบีกเกอร์ อ่านค่าความต่างศักย์
ZnSO4 1.0 mol/dm3 ปริมาตร 20
cm3 กระดาษกรองชุบสารละลายอิม่ ตัว KNO3

6.ทาการทดลองเช่นเดียวกัน 5.ใช้หลอดไฟขนาด 1.0 V มา 4.สลับขัว้ โวลต์มิเตอร์


แต่ใช้ครึ่งเซลล์ใหม่ ต่อกับขัว้ ทองแดงและขัว้ *สังเกตทิ ศทางการเบนเข็มโวลต์มิเตอร์
และเปลี่ยนสะพานเกลือทุกครัง้ สังกะสีแทนโวลต์มิเตอร์ อ่านค่าความต่างศักย์
สังเกตการเปลี่ยนแปลง
Cu(s)ICu2+(aq) กับ Mg(s)IMg2+(aq)
Zn(s)IZn2+(aq) กับ Mg(s)IMg2+(aq)
Cu(s)ICu2+(aq) กับ Fe(s)IFe2+(aq)
Zn(s)IZn2+(aq) กับ Fe(s)IFe2+(aq)
Fe(s)IFe2+(aq) กับ Mg(s)IMg2+(aq)
1.00 M ZnSO4(aq) 1.00 M CuSO4(aq)
ตารางบันทึกผลการทดลอง

ครึ่งเซลล์ที่นามาต่อกัน ขัว้ โลหะที่เข็มของ ความต่างศักย์(V)


โวลต์มิเตอร์เบนเข้าหา
Cu(s)ICu2+(aq) กับ Zn(s)IZn2+(aq)
Cu(s)ICu2+(aq) กับ Mg(s)IMg2+(aq)
Zn(s)IZn2+(aq) กับ Mg(s)IMg2+(aq)
Cu(s)ICu2+(aq) กับ Fe(s)IFe2+(aq)
Zn(s)IZn2+(aq) กับ Fe(s)IFe2+(aq)
Fe(s)IFe2+(aq) กับ Mg(s)IMg2+(aq)
บันทึกผลการทดลอง

ครึ่งเซลล์ที่นามาต่อกัน ขัว้ โลหะที่เข็มของ ความต่างศักย์(V)


โวลต์มิเตอร์เบนเข้าหา
Cu(s)ICu2+(aq) กับ Zn(s)IZn2+(aq)
Cu(s)ICu2+(aq) กับ Mg(s)IMg2+(aq)
Zn(s)IZn2+(aq) กับ Mg(s)IMg2+(aq)
Cu(s)ICu2+(aq) กับ Fe(s)IFe2+(aq)
Zn(s)IZn2+(aq) กับ Fe(s)IFe2+(aq)
Fe(s)IFe2+(aq) กับ Mg(s)IMg2+(aq)
Zn(s) Cu(s)
Anode (-) Salt bridge Cathode (+)

2e-

Zn2+ + SO42- Cu2+ + SO42-

Zn(s) Zn2+(aq) + 2e- Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)

Net: Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s)


สรุปผลการทดลอง

1. เมื่อต่อเซลล์กลั วานิกครบวงจรแล้วเข็มของโวลต์มิเตอร์เบนไปจากขีดศูนย์แสดงว่าเกิดการ
ถ่ายโอนอิเล็กตรอนและมีกระแสไฟฟ้ าเกิดขึน้
2. เมื่อต่อครึ่งเซลล์ Cu(s)ICu2+(aq) กับ ครึ่งเซลล์ Zn(s)IZn2+(aq) ให้ครบวงจร พบว่าเข็มของ
โวลต์มิเตอร์เบนเข้าหาขัว้ ทองแดงแสดงว่า
ขัว้ สังกะสีให้อิเล็กตรอนแก่ Cu2+(aq) ที่อยู่รอบๆขัว้ ทองแดง มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน
ระหว่างสังกะสีกบั Cu2+(aq)
3. เมื่อสังกะสีให้อิเล็กตรอนเกิดเป็ น Zn2+(aq) ผิวสังกะสีจะกร่อนไป อิเล็กตรอนจากขัว้ สังกะสีจึง
เคลื่อนที่ผา่ นลวดตัวนาไปยังขัว้ ทองแดง ส่วน Cu2+(aq) ในสารละลาย CuSO4 จะรับอิเล็กตรอน
เกิดเป็ นทองแดงเกาะที่ขวั ้ ทองแดง ทาให้สารละลายสีฟ้าจางลง

4. ครึ่งเซลล์ Zn (s)IZn2+(aq) เกิดปฏิกิริยออกซิเดชัน : Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-


ครึ่งเซลล์ Cu(s)ICu2+(aq) เกิดปฏิกริยารีดกั ชัน : Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)
สรุปผลการทดลอง

4. ครึ่งเซลล์รีดกั ชันไอออนบวกในสารละลายลดลง ไอออนบวกจากสะพานเกลือจึงเคลื่อนลง


ไปแทนที่
5. ครึ่งเซลล์ออกซิเดชันไอออนบวกในสารละลายเพิ่มขึน้ ไอออนลบจากสะพานเกลือจึงเคลื่อน
ลงมาในสารละลาย
6.สะพานเกลือจึงทาหน้ าที่รกั ษาดุลระหว่างไอออนบวกกับ ไอออนลบในเซลล์
92

Zn (s) + Cu2+ Zn2+ + Cu (s)

Zn (s) Zn2+ + 2e- Cu2+ + 2e- Cu (s)


Oxidation Reduction
Anode Cathode

เคมีไฟฟ้ า ผูส้ อน อ.ศราวุทธ แสงอุไร


เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell) หรือ เซลล์โวลตาอิก (Voltaic cell)
คือ เซลล์ไฟฟ้ าเคมีเปลี่ยนจาก พลังงานเคมี พลังงานไฟฟ้
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
1.ส่วนประกอบเซลล์กลั วานิก
1.1 ขัว้ ไฟฟ้ า (Electrode) - แท่งโลหะจุ่มในสารละลายไอออนของโลหะนัน้ ๆ
- โลหะเฉื่ อย
ขัว้ Anode ขัว้ Cathode
: ขัว้ ที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน (จ่าย e-) : ขัว้ ที่เกิดปฏิกิริยารีดกั ชัน (รับ e-)
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
1.ส่วนประกอบเซลล์กลั วานิก
1.2 สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte)
สารละลายที่นาไฟฟ้ าได้ เพราะสามารถแตกตัวเป็ นไอออนได้
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
1.ส่วนประกอบเซลล์กลั วานิก
1.3 สะพานเกลือ (Salt bridge) สมบัติของสารที่ใช้ทาสะพานเกลือ
1.เป็ นสารประกอบไอออนิก
2.ไอออนไม่ทาปฏิกิริยากับสารใดๆในครึ่งเซลล์
3.ไอออนต้องมีความสามารถในการเคลื่อนที่เร็วใกล้เคียงกัน
4.สารละลายอิ่มตัว มีไอออนปริมาณมาก

หน้ าที่สะพานเกลือ
1.ทาให้ครบวงจรไฟฟ้ า
2.ตัวกันไม่ให้สารละลายในครึ่งเซลล์ทงั ้ สองผสมกัน
3.รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ
ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์แต่ละครึ่งเซลล์
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
1.ส่วนประกอบเซลล์กลั วานิก
1.4 โวลต์มิเตอร์ เครื่องมือวัดค่าศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
2.ปฏิกิริยาเซลล์กลั วานิก
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
3.แผนภาพเซลล์กลั วานิกและสมการไอออนิก

แผนภาพเซลล์กลั วานิก คือ กลุ่มสัญลักษณ์ แสดงเซลล์กลั วานิกหนึ่ งๆ เพื่อบอกให้ทราบ


ถึงชนิดของครึ่งเซลล์ Anode และ Cathode
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
3.แผนภาพเซลล์กลั วานิกและสมการไอออนิก
หลักการเขียนแผนภาพเซลล์กลั วานิก

1. ใช้เครื่องหมาย || แทนสะพานเกลือ คันกลางทั


่ ง้ 2 ครึ่งเซลล์

2. เขียนครึ่งเซลล์ Oxidation Anode ทางซ้ายของสะพานเกลือ


เขียนครึ่งเซลล์ Reduction Cathode ทางขวาของสะพานเกลือ

3. กรณี ครึ่งเซลล์ธาตุเดียวกัน สถานะต่างกัน ให้คนด้


ั ่ วย |
กรณี ครึ่งเซลล์ธาตุเดียวกัน สถานะเดียวกัน ให้คนด้
ั ่ วย ,
ให้สารละลายอยู่ติดกับสะพานเกลือ และระบุสถานะของสารโดยใช้ (s) , (l) , (g) , (aq)

Cu(s) | Cu2+(aq) || Ag+(aq)| Ag(s)


Zn(s) | Zn2+(aq) || Fe2+ , Fe3+ (aq)| Fe(s)
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
3.แผนภาพเซลล์กลั วานิกและสมการไอออนิก
หลักการเขียนแผนภาพเซลล์กลั วานิก

4.กรณี ครึ่งเซลล์ที่มีแก๊สมาเกี่ยวข้อง จะใช้ขวั ้ ไฟฟ้ าเฉื่ อย เช่น ขัว้ Pt , ขัว้ C

5.ระบุความเข้มข้น หรือความดัน ไว้ในวงเล็บและใช้เครื่องหมาย , คั ่นระหว่างสถานะกับความดัน

Sn(s) | Sn2+(aq ,1 M) || Zn2+(aq , 1M) | Zn(s)


Pt(s) | H2 (g , 1 atm) | H+ (aq) || Cu2+(aq) | Cu(s)

สรุป ครึ่งเซลล์ Oxidation ครึ่งเซลล์ Reduction

ขัว้ | ไอออนในสารละลาย || ไอออนในสารละลาย | ขัว้


ขัว้ Anode ขัว้ Cathode
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
3.แผนภาพเซลล์กลั วานิกและสมการไอออนิก
EX.1 กาหนดแผนภาพเซลล์กลั วานิกเป็ น A(s) | A+ (aq) || B2+(aq) | B (s)
จงตอบคาถามต่อไปนี้
1.1 ขัว้ Anode : ……………………………………………………………….
1.2 ขัว้ Cathode : ……………………………………………………………..
1.3 สารที่เป็ นตัวรีดิวซ์ : ……………………………………………………
1.4 สารที่เป็ นตัวออกซิไดส์ : ……………………………………………….
1.5 สมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ ในแต่ละครึ่งเซลล์
1.5.1 Oxidation Reaction: …………………………………………………………….
1.5.2 Reducation Reaction : ………………………………………………………….
1.6 สมการแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึน้ …………………………………………………………
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
3.แผนภาพเซลล์กลั วานิกและสมการไอออนิก
EX.2 ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ ในเซลล์กลั วานิกเป็ นดังนี้
3Mg(s) + 2Cr3+ (aq) 3Mg2+(aq) + 2Cr(s)

จงตอบคาถามต่อไปนี้
2.1 แผนภาพเซลล์กลั วานิก : ……………………………………………………………….
2.2 ขัว้ Anode : ……………………………………………………………..
2.3 ขัว้ Cathode : ……………………………………………………
2.4 Oxidation Reaction : ……………………………………………….
2.5 Reducation Reaction : ………………………………………………………….
แบบฝึ กหัด 9.3 หน้ า 31
4.ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์และศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
(Standard Reaction Potential)

‫ ﬦ‬ความต่างศักย์ระหว่างขัว้ ไฟฟ้ าทัง้ สองของเซลล์กลั วานิกทาให้เกิดแรงขับเคลื่อนอิเล็กตรอนไป


ยังวงจรภายนอก เรียกความต่างศักย์นี้ว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้ า (electromotive force หรือ emf) = Ecell
‫ ﬦ‬ความแตกต่างของพลังงานศักย์ต่อประจุไฟฟ้ า (ความต่างศักย์) ระหว่างขัว้ ไฟฟ้ าทัง้ สอง
วัดหน่ วยเป็ นโวลต์
โดยที่หนึ่ งโวลต์ (1 V) คือ ความต่างศักย์ที่ต้องใช้
00
EE
พลังงาน 1 จูล (J) ต่อประจุ 1คูลอมบ์ (C) 1
cell
cell

V = 1 J/C
‫ ﬦ‬Ecell เรียกว่า ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์ (cell potential)
‫ ﬦ‬ภาวะมาตรฐาน : ที่ 25๐C ความเข้มข้นของสารละลาย 1 M
และความดันของแก๊สเป็ น 1 atm
เรียกว่า ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์มาตรฐาน (Eocell)
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
การหาค่าศักย์ไฟฟ้ าของครึ่งเซลล์ใดๆ ใช้วิธีเปรียบเทียบ นักเคมีจึงกาหนดให้
ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน (Standard Hydrogen Electrode) ย่อว่า SHE
หรือเรียกอีกชื่อว่า ขัว้ ไฟฟ้ าไฮโดรเจนมาตรฐาน เป็ นครึ่งเซลล์มาตรฐานสากล
ที่ใช้เปรียบเทียบหาค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ชนิดต่างๆ

ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน (Standard Hydrogen Electrode)


เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน (Standard Hydrogen Electrode)


ประกอบด้วย
1. ขัว้ ไฟฟ้ า : ขัว้ Pt (Platinum black)
2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ : กรด HCI 1 M
3. แก๊สมีความดัน 1 atm ที่ 25 0c

แพลตินัมแบลก เป็ นขัว้ ที่ทาให้มีพนื้ ที่ผิวมาก มีรพู รุนเพื่อ


ทาหน้ าที่คล้ายเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา และรักษาสมดุลระหว่าง
แก๊ส H2 และ H+ ในสารละลาย
บนแพลทินัมแบลก
2e- + 2H+ (1 M) H2 (g,1 atm)
ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน กาหนดค่า EO = 0.00 V

Pt(s)|H2(g,1 atm)|H+(aq,1 M)
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
บนแพลทินัมแบลก
2e- + 2H+ (1 M) H2 (g,1 atm)

การหาค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ นามาต่อกับครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน

ถ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานไฮโดรเจนให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่า

Oxidation Reaction H2 ( g ,1 atm) 2H+ (1 M) + 2e- EO = 0.00 V

ถ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานไฮโดรเจนรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า

Reduction Reaction 2H+ (1 M) + 2e- H2 ( g ,1 atm) EO = 0.00 V


เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
การหาค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่งเซลล์
นามาต่อกับครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน
- ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์ที่วดั ได้ : ศักย์ไฟฟ้ าของครึ่งเซลล์ (Half-cell potential) E
- ศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ (Standard potential) , (E0)

การหาค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่งเซลล์
1.นาครึง่ เซลล์มาตรฐานทีต่ อ้ งการหาค่า Eo มาต่อเป็ นเซลล์กลั วานิกกับครึง่ เซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน
ให้ครบวงจร โดยมีโวลต์มเิ ตอร์ต่ออยูด่ ว้ ย แล้วอ่านศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของเซลล์
2.สังเกตการเบนเข็มโวลต์มเิ ตอร์ ขัวที
้ เ่ ข็มเบนออกเป็ นขัว้ Anode และขัว้ ทีเ่ ข็มเบนเข้าเป็ นขัว้ Cathode
3.กาหนดให้คา่ ครึง่ เซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน มี Eo = 0.00 V
4.การคานวณหาค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึง่ เซลล์
Eocell = EoCathode – EoAnode
Eocell = ศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของเซลล์
EoCathode =ศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่งเซลล์แบบรีดกั ชันที่ขวั ้ Cathode (ขัว้ บวก)
EoAnode = ศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่งเซลล์แบบรีดกั ชันที่ขวั ้ Anode (ขัว้ ลบ)
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

นาครึ่งเซลล์ Cu(s)ICu2+(aq , 1 M) ต่อกับครึ่งเซลล์ Pt(s)IH2 (g , 1 atm)IH+(aq , 1 M)

Eocell = EoCathode – EoAnode


0.34 V = EoCathode – 0.00 V
EoCathode = +0.34 V

Pt(s)IH2 (g , 1 atm)IH+(aq , 1 M)IICu2+(aq , 1 M)ICu(s)

สมการแสดงค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึง่ เซลล์ Cu(s)ICu2+(aq)


Cu2+ (aq, 1M) +2e- Cu(s) EoCathode = +0.34 V
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

นาครึ่งเซลล์ Zn(s)IZn2+(aq , 1 M) ต่อกับครึ่งเซลล์ Pt(s)IH2 (g , 1 atm)IH+(aq , 1 M)

Eocell = EoCathode – EoAnode


0.76 = 0.00 V - EoAnode
EoAnode = -0.76 V

Zn(s)IZn2+(aq , 1 M) II H+(aq , 1 M)IH2 (g , 1 atm)IPt(s)


สมการแสดงค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึง่ เซลล์ Zn(s)IZn2+(aq)
Zn2+ (aq, 1M) +2e- Zn(s) EoAnode = -0.76 V
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

ศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึง่ เซลล์ทงั ้ 3 ชนิด นามาจัดลาดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอน


Cu2+ (aq, 1M) +2e- Cu(s) E0 = +0.34 V
2H+ (aq,1 M) + 2e- H2(g) E0 = 0.00 V
Zn2+ (aq, 1M) +2e- Zn(s) E0 = -0.76 V

ศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของแต่ละครึง่ เซลล์เป็ นค่าคงทีเ่ ฉพาะสาหรับครึง่ เซลล์นนั ้ ๆ


ดังนัน้ การกาหนดค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึง่ เซลล์ ต้องระบุวา่ เป็ นศักย์ไฟฟ้ าของปฏิกริ ยิ า
รีดกั ชัน หรือปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน แต่ตามระบบ IUPAC กาหนดให้ใช้คา่ ศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของ
ครึ่งเซลล์รีดกั ชันเป็ นครึ่งเซลล์มาตรฐาน (standard reduction potential ( Eo ))
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
ศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดกั ชัน

- ค่า E0 เป็ นค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่ง


เซลล์รีดกั ชัน แสดงความสามารถในการ e-

-สารที่มีครึ่งปฏิกิริยาที่มีค่า EO สูงจะเป็ นตัวออกซิไดส์


ที่ดีกว่าสารที่มีครึ่งปฏิกิริยาที่มีค่า EO ตา่

-สารที่มีค่า EO ตา่ จะเป็ นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่า

-ครึ่งปฏิกิริยาเหล่านี้ ผนั กลับได้


ปฏิกิริยาย้อนกลับ ให้กลับเครื่องหมายหน้ า ค่า EO
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
ประโยชน์ ของค่าศักย์ไฟฟ้ ารีดกั ชันมาตรฐาน

1.ใช้เปรียบเทียบความสามารถในการเป็ นตัวออกซิไดส์หรือตัวรีดิวซ์
Eo มาก รับ e- ได้ดีกว่า Eo น้ อย

ตัวออกซิไดส์ที่ดี ตัวรีดิวซ์ที่ดี
(ขัว้ Cathode) (ขัว้ Anode)

พิจารณาครึ่งเซลล์รีดกั ชันมาตรฐานต่อไปนี้
Ag+(aq) + e- Ag(s) Eo = +0.80
Cl2(g) + 2e- 2Cl-(aq) Eo = +1.36
Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) Eo = +0.34
เปรียบเทียบความสามารถในการรับอิเล็กตรอน : …………………………………
ตัวออกซิไดส์ที่ดีที่สดุ : …………………………..
เปรียบเทียบความสามารถในการให้อิเล็กตรอน : …………………………………..
ตัวรีดิวซ์ที่ดีที่สดุ : …………………………..
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

จงเรียงลาดับ oxidizing agent ต่อไปนี้ จากมากไปน้ อย


Co3+, Ag+, Sn2+, Al3+, MnO4-

Half reaction Eo (V)


Al3+(aq) + 3e- Al(s) -1.66
Sn2+(aq) + 2e- Sn (s) -0.14
Ag+(aq) + e- Ag(s) +0.80
MnO4-(aq) + 8H+(aq) + 5e- Mn2+(aq) + 4H2O +1.51
Co3+(aq) + e- Co2+(aq) +1.82
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
ประโยชน์ ของค่าศักย์ไฟฟ้ ารีดกั ชันมาตรฐาน
2.ใช้คานวณหาค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของเซลล์ (Eocell)

Eocell = EoCathode – EoAnode


-ถ้าสมการของปฏิกิริยาบวกกันค่า EO ต้องบวกกัน
-ถ้าสมการของปฏิกิริยาลบกันค่า EO ต้องลบกัน
EX.จงคานวณหาค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของเซลล์กลั วานิกทีป่ ระกอบด้วยครึง่ เซลล์มาตรฐาน
Zn(s)IZn2+(aq) ต่อครึง่ เซลล์มาตรฐาน Ag(s)IAg+(aq)
ศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึง่ เซลล์จากตารางข้อมูล
Zn2+(aq) + 2e- Zn(s) Eo = -0.76 V
Ag+(aq) + e- Ag(s) Eo = +0.80 V
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

EX.เซลล์ไฟฟ้ าเคมีทป่ี ระกอบด้วย Cd electrode ในสารละลาย 1.0 M Cd(NO3)2 และ


Cr electrode ในสารละลาย 1.0 M Cr(NO3)3 จงคานวณหาค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐาน
Cd2+ (aq) + 2e- Cd (s) E0 = -0.40 V
Cr3+ (aq) + 3e- Cr (s) E0 = -0.74 V
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

EX.จงคานวณหาค่า Eocell เมือ่ เซลไฟฟ้ ามี


Mg electrode ใน 1.0 M Mg(NO3)2 , Ag electrode ใน 1.0 M AgNO3
Half reaction Eo (V)
Mg2+(aq) + 2e- Mg(s) -2.37
Ag+(aq) + e- Ag(s) +0.80
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
ประโยชน์ ของค่าศักย์ไฟฟ้ ารีดกั ชันมาตรฐาน
3.ใช้ทานายทิศทางของปฏิกิริยารีดอกซ์

1.ถ้า Eocell มีค่าเป็ น บวก : ปฏิกิริยารีดอกซ์เกิดตามสมการที่เขียน : ปฏิกิริยาเกิดขึน้ เองได้


2. ถ้า Eocell มีค่าเป็ น ลบ : ปฏิกิริยารีดอกซ์ไม่เกิดตามสมการที่เขียน : ไม่เกิดปฏิกิริยา
2. ถ้า Eocell = 0 : ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึน้ ขณะนัน้ เข้าสู่ภาวะสมดุล
Cathode : Cu2+ (aq) + 2e- Cu(s) E0 = +0.34 V
Anode : H2 (g) 2H+ (aq) + 2e- E0 = 0.00 V
Redox : H2 (g) + Cu2+ (aq) 2H+ (aq) + Cu(s)

Eocell = EoCathode – EoAnode


= 0.34 - 0.00
= +0.34 V

ปฏิกิริยานี้ เกิดขึน้ เองได้


เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
5.เซลล์ความเข้มข้น (Concentration Cells)

เซลล์ความเข้มข้น (Concentration Cells) เป็ นเซลล์กลั วานิกชนิดหนึ่ งที่ประกอบด้วยครึ่ง


เซลล์ทงั ้ สองเหมือนกัน แต่ต่างกันที่ความเข้มข้น อิเล็กตรอนจะไหลจากครึ่งเซลล์
ที่มีความเข้มข้นน้ อยไปยังครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นมาก แต่ปฏิกิริยาจะเกิดจากสารละลายที่มี
ความเข้มข้นมากไปยังสารละลายที่มีความเข้มข้นน้ อย
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
เมือ่ นาครึง่ เซลล์ Cu(s)ICu2+(aq,1M) ต่อกับครึง่ เซลล์ Cu(s)ICu2+(aq,0.01M)ให้ครบวงจร

Cathode : Cu2+(aq,1M) + 2e- Cu(s) Eo = 0.34 V


Anode : Cu(s) Cu2+(aq,0.01M) + 2e- Eo = -0.31V
-------------------------------------------------------------------------------------------
Redox : Cu(s) + Cu2+(aq,1M) Cu2+(aq,0.01M) + Cu(s)
Cu(s)ICu2+(aq,0.01M)IICu2+(aq,1M)ICu(s)
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
สรุปเซลล์ความเข้มข้น (Concentration Cells)

1.อิเล็กตรอนจะไหลจากครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นน้ อยไปสู่ครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นมาก

2.ขัว้ ในครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นน้ อย : ขัว้ Anode : Oxidation Reaction


ขัว้ ในครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นมาก : ขัว้ Cathode : Reduction Reaction
3.เซลล์ความเข้มข้นที่สารละลายในครึ่งเซลล์มีความเข้มข้นต่างกันมาก ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์ยิ่งมี
ค่ามาก
แบบฝึ กหัด 9.4 หน้ า 41
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
6.ประเภทของเซลล์กลั วานิก

เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์ทตุ ิ ยภูมิ(Secondary cell)


-ปฏิกริ ยิ าเคมีภายในเซลล์เกิดขึน้ อย่างสมบูรณ์ -ปฏิกริ ยิ าเคมีภายในเซลล์สามารถย้อนกลับได้
-ปฏิกริ ยิ าผันกลับไม่ได้

เซลล์แอลคาไลน์

เซลล์เชื้อเพลิ ง

เซลล์ถ่านไฟฉาย
เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
6.ประเภทของเซลล์กลั วานิก

เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์ทตุ ิ ยภูมิ(Secondary cell)


-ปฏิกริ ยิ าเคมีภายในเซลล์เกิดขึน้ อย่างสมบูรณ์ -ปฏิกริ ยิ าเคมีภายในเซลล์สามารถย้อนกลับได้
-ปฏิกริ ยิ าผันกลับไม่ได้ -ใช้แล้วหมดไป นามาชาร์ตใหม่ได้
-ใช้แล้วหมดไป นามาชาร์ตใหม่ไม่ได้
เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
1.เซลล์ถ่านไฟฉาย หรือเซลล์แห้ง (Dry Cell Battery)
เซลล์เลอคลังเซ (Leclanche Cell) : ภายในไม่มีของเหลว มีศกั ย์ไฟฟ้ า 1.5 V
ขัว้ Anode : ปลอกสังกะสี (Zn)
ขัว้ Cathode : แท่งแกรไฟต์ (C)
Eletrolyte : ของผสมข้นชื้น : แป้ งเปี ยก,ผงคาร์บอน,MnO2,
NH4CI และ ZnCI2
นาไปใช้ : ไฟฉาย วิทยุ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ทวไป
ั่

Anode : Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-


Cathode : 2MnO2(s) + 2NH+4(aq) + e- Mn2O3(s) + 2NH3(g)+H2O(l)
ปฏิกิริยารวม : Zn(s) + 2MnO2(s) + 2NH+4(aq) Zn2+(aq) + Mn2O3(s) + 2NH3(g)+H2O(l)

NH3 ที่เกิดป้ องกันไม่ให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อนของ[Zn(NH3)4]2+ และ [Zn(NH3)2(H2O)2]2+


ซึ่งจะทาให้ศกั ย์ไฟฟ้ าของเซลล์เปลี่ยนแปลง
เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
2.เซลล์แอลคาไลน์ (Alkaline Cell)
คล้ายเซลล์ถ่านไฟฉาย ต่างกันทีส่ ารละลาย (NaOH หรือ KOH) มีศกั ย์ไฟฟ้ า 1.5 V
ขัว้ Anode : ปลอกสังกะสี (Zn)
ขัว้ Cathode : แท่งแกรไฟต์ (C)
Eletrolyte : ของผสมข้นชื้น : แป้ งเปี ยก,ผงคาร์บอน,MnO2,
KOH

นาไปใช้ : อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ กล้องถ่ายรูป เครื่องคิดเลข

Anode : Zn(s) + 2OH-(aq) ZnO(s) +H2O (l)+ 2e-


Cathode : 2MnO2(s) + H2O (l) + 2e- Mn2O3(s) + 2OH-(aq)
ปฏิกิริยารวม : Zn(s) + 2MnO2(s) ZnO(s) + Mn2O3(s)

เซลล์แอลคาไลน์ ให้กระแสไฟฟ้ านานกว่าเซลล์ถ่านไฟฉาย เพราะอิเล็กโทรไลต์มีความเข้มข้น


คงที่ OH- และ H2O ที่เกิดขึน้ ในปฏิกิริยาสามารถหมุนเวียนกลับไปเป็ นสารตัง้ ต้นของปฏิกิริยาได้อีก
เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
3.เซลล์ปรอท (Mercury cell)
หลักการเดียวกับเซลล์แอลคาไลน์ แต่สารละลายใช้ HgO แทน MnO2 ศักย์ไฟฟ้ า 1.3 V
ขัว้ Anode : ตลับสังกะสี (Zn)
ขัว้ Cathode : แผ่นเหล็กกล้าสัมผัสกับ HgO
Eletrolyte : ของผสมเหนี ยวชื้นของ HgO , KOH และ Zn(OH)2
นาไปใช้ : เครื่องคิดเลข เครื่องคุมการเต้นของหัวใจ เครื่องช่วยฟัง
นาฬิกา กล้องถ่ายรูป
Anode : Zn(s) + 2OH-(aq) ZnO(s) + H2O(l) + 2e-
Cathode : HgO(s) + H2O(l) + 2e- Hg(l) + 2OH- (aq)
ปฏิกิริยารวม : Zn(s) + HgO(s) ZnO(s) + Hg(l)

เซลล์ปรอทเป็ นเซลล์ที่มีขนาดเล็ก ข้อดี : สามารถให้ศกั ย์ไฟฟ้ าเกือบคงที่ตลอดอายุการใช้งาน


ข้อเสีย : เมื่อเซลล์เสื่อมสภาพ ปรอทกาจัดทิ้งได้ยากและเป็ นพิษต่อสิ่งแวดล้อม
เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
4.เซลล์เงิน (Zinc-silver oxide cell)
หลักการเดียวกับเซลล์แอลคาไลน์ แต่สารละลายใช้ Ag2O แทน MnO2 ศักย์ไฟฟ้ า 1.5 V
ขัว้ Anode : ตลับสังกะสี (Zn)
ขัว้ Cathode : แผ่นเหล็กกล้าสัมผัสกับ Ag2O
Eletrolyte : ของผสมเหนี ยวชื้นของ Ag2O, KOH และ Zn(OH)2
นาไปใช้ : เครื่องคุมการเต้นของหัวใจ เครื่องช่วยฟัง นาฬิกาข้อมือ

Anode : Zn(s) + 2OH-(aq) ZnO(s) + H2O(l) + 2e-


Cathode : Ag2O(s) + H2O(l) + 2e- 2Ag(s) + 2OH- (aq)
ปฏิกิริยารวม : Zn(s) + Ag2O(s) ZnO(s) + 2Ag(s)

เซลล์เงินมีอายุการใช้งานยาวกว่าเซลล์ปฐมภูมิชนิดอื่นๆ แต่ราคาแพงกว่า เพราะประกอบด้วย


เงิน เซลล์เงินสามารถเป็ นแหล่งให้พลังงานไฟฟ้ า
เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
5.เซลล์เชื้อเพลิง (Fuel cell)
เซลล์เชื้อเพลิง เป็ นเซลล์ปฐมภูมิที่ต้องผ่านสารตัง้ ต้นซึ่งเป็ นเชื้อเพลิงเข้าไปที่ขวั ้ ไฟฟ้ าตลอด
เวลา เกิดการสันดาปภายในเซลล์และให้พลังงานออกมา แต่ไม่เกิดการลุกไหม้ เนื่ องจาก
ปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดกั ชันที่เกิดขัว้ ต่างกัน โดยอิเล็กตรอนจะเคลื่อนจากขัว้ แอโนดไปแคโทด

เซลล์เชื้อเพลิงไม่ใช่แหล่งต้นพลังงาน แต่เป็ นเซลล์ไฟฟ้ าเคมีที่ใช้ในการเปลี่ยนรูปพลังงานจาก


พลังงานเคมีที่สะสมอยู่ในพันธะของสารเชื้อเพลิงไปเป็ นพลังงานไฟฟ้ าในรูปแบบการเคลื่อนที่อิเล็กตรอน
เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
5.1 เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน (Hydrogen-Oxygen Fuel cell)
ขัว้ Anode : แท่งคาร์บอนที่มีรพู รุนผสมผงแพลทินัม(Pt)หรือ
แพลเลเดียม (Pd) , แก๊สไฮโดรเจน (H2)
ขัว้ Cathode : แท่งคาร์บอนที่มีรพู รุนผสมผงแพลทินัม(Pt)หรือ
แพลเลเดียม (Pd) , แก๊สออกซิเจน (O2)
Eletrolyte : KOH หรือ NaOH
นาไปใช้ : โครงการอวกาศ

เซลล์เชื้อเพลิงแบบเบส (Alkaline Fuel cells, AFC)


Anode : 2H2(g) + 4OH-(aq) 4H2O(l) + 4e-
Cathode : O2 (g) + 2H2O (l) + 4e- 4OH-(aq)
ปฏิกิริยารวม : O2(g) + 2H2(g) 2H2O(l)

ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ มีการรับและการให้อิเล็กตรอน จึงทาให้มีกระแสไฟฟ้ าเกิดขึน้ ด้วย เซลล์


ประเภทนี้ ถกู นาไปใช้ในยานอวกาศ เพราะนอกจากจะได้พลังงานไฟฟ้ าแล้วยังได้น้าเป็ นน้า
ดื่ม สาหรับนักบินอวกาศด้วย เซลล์นี้มีศกั ย์ไฟฟ้ าประมาณ 1.2 โวลต์ ทางานที่ 100 oc
เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
5.1 เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน (Hydrogen-Oxygen Fuel cell)

เซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอน
(Proton Exchange Membrane Fuel cell,PEMFC)

ขัว้ Anode : แท่งคาร์บอนที่มีรพู รุนผสมผงแพลทินั(Pt)หรือ


แพลเลเดียม (Pd) , แก๊สไฮโดรเจน (H2)
ขัว้ Cathode : แท่งคาร์บอนที่มีรพู รุนผสมผงแพลทินัม
(Pt)หรือแพลเลเดียม (Pd) , แก๊สออกซิเจน (O2)
Eletrolyte : แผ่นเมมเบรนพอลิเมอร์

Anode : 2H2(g) 4H+(aq) + 4e-


Cathode : O2 (g) + 4H+(aq) + 4e- 2H2O (g)

ปฏิกิริยารวม : 2H2(g) + O2(g) 2H2O(g)

ข้อดี : มีขนาดเล็ก ไม่เกิดการกัดกร่อน และน้าหนักเบา


เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
5.1 เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน (Hydrogen-Oxygen Fuel cell)

เซลล์เชื้อเพลิงแบบเกลือคาร์บอเนตหลอมเหลว (Molten Carbonate Fuel cell, MCFC)

ขัว้ Anode : แท่งคาร์บอนที่มีรพู รุนผสมนิกเกิล,


แก๊สไฮโดรเจน (H2)
ขัว้ Cathode : แท่งคาร์บอนที่มีรพู รุนผสมนิกเกิล
,NiO แก๊สออกซิเจน (O2)
Eletrolyte : Li2CO3 หรือ Na2CO3 หรือ K2CO3

Anode : H2(g) + CO2-3(l) H2O(g) + CO2(g) +2e-


Cathode : 1/2O2(g) + CO2(g) + 2e- CO2-3(l)
ปฏิกิริยารวม : H2(g) + 1/2O2(g) H2O(g)
ปฏิกิริยารวม : 2H2(g) + O2(g) 2H2O(g)

ข้อเสีย : อายุการใช้งานน้ อย เนื่ องจากมีการกัดกร่อนจากอิเล็กโทรไลต์


เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
5.2 เซลล์เชื้อเพลิงโพรเพน-ออกซิเจน (Propen-Oxygen Fuel cell)
ขัว้ Anode : แก๊สโพรเพร (C3H8)
ขัว้ Cathode : แก๊สออกซิเจน (O2)
Eletrolyte : H2SO4

นาไปใช้ : ใช้กบั เรือดาน้ายานพาหนะที่ใช้


ทางการทหารและกระสวยอวกาศ

Anode : C3H8(g) + 6H2O(l) 3CO2(g) + 20H+ (aq)+ 20e-


Cathode : 5O2 (g) + 20H+ (aq) + 20e- 10H2O(g)
ปฏิกิริยารวม : 5O2(g) + C3H8(g) 3CO2(g) + 4H2O(g)

ปฏิกิริยาสันดาปของแก๊สโพรเพนในเครื่องยนต์ให้ประสิทธิภาพการ
ทางานสูงประมาณ 2 เท่าของเครื่องยนต์ชนิดสันดาปภายใน
เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)
5.2 เซลล์เชื้อเพลิงโพรเพน-ออกซิเจน (Propen-Oxygen Fuel cell)

ขัว้ Anode : แท่งคาร์บอนที่มีรพู รุนผสมผง


แพลทินัม (Pt), เมทานอล (CH3OH)
ขัว้ Cathode : แท่งคาร์บอนที่มีรพู รุนผสม
ผงแพลทินั(Pt) , แก๊สออกซิเจน (O2)
Eletrolyte : แผ่นเมมเบรนพอลิเมอร์

เซลล์เชื้อเพลิงแบบใช้เมทานอลโดยตรง (Direct Methanol Fuel cell, DMFC)


Anode : CH3OH(l) + H2O(l) CO2(g) +6H+ (aq) +6e- นาไปใช้ :โทรศัพท์มือถือ
Cathode : 3/2O2(g) +6H+(aq) +6e- 3H2O(g) กล้องถ่ายรูป Notebook

ปฏิกิริยารวม : CH3OH(l) + 3/2O2(g) CO2(g) + 2H2O(g)


ชนิดเซลล์ สารที่ใช้เป็ นส่วนประกอบ ปฏิกิริยารวม สรุป
Anode Cathode Electrolyte
ถ่านไฟฉาย Zn แกรไฟต์ แป้ งเปี ยก+ผง Zn(s) + 2MnO2(s) + 2NH+4(aq)
และ MnO2 คาร์บอน+H2O Zn2+(aq) + Mn2O3(s) + 2NH3(g)+H2O(l)
NH4CI + ZnCI2
แอลคาไลน์ Zn แกรไฟต์ แป้ งเปี ยก+ผง Zn(s) + 2MnO2(s) ZnO(s) + Mn2O3(s)
และ MnO2 คาร์บอน+MnO2+
KOH
ปรอท Zn แผ่นเหล็ก HgO+ KOH Zn(s) + HgO(s) ZnO(s) + Hg(l)
และ HgO +Zn(OH)2
เงิน Zn แผ่นเหล็ก Ag2O+KOH Zn(s) + Ag2O(s) ZnO(s) + 2Ag(s)
และ HgO + Zn(OH)2
เชื้อเพลิงH2/O2 H2 O2 NaOHหรือ 2H2(g) + O2(g) 2H2O(g)
Na2CO3
เชื้อเพลิงC3H8/O2 C3H8 O2 H2SO4 5O2(g) + C3H8(g) 3CO2(g) + 4H2O(g)
เซลล์ทตุ ิ ยภูมิ(Secondary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

1.เซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่ (Lead Storage Cell)

เซลล์ชนิดนี้ ใช้เป็ นแหล่งพลังงานไฟฟ้ า


ในรถยนต์หรือจักรยานยนต์
เรียกชื่อทัวไปว่
่ า “ แบตเตอรี่ ”

ขัว้ Anode : แผ่นตะกั ่ว (Pb)


ขัว้ Cathode : PbO2 เคลือบบนผิวตะกัว่
Electrolyte : H2SO4
เซลล์ทตุ ิ ยภูมิ(Secondary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

1.เซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่ (Lead Storage Cell)


ขัว้ Anode : แผ่นตะกัว่ (Pb) มีศกั ย์ไฟฟ้ า 2 โวลต์
ขัว้ Cathode : PbO2 เคลือบบนผิวตะกัว่ สามารถต่อเป็ นอนุกรมศักย์ไฟฟ้ า
Electrolyte : H2SO4 เพิ่มขึน้ เช่น แบตตอรีรถยนต์มี
เซลล์อนุกรมต่อกัน 6 เซลล์ เรียก
ทัวไปว่
่ า แบตเตอรี่ ถึงแม้จะอัดไฟ
ใหม่ได้ แต่ PbSO4 ที่เกิดขึน้ ที่ขวั ้
ทัง้ สองอยู่ที่ก้นภาชนะ ทาให้ขวั ้ สึก
กร่อนและเสื่อมสภาพในที่สดุ

นาไปใช้ : รถยนต์ รถจักรยานยนต์

ปฏิกิริยาของเซลล์เป็ นดังนี้
จ่ายไฟ
Pb(s) + PbO2(s) + 4H+(aq) + 2SO42- (aq) 2PbSO4(s) + 2H2O(l)
อัดไฟ
เซลล์ทตุ ิ ยภูมิ(Secondary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

1.เซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่ (Lead Storage Cell)

ปฏิกิริยาภายในเซลล์ การประจุไฟครังแรก

ขัว้ Cathhode : 2H+(aq) + e- H2(g)
ขัว้ Anode : 2H2O(l) + Pb(s) PbO2(s) + 4H+(aq) + 4e-

ปฏิกิริยาภายในเซลล์ การจ่ายไฟ
ขัว้ Anode : Pb(s) + SO42-(aq) PbSO4(s) + 2e-
ขัว้ Cathode : PbO2(s) + 4H+(aq) + SO42-(aq) + 2e- PbSO4(s) + 2H2O(l)
เซลล์ทตุ ิ ยภูมิ(Secondary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

1.เซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่ (Lead Storage Cell)

ปฏิกิริยาภายในเซลล์ การอัดไฟครัง้ ต่อๆไป


ขัว้ Cathode : PbSO4(s) + 2e- Pb(s) + SO42-(aq)
ขัว้ Anode : PbSO4(s) +2H2O(l) PbO2(s) + SO42-(aq) +4H+(aq) + 2e-

ปฏิกิริยาของเซลล์เป็ นดังนี้ จ่ายไฟ


Pb(s) + PbO2(s) + 4H+(aq) + 2SO42- (aq) 2PbSO4(s) + 2H2O(l)
อัดไฟ
เซลล์ทตุ ิ ยภูมิ(Secondary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

2.เซลล์นิกเกิล-แคดเมียม (Nickel-Cadmium Cell)

ขัว้ Anode : โลหะแคดเมียม (Cd)


ขัว้ Cathode : NiO(OH) ฉาบบนโลหะนิกเกิล
Electrolyte : KOH

นาไปใช้ : เครื่องคิดเลข กล้องถ่ายรูป เครื่องเลเซอร์ไร้สาย

Anode : Cd(s) + 2OH-(aq) Cd(OH)2(s) + 2e-


Cathode : NiO(OH) (s) + 2H2O(l) + 2e- Ni(OH)2(s) + 2OH-(aq)
ปฏิกิริยารวม : Cd(s) + 2NiO(OH) (s) + 2H2O(l) Cd(OH)2(s) + Ni(OH)2(s)

่ “เซลล์นิแคด” ให้ศกั ย์ไฟฟ้ า 1.4V สามารถประจุไฟใช้ใหม่ได้ การประจุไฟจะเกิด


เรียกทัวไป
ย้อนกลับกับปฏิกิริยาการจ่ายไฟ

ข้อดี : อายุการใช้งานนาน ข้อเสีย : กาจัดยาก เพราะ Cd เป็ นโลหะมีพิษ


เซลล์ทตุ ิ ยภูมิ(Secondary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

3.เซลล์ลิเทียม-ไอออนพอลิเมอร์ (Litium-ion Polymer Cell)


ขัว้ Anode : แท่งแกรไฟต์
ขัว้ Cathode : LiMnO4 หรือ LiCoO2
Electrolyte : พอลิเอทิลีนออกไซด์ (PEO)

นาไปใช้ : โทรศัพท์เคลื่อนที่ Notebook

Anode : 6C(s) + xLi+(aq) + xe- LiXC6


Cathode: LiCoO2 (s) Li1-xCoO2 + xLi+ + xe-
ปฏิกิริยารวม : 6C(s) + LiCoO2 (s) Li1-x + LiXC6+ CoO

เป็ นเซลล์ที่เก็บพลังงานได้ยาวนาน และความหนาแน่ นของพลังงานสูง


เซลล์ทตุ ิ ยภูมิ(Secondary cell) เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell)

4.เซลล์โซเดียม-ซัลเฟอร์ (Sodium-Sulfur Cell)


ขัว้ Anode : โซเดียมเหลว
ขัว้ Cathode : กามะถันเหลวผสมผงแกรไฟต์
Electrolyte : บีตาอะลูมินา

นาไปใช้ : รถยนต์ไฟฟ้ า รถไฟฟ้ า เครื่องจักร

Anode : 2Na(l) 2Na+(l) + 2e-


Cathode: n/8S8(l) + 2e- nS2- (l)
ปฏิกิริยารวม 2Na(l) + n/8S8(l) Na2Sn(l)

ให้ศกั ย์ไฟฟ้ าประมาณ 2.1V สามารถประจุไฟ มีอายุการใช้งานนานกว่าเซลล์สะสมไฟฟ้ า


แบบตะกั ่ว แต่ต้องควบคุมอุณหภูมิให้ได้ ประมาณ350 oc เพื่อให้สารอยู่ในสภาพหลอมเหลว
แบบฝึ กหัด 9.5 หน้ า 58-59
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ หรือ เซลล์อิเล็กโทรไลติก (Electrolytic cell)
คือ เซลล์ไฟฟ้ าเคมีเปลี่ยนจาก พลังงานไฟฟ้ า พลังงานเคมี
เซลล์ไฟฟ้ าเคมีที่ต้องผ่านกระแสไฟฟ้ าภายนอกเข้า
ไปในสารเพื่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
ส่วนประกอบของเซลล์อิเล็กโทรไลติก
1.แหล่งพลังงานไฟฟ้ าจากภายนอก
2.ขัว้ ไฟฟ้ า
3.สารละลายอิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
1.ส่วนประกอบเซลล์อิเล็กโทรไลต์
1.1 ขัว้ ไฟฟ้ า (Electrode) - แท่งโลหะจุ่มในสารละลายไอออนของโลหะนัน้ ๆ
- โลหะเฉื่ อย
ขัว้ Cathode ขัว้ Anode
: ขัว้ ที่เกิดปฏิกิริยารีดกั ชัน (รับ e-) : ขัว้ ที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน (จ่าย e-)
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
1.ส่วนประกอบเซลล์อิเล็กโทรไลต์
1.2 แหล่งพลังงานไฟฟ้ าจากภายนอก
เป็ นแหล่งให้พลังงานของเซลล์ เพื่อให้ปฏิกิริยาที่
เกิดขึน้ เองไม่ได้สามารถเกิดปฏิกิริยาได้
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
1.ส่วนประกอบเซลล์อิเล็กโทรไลต์
1.3 สารละลายอิเล็กโทรไลต์
เป็ นสารที่ต้องการแยกสลายด้วยไฟฟ้ า
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)

2.ความแตกต่างระหว่างเซลล์กลั วานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลต์

ข้อแตกต่าง กัลวานิก อิเล็กโทรไลติก


ปฏิกิริยา Spontaneous Nonspontaneous
การเปลี่ยนแปลง เคมี ไฟฟ้ า ไฟฟ้ า เคมี
ขัว้ ไฟฟ้ า Cathode (+) Cathode (-)
Anode (-) Anode (+)
การนาไปใช้ เป็ นแหล่งพลังงาน ชุบโลหะ การทาโลหะให้
บริสทุ ธ์ ิ
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
อิเล็กโทรไลซิสของน้า

ปฏิกิริยารวม : H2O(l) H2(g) + 1/2O2(g)


เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
E 0cell
= -4.07 V
3.การแยกสารไอออนิกที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้ า
NaCI

ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ เป็ นดังนี้


Anode ; 2Cl- (l) Cl2(g) + 2e- E0 = -1.36 V
Cathode ; 2Na+ (l) + 2e- 2Na (s) E0 = -2.71 V
ปฏิกิริยารีดอกซ์ ; 2Na+ + 2Cl- (l) 2Na (s) + Cl2 (g)
E๐cell = -2.71 - (+1.36) = -4.07 V
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
= -4.07 V
3.การแยกสารไอออนิกที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้ า
CaCI2

ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ เป็ นดังนี้


Anode ; 2Cl–( l ) Cl2 ( g ) + 2e–
Cathode ; Ca2+( l ) + 2e– Ca ( s )
ปฏิกิริยารีดอกซ์ ; Ca2+( l ) + 2Cl–( l ) Ca( s ) + Cl2( g )
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
= -4.07 V
4.การแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้ า
การแยกสารละลาย CuSO4 ด้วยกระแสไฟฟ้ า

ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ เป็ นดังนี้


Anode ; S2O82-(aq) + 2e- SO42- EO = +2.01 V
O2(g) + 2H+(aq) + 2e- H2O(l) EO = +1.23 V
จากค่า EO H2O(l) เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
Cathode ; Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) EO = +0.34 V
2H2O(l) + 2e- H2(g) + 2OH- (aq) EO = -0.83 V
จากค่า EO Cu2+ เกิดปฏิกิริยารีดกั ชัน

E0 cell = E0cathode - E0anode


= (+0.34) - (+1.23)
= - 0.89 V
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
= -4.07 V
5.ประโยชน์ เซลล์อิเล็กโทรไลต์
5.1 การชุบโลหะ
หลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลต์สามารถนาไปใช้ในการทาโลหะชนิดหนึ่ งเคลือบอยู่
บนผิวของโลหะอีกชนิดหนึ่ งได้ เรียกว่า การชุบด้วยไฟฟ้ า (Electroplating)

หลักการของการชุบโลหะด้วยไฟฟ้ า
ให้โลหะชนิดหนึ่ งมาเคลือบบนโลหะอีกชนิดหนึ่ งที่อยู่
เป็ นแคโทดโดยจัดเซลล์ดงั นี้

Anode : โลหะที่ใช้ชบุ

Cathode : โลหะที่ต้องการชุบ

สารละลายอิเล็กโทรไลต์: ไอออนของโลหะชนิดเดียวกับ
โลหะที่เป็ นแอโนด หรือโลหะที่ใช้ชบุ
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
= -4.07 V
5.ประโยชน์ เซลล์อิเล็กโทรไลต์
การชุบโลหะ
วัตถุที่ต้องการชุบต่อกับ
ขัว้ ลบของแบตเตอรี่ หรือแคโทด
โลหะที่ใช้ชบุ ต่อกับ
ขัว้ บวกของแบตเตอรี่
หรือเป็ นแอโนด

Anode : Ag: Ag(s) Ag+(aq) + e- Cathode : ช้อน: Ag+(aq) + e- Ag(s)

สารละลายอิเล็กโทรไลต์มีไอออนของโลหะชนิด
เดียวกับโลหะที่เป็ นแอโนดหรือโลหะที่ใช้ชบุ
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
= -4.07 V
5.ประโยชน์ เซลล์อิเล็กโทรไลต์
การชุบโลหะ
1. จัดสิ่งที่ต้องการชุบเป็ นแคโทด
2. ต้องการชุบด้วยโลหะใด ต้องใช้โลหะนัน้ เป็ น
แอโนด
3. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ต้องมีไอออนของโลหะที่
เป็ นแอโนด
4. ต้องใช้ไฟฟ้ ากระแสตรงเพื่อให้อิเล็กตรอนไหลไป
ทางเดียวกันตลอด
5. ขณะชุบโลหะ ความเข้มข้นของสารละลายอิเล็ก
โทรไลต์ไม่เปลี่ยนแปลงตราบใดที่ขวั ้ แอโนดยังไม่
กร่อนหมด
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
= -4.07 V
5.ประโยชน์ เซลล์อิเล็กโทรไลต์
5.2 การทาโลหะให้บริสทุ ธ์ ิ โดยใช้เซลล์อิเล็กโทรไลติก
การทาทองแดงให้บริสทุ ธ์ ิ โดยใช้โลหะที่ไม่บริสทุ ธ์ ิ เป็ นแอโนด และ โลหะที่บริสทุ ธ์ ิ เป็ นแคโทด

Anode : Cu(s) Cu2++ 2e- Cathode : Cu2++ 2e- Cu(s)


เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
= -4.07 V
5.ประโยชน์ เซลล์อิเล็กโทรไลต์
5.2 การทาโลหะให้บริสทุ ธ์ ิ โดยใช้เซลล์อิเล็กโทรไลติก
การทาทองแดงให้บริสทุ ธ์ ิ จากโลหะที่ประกอบด้วย Cu, Fe, Zn, Ag, Au, Pt

Anode : Cu(s) Cu2+aq) + 2e- Cathode: Cu2+aq) + 2e- Cu(s)


Fe(s) Fe2+(aq) + 2e-
Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
= -4.07 V
5.ประโยชน์ เซลล์อิเล็กโทรไลต์
5.2 การทาโลหะให้บริสทุ ธ์ ิ โดยใช้เซลล์อิเล็กโทรไลติก
การผลิต Al จาก Al2O3

Anode : 3O2-(l) 3/2 O2+ 6e-


Cathode : 2Al3+(l) + 6e- 2Al(l)
ปฏิกิริยารวม 2Al3+(l) + 3O2-(l) 2Al(l) +3/2 O2
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)

5.2 การทาโลหะให้บริสทุ ธ์ ิ โดยใช้เซลล์อิเล็กโทรไลติก


การผลิตแมกนี เซียม
Mg2+ Ca(OH)2 HCl
นำ้ ทะเล
Mg(OH)2(s) MgCl2(aq)
ระเหยนำ้
MgCl2(l) ควำมร้อน
MgCl2(s)
( Mg2+ ,Cl2 )

Anode : 2Cl-(l) Cl2 (g) + 2e-


Cathode : Mg2+ (l) + 2e- Mg(l)
ปฏิกิริยารวม 2Cl-(l) + Mg2+ (l) Cl2 (g) + Mg(l)
แบบฝึ กหัด 9.6 หน้ า 70
6.การกัดกร่อนของโลหะและการป้ องกัน เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
= -4.07 V
การผุกร่อนของโลหะ

Redox: 2Fe(s) + O2(g) + 2H2O(l) 2Fe2+(aq) + 4OH-(aq)


Fe(OH)2(s)

4Fe(OH)2(s) + O2(g) + 2H2O(l) 4Fe(OH)3(s)

Fe(OH)3(s) เปลี่ยนเป็ น Fe2O3.nH2O (สนิมเหล็ก)


เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
การผุกร่อนของโลหะ
= -4.07 V
• การเกิดสนิมเหล็ก

บริเวณที่ถกู กัดกร่อนจะเกิดปฏิกิริยา อิเล็กตรอนสัมผัสกับอากาศและ


ออกซิเดชันหรือเป็ นแอโนด โลหะเหล็ก ความชื้น เกิดรีดกั ชัน
(Fe(s)) เปลี่ยนไปเป็ น Fe2+
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
การผุกร่อนของโลหะ
= -4.07 V
• การเกิดสนิมเหล็กเนื่ องจาก CO2

CO2 ละลายน้าแล้วเกิด H2CO3 ซึ่งแตกตัวให้ H+


Anode : Fe(s) Fe2+(aq) + 2e-
Cathode : O2(g) + 4H+(aq) + 4e- 2H2O(l)
ปฏิกิริยารวม : 4Fe2+(aq) + O2(g) + (4+2n)H2O(l) 2Fe2O3.nH2O(s) + 8H+(aq)
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
การป้ องกันการผุกร่อน
ป้ องกันไม่ให้พนื้ ผิวของโลหะสัมผัสกับออกซิเจน ความชื้น หรือ
สารละลายอิเล็กโทรไลต์

1.การทาสี ทาน้ามัน การรมดา และการเคลือบพลาสติก เป็ นการป้ องกันการถูกกับ O2


และความชื้น

2.การชุบเคลือบผิวโลหะด้วยโลหะ โดยใช้หลักการชุบโลหะ

3.การเคลือบพืน้ ผิวโลหะด้วยโลหะที่มีความว่องไวมากกว่า
(หรือเป็ นโลหะที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ดีกว่า)
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
การป้ องกันการผุกร่อน

4. วิธีแคโทดิก (Cathodic)
โดยพันโลหะที่ไม่ต้องการให้เกิดสนิมด้วยโลหะที่มีศกั ย์ไฟฟ้ าตา่ กว่า
หรือต่อเข้ากับขัว้ ลบของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
• การฝังถุง Mg ตามท่อ หรือการผูก Mg ตามโครงเรือ จะทาให้ Fe ผุช้าลง
เนื่ องจาก Mg เสีย e- ง่ายกว่า Fe จะเสีย e- แทน Fe
Mg2+(aq) + 2e- Mg(s) EO = -2.36V
Fe2+(aq) + 2e- Fe(s) EO = -0.44V
5.การทาผิวด้วยสารยับยัง้ การสึกกร่อน
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
การป้ องกันการผุกร่อน

6. ทาการชุบด้วยโลหะ ด้วยวิธีอะโนไดซ์ (Anodize)


-โลหะบางชนิด เช่น อะลูมิเนี ยม ดีบกุ และสังกะสี เมื่อทาปฏิกิริยากับ
ออกซิเจนจะเกิดเป็ นออกไซด์ของโลหะเคลือบอยู่บนผิวของโลหะนัน้ และไม่
เกิดการผุกร่อนอีกต่อไป
- การชุบ หรือเคลือบโดยโลหะที่ Oxide ของโลหะนัน้ คงตัว สลายตัวยาก จะ
เป็ นผิวบางๆ คลุมผิวโลหะอีกที ได้แก่ Cr และ Al เป็ นต้น ดังนัน้ Cr2O3.Al2O3
สลายตัวยาก เรียกชื่อว่าวิธีอะโนไดซ์ (Anodize)
7. การรมดา เป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์ เพื่อเปลี่ยนผิวเหล็กไปเป็ น สารประกอบFeO(OH) ที่มีสี
น้าตาลดา เรียกว่า Cepidiocrocite
8. การป้ องกันการผุกร่อนของโลหะในระบบหล่อเย็นแบบปิด ป้ องกันสนิมสาหรับ
เครื่องยนต์หรือเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้ า
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)

การป้ องกันการผุกร่อนของถังเหล็กโดยใช้ขวั ้ Mg
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)

7.ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี

ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้
ที่แอโนด Li (s) Li+(s) + e-
ที่แคโทด TiS2(s) + e- TiS2 -(s)
ปฏิกิริยารวม Li(s) + TiS2(s) Li+(s) + TiS2-(s)

- ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์นี้มีค่าประมาณ 2 โวลต์


- TiS2- จะรวมตัวกับ Li+ เกิดเป็ น LiTiS2 อิเล็กโทรไลต์แข็งทาหน้ าที่เป็ นฉนวนต่อ
อิเล็กตรอน จึงทาให้เซลล์ไฟฟ้ านี้ สามารถใช้งานได้โดยไม่เกิดการลัดวงจร แบตเตอรี่
ชนิดนี้ ไม่ต้องเติมน้ากลั ่น
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)

7.ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี

แบตเตอรี่อากาศ

ใช้ออกซิเจนในอากาศเป็ นตัวออกซิไดส์ โดยมีโลหะ (Zn , Al) เป็ นตัวรีดิวส์ และใช้


สารละลาย NaOH เข้มข้นเป็ นสารอิเล็กโทรไลต์ เช่น แบตเตอรี่สงั กะสี - อากาศ
สังกะสี (Anode) : Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-
อากาศ (Cathode) : O2(g) + 2H2O(l) + 4e- 4OH-(aq)
ปฏิกิริยารวม : O2(g) + 2H2O(l) + 2Zn(s) 2Zn(OH) 2(aq)
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)

7.ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี


การทาอิเล็กโทรไดอะลิซิสน้าทะเล

ประโยชน์ ใช้แยกไอออนออกจากสารละลาย
หลักการนี้ สามารถนาไปใช้ โดยให้ไอออนผ่านเยื่อบางๆ ไปยังขัว้ ไฟฟ้ า ที่มี
แยกโซเดียมไอออนและคลอไรด์ ประจุตรงกันข้าม ทาให้สารละลายที่อยู่ระหว่าง
ไอออนออกจากน้าทะเลได้ ทาให้น้าทะเล ขัว้ ไฟฟ้ าทัง้ สอง มีจานวนไอออนลดน้ อยลง
กลายเป็ นน้าจืด
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
น้ำทะเล
A B C

ขัวลบ Na+ Cl-


ขัวบวก
Mg2+ SO42-

น้ำเค็ม น้ำจืด น้ำเค็ม


เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนบวก เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนลบ
แบบฝึ กหัด 9.7 หน้ า 77

You might also like