You are on page 1of 80

ไฟฟ้ าเคมี

รายวิชา เคมี4 ว30224


ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5

โดย
นางสาวเกศกนก ใจวัง
ตาแหน่ งครู
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ พะเยา
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
หัวข ้อไฟฟ้ าเคมี
9.1 ปฏิกิริยารีดอกซ์
9.2 การดุลสมการรีดอกซ์
9.3 เซลล์ไฟฟ้ าเคมี
9.3.1 เซลล์กลั วานิก
9.3.2 เซลล์อิเล็กโทรไลต์
9.3.3 การผุกร่อนของโลหะและการป้ องกัน
9.4 ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ า
เคมี
ไฟฟ้ าเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงาน
จากปฏิกิริยาเคมี พลังงานไฟฟ้ า และ
จากพลังงานไฟฟ้ า ปฏิกิริยาเคมี

ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox)
การถ่ายเทอิเล็กตรอน
ให้และรับอิเล็กตรอนเกิดขึน้ พร้อมกัน
จานวนอิเล็กตรอนที่ให้และรับต้องมีจานวนเท่ากัน
ประกอบด้วย ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และ ครึ่งปฏิกิริยารีดกั ชันรวมกัน
Redox = Reduction + Oxidation
ทบทวนเลขออกซเิ ดชน
ั (Oxidation Number) O.N.
1. ธาตุอิสระหรือธาตุบริสทุ ธ์ ิ O.N.= 0 เช่น Na Cu O2 N2 S8
2. โลหะหมู่ I O.N. = +1 เสมอ เช่น Li + Na + K +
3. โลหะหมู่ II O.N. = +2 เสมอ เช่น Be2+ Mg2+
4. H มี O.N. = +1
ยกเว้น สารประกอบโลหะไฮไดรด์ เช่น NaH LiH KH ซึ่ง H มี O.N.= -1
5. O มี O.N. = -2
ยกเว้น - สารประกอบเปอร์ออกไซด์ เช่น H2O2 , O มี O.N.= -1
- สารประกอบซุปเปอร์ออกไซด์ เช่น NaO2 , O มี O.N. = -1/2
6. ธาตุหมู่ VII มี O.N. = -1 เช่น F- Cl- Br- I-
7. O.N.ไอออนอะตอมเดี่ยว = ประจุของไอออนนัน้
เช่น Na + มี O. N. = +1, O 2- มี O.N. = -2
8. O.N.สารประกอบ = ประจุที่แสดงไอออนนัน้ เช่น SO 4 2- มี O.N. รวม = -2, NO2 มี
O.N. รวม = 0

ต ัวอย่างการหาเลขออกซเิ ดชน

Mn2O7 =2Mn +
2Mn + 7(-2) =0
2Mn = 14
Mn = +7
MnSO4 = Mn + S
Mn + (-2) = 0
Mn = +2
Oxidation or Reduction ?

สารที่ให้อิเล็กตรอน เลขออกซิเดชันสูงขึน้ เกิดปฏิกิริยออกซิเดชัน

เช่น Zn(s) Zn2+ (aq) + 2e-


Zn คือ ตัวรีดิวซ์ Zn2+ คืวตัวถูกรีดิวซ์ หรือ ตัวออกซิไดส์
สารที่รบั อิเล็กตรอน เลขออกซิเดชันตา่ ลง เกิดปฏิกิริยารีดกั ชัน
เช่น Cu2+(aq) + 2e- Cu (s)
Cu2+ คือตัวออกซิไดส์ ส่วน Cu คือตัวถูกออกซิไดส์ หรือตัวรีดิวซ์

***ตัวรี ดวิ ซ์ คือ ตัวที่ให้ อเิ ล็กตรอน


ตัวออกซิไดส์ คือ ตัวที่รับอิเล็กตรอน
Oxidation or Reduction ?

1 2
H2(1 atm)  2H+ + 2e- Na+ + e-  Na

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ H2(1 atm) 2H+ + 2e-


ปฏิกิริยารีดักชัน คือ Na+ + e- Na
ตัวออกซิไดส์ คือ Na+
ตัวรีดวิ ซ์ คือ H2
ตัวถูกออกซิไดส์ คือ Na
ตัวถูกรีดวิ ซ์ คือ H+
การดุลสมการรีดอกซ ์
จานวนอะตอมของแต่ละธาตุ และ ผลรวมประจุไฟฟ้ าของสาร เท่ากัน
การดุลสมการรีดอกซ์อย่างง่าย เช่น
2Ca (s) + O2(g)  2CaO(s)
แต่ปฏิกิริยาที่มีความซับซ้อน เช่น
Cl2(aq) + OH-(aq)  Cl-(aq) + ClO3-(aq) + H2O(l)
อาจต้องดุลแบบเป็ นระบบ ซึ่งสามารถดุลสมการได้ 2 วิธี คือ
1. การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน
2. การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา
การดุลโดยใช้เลขออกซิเดชัน การดุลสมการรีดอกซ์

หลักการดุลสมการรีดอกซ์ โดยใช้เลขออกซิเดชัน

1. หาเลขออกซิเดชันของแต่ละธาตุหรือไอออน (ต่อ 1 อะตอม)


2. นาเลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนไปมาคูณไขว้
(เพื่อให้จานวน e- ที่ถ่ายเทเท่ากัน)
3. ดุลอะตอมของธาตุ (H กับ O ทาทีหลัง)
- ขาด O เติม H2O
- ขาด H เติม H+
- ขาดประจุ เติม e-
(ถ้าทอนได้ให้ทอนเป็ นอัตราส่วนอย่างตา่ ด้วย)
การดุลโดยใช้เลขออกซิเดชัน การดุลสมการรีดอกซ์
1.ทาหาเลขออกซิเดชันของแต่ละธาตุหรือไอออน (ต่อ 1 อะตอม)
O.N. ลด 1
FeCl3 + SnCl2 FeCl2 + SnCl4
+3 -1 +2 -1 +2 -1 +4 -1
O.N.เพิม่ 2
2. นาเลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนไปมาคูณไขว้ (เพื่อให้จานวน e- ที่ถ่ายเทเท่ากัน)
O.N.ลด 1 X 2
2FeCl3 + SnCl2 2FeCl2 + SnCl4 *** สังเกตว่า ) ***
O.N. เพิม่ 2 X 1 -จานวนอะตอมเท่ากัน
3. ดุลอะตอมของธาตุ (H กับ O ดุลทีหลัง) -ประจุเท่ากัน

ปฏิกิริยารี ดอกซ์ 2FeCl3 + SnCl2 2FeCl2 + SnCl4


การดุลโดยใช้ครึ่งปฏิกิริยารีดอกซ์ การดุลสมการรีดอกซ์

หลักการการดุลสมการรีดอกซ์ โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา
1. หาเลขออกซิเดชันของแต่ละธาตุหรือไอออน (ต่อ 1 อะตอม)
2. แยกเป็ นครึง่ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันและรีดกั ชัน
3. ดุลจานวนอะตอมและดุลประจุของแต่ละครึง่ ปฏิกริ ยิ า
- ดุล O ด้วย H2O
- ดุล H ด้วย H+
- ดุลประจุดว้ ยการเติม e-
4. ถ่ายเท e- ให้เท่ากัน ทัง้ ออกซิเดชันและรีดกั ชัน
(โดยการคูณไขว้จานวน e- )
5. รวมสมการเป็ นปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์
หมายเหตุ
(ถ้าโจทย์กาหนดให้ปฏิกริ ยิ าเกิดในสารละลายเบส
ให้เติม OH- ลงไปเท่ากับจานวน H+ โดยเติมทัง้ สองข้างของสมการ
โดยฝงทีั ่ ม่ ที งั ้ OH-และ H+จะรวมกันเป็ น H2O)
การดุลโดยใช้ครึ่งปฏิกิริยารีดอกซ์ การดุลสมการรีดอกซ์

MnO4-(aq) + C2O42-(aq) MnO2(s) + CO32-(aq)


1. หาเลขออกซิเดชันของแต่ละธาตุหรือไอออน (ต่อ 1 อะตอม)
O.N. ลด 3
MnO4-(aq) + C2O42-(aq) MnO2(s) + CO32-(aq)
+7 -2 +3 -2 +4 -2 +4 -2
O.N. เพิม่ 1
2.แยกเป็ นครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดกั ชัน

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน C2O42-(aq) CO32-(aq)


ปฏิกิริยารีดกั ชัน MnO4-(aq) MnO2(s)
3.ดุลจานวนอะตอมและดุลประจุของแต่ละครึ่งปฏิกิริยา
ปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน C2O42-(aq) 2CO32-(aq)
C2O42-(aq) + 2H2O(aq) 2CO32-(aq)
C2O42-(aq) + 2H2O(aq) 2CO32-(aq) + 4H+
C2O42-(aq) + 2H2O(aq) 2CO32-(aq) + 4H+ + 2e-
ปฏิกริ ิยารี ดักชัน MnO4-(aq) MnO2(s) + 2H2O(aq)
MnO4-(aq) + 4H+ MnO2(s) + 2H2O(aq)
MnO4-(aq) + 4H+ + 3e- MnO2(s) + 2H2O(aq)
ปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน X 3 3C2O42-(aq) +6H2O(aq) 6CO32-(aq) + 12H+ + 6e-
ปฏิกิริยารีดกั ชัน X 4 4MnO4-(aq) + 16H+ + 6e- 4MnO2(s) + 8H2O(aq)

ปฏิกิริยารีดอกซ์ 4MnO4-(aq) + 4H+ + 3C2O42-(aq) 4MnO2(s) + 6CO32-(aq) + 2H2O(aq)


เซลล์ไฟฟ้าเคมีจาแนกได้เป็น 2 ประเภท

1. เซลล์กลั วานิก คือเซลล์ไฟฟ้ าเคมีที่สารทาปฏิกิริยากันแล้ว


กระแสไฟฟ้ า หรือเรียกว่า เซลล์ที่เกิดได้เอง

2. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ คือ เซลล์ไฟฟ้ าเคมีซึ่งต้องผ่านกระแสไฟฟ้ า


ภายนอกเข้าไปในสารเพื่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
เซลล์กลั วานิก Voltmeter

KCl

Zn Cu
anode Zn2+ Cu2+ cathode

• มี KCl เชื่อมต่อระหว่าง 2 บีกเกอร์


• มีกระแสไฟฟ้าเกิดขึน้ สังเกตจากการเบนเข็มของโวลต์ มิเตอร์
• ขัว้ ไฟฟ้าแต่ ละชนิดต้ องจุ่มอยู่ในสารละลายเกลือหรื อไอออนของมัน
• มีขัว้ ไฟฟ้าต่ างชนิดกัน 2 ขัว้ จุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ต่างกัน
• ด้ านที่เข็มโวลต์ มเิ ตอร์ เบนหาเรี ยกว่ าด้ าน cathode
เซลล์กลั วานิก Voltmeter

KCl

Zn Cu
สรุปได้ว่า anode Zn2+ Cu2+ cathode

• เซลล์ กัลวานิก ประกอบด้ วย ขัว้ ไฟฟ้าต่ างชนิดกัน 2 ขัว้


จุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ท่ ตี ่ างกัน
• เซลล์ กัลวานิก เปลี่ยนพลังงานเคมีให้ เป็ นพลังงานไฟฟ้า
โดยสารเคมีท่ อี ยู่ในเซลล์ เกิดการถ่ ายโอนอิเล็กตรอนทาให้ มีกระแสไฟฟ้าเกิดขึน้
• ขัว้ ที่ให้ e- ได้ดีกว่า เรียก แอโนด (anode)  ขัว้ ลบ (เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน)
• ขัว้ ที่รบั e- ได้ดีกว่า เรียก แคโทด (cathode)  ขัว้ บวก (เกิดปฏิกิริยารีดกั ชัน)
ส่ วนประกอบของเซลล์ กัลวานิก Voltmeter

KCl
1. ขัว้ ไฟฟ้า
Zn Cu
2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ anode Zn2+ Cu2+ cathode
3. สะพานไอออน (สะพานเกลือ)
4. โวลต์มิเตอร์

จากส่วนประกอบข้างต้นนักเรียนคิดว่า
ขาดส่วนใดไปแล้ว เซลล์ยงั สามารถถ่ายโอนอิเล็กตรอนได้ตามปกติ
ตอบ โวลต์ มเิ ตอร์
ส่ วนประกอบของเซลล์ กัลวานิก Voltmeter

KCl

1. ขัว้ ไฟฟ้า Zn Cu
anode Zn2+ Cu2+ cathode
เป็ นแหล่งเกิดปฏิกิริยาเคมี
อาจเป็ น - โลหะจุ่มในสารละลายไอออนของโลหะนัน้ ๆ โลหะเฉือ่ ย
- แก๊สผ่านเข้าไปในสารละลายไอออนของแก๊สนัน้ ๆ เช่น
Pt , Hg, C
โดยมีโลหะเฉื่ อยเป็ นตัวให้หรือรับอิเล็กตรอน เป็นต้น
- โลหะ เกลือของโลหะและไอออนลบของเกลือ
- สารละลายไอออนบวก 2 ชนิดของโลหะชนิดเดียวกัน
มีโลหะเฉื่ อยเป็ นตัวให้และรับอิเล็กตรอน
ส่ วนประกอบของเซลล์ กัลวานิก Voltmeter

2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์
KCl
- สารละลายเกลือของขัว้ ไฟฟ้ าทัง้ สอง
โดยขัว้ ไฟฟ้ าแต่ละชนิด Zn Cu
ต้องจุ่มอยู่ในสารละลายเกลือของมัน anode Zn2+ Cu2+ cathode
3. สะพานไอออน (สะพานเกลือ)
- เป็ นตัวเชื่อมครึ่งเซลล์ทงั ้ สองเข้าด้วยกัน
- ช่วยรักษาสมดุลของไอออนครึ่งเซลล์
- ทาจากเกลือที่ละลายน้าได้ดีที่มีไอออนบวกและลบ
เคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้เคียงกัน เช่น KNO3, KCl, NH4NO3
4. โวลต์มิเตอร์
- เป็ นเครื่องมือวัดค่าศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์
ปฏิกิริยาของเซลล์กลั วานิก Voltmeter

KCl
Zn และ Cu เรียกว่า ขัว้ ไฟฟ้ า
Zn Cu
anode Zn2+ Cu2+ cathode

ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน Zn(s) Zn2+ + 2e-


ครึ่งปฏิกิริยารีดกั ชัน Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)
ปฏิกริ ิยารี ดอกซ์ Cu2+(aq) + Zn(s) Cu(s) + Zn2+(aq)

หมายเหตุมเิ ตอร์ไฟฟ้าวัดทิศทางการเคลื่อนทีข่ อง e-
โดยเข็มจะเบนตามทิศทางการเคลื่อนทีข่ อง e-
การถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กลั วานิก

2e-
Zn2+
Cu2+

Zn(s) Zn2+(aq) + 2e- Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)


Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s)
แผนภาพเซลล์กลั วานิก
Voltmeter
ทายซิคะ ว่าแผนภาพ
KCl เซลล์ที่เห็นได้ มาอย่ างไร?

Zn Cu
anode Zn2+ Cu2+ cathode

Zn(s) l Zn2+(aq) ll Cu2+(aq) l Cu(s)


แผนภาพเซลล์กลั วานิก
Voltmeter
พอจะดูออกหรือยังคะ
KCl ว่ามีทมี่ าอย่างไร

Zn Cu
anode Zn2+ Cu2+ cathode

Zn(s) l Zn2+(aq) ll Cu2+(aq) l Cu(s)


ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน Zn(s) Zn2+ + 2e-
ครึ่งปฏิกิริยารีดกั ชัน Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)
เปรียบเทียบการเขียนแผนภาพเซลล์กลั วานิก

1. Zn(s) l Zn2+(aq) ll Cu2+(aq) l Cu(s)

2. Pt | H2 (g)| H+(aq) || Cu2+(aq)(1 M) | Cu(s)

3.Cu(s) | Cu2+(aq)(0.1M) | | Ag+(aq)(0.1M) | Ag(s)

4. Pt(s) | H2(g) | H+(aq) ll H+(aq) | H2(g) | Pt(s)

5. Pt(s) | Fe2+(aq) , Fe3+(aq) ll Co3+ (1.0 M), Co2+ (0.1 M) | Pt


หลักการเขียนแผนภาพเซลล์กลั วานิก
Zn(s) l Zn2+(aq) ll Cu2+(aq) l Cu(s)

1. ใช้เครื่องหมาย | | แทนสะพานเกลือคันกลางปฏ
่ ิ กิริยาทัง้ สอง
2. ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน แอโนด อยู่ด้านซ้ายของสะพานไอออน
ครึ่งเซลล์รีดกั ชัน แคโทด อยู่ด้านขวาของสะพานไอออน

3. กรณี ครึ่งเซลล์ธาตุเดียวกัน สถานะต่าง ใช้ l คัน่


Cu(s) | Cu2+(aq)(0.1M) | | Ag+(aq)(0.1M) | Ag(s)
4. ระบุความเข้มข้น หรือความดันเขียนวงเล็บไว้หลังสถานะสารชนิดนัน้ ๆ
หลักการเขียนแผนภาพเซลล์กลั วานิก

Pt(s) | Fe3+(aq) , Fe2+(aq) ll Co3+ (1.0 M), Co2+ (0.1 M) | Pt


5. กรณี ครึ่งเซลล์ธาตุเดียวกัน สถานะเหมือน ไอออนต่าง ใช้ , คัน่

6. กรณี เลขออกซิเดชันหรือไอออนยิ่งมาก ยิ่งใกล้สะพานไอออนมาก


Pt | H2 (g)| H+(aq) || Cu2+(aq)(1 M) | Cu(s)
Pt(s) | H2(g) | H+(aq) ll H+(aq) | H2(g) | Pt(s)
7. ถ้าเป็ นขัว้ ไฟฟ้ าก๊าซจะต้องใส่ขวั ้ ไฟฟ้ าเฉื่ อยคือ Pt หรือ C เป็ นขัว้ ไฟฟ้ า
จากโจทย์ให้เขียนแผนภาพเซลล์กลั วานิก
รู้จริงแค่ไหนมาพิสจู น์ กนั

1. Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s)

2. H2 (g) + Cu2+(aq)(1 M) H+(aq) + Cu(s)


3. H2(g) + H+(aq) H+(aq) + H2(g)

4. Fe2+(aq) + Co3+ (1.0 M) Co2+ (0.1 M) + Fe3+(aq)


5. Cu(s) + Ag+(aq)(0.1M) Cu2+(aq)(0.1M) + Ag(s)
หลักการเขียนแผนภาพเซลล์กลั วานิก
ทาถูกหรื อเปล่ าคะ

1. Zn(s) l Zn2+(aq) ll Cu2+(aq) l Cu(s)


2. Pt | H2 (g)| H+(aq) || Cu2+(aq)(1 M) | Cu(s)
3. Pt(s) | H2(g) | H+(aq) ll H+(aq) | H2(g) | Pt(s)

4. Pt(s) | Fe3+(aq) , Fe2+(aq) ll Co3+ (1.0 M), Co2+ (0.1 M) | Pt


5. Cu(s) | Cu2+(aq)(0.1M) | | Ag+(aq)(0.1M) | Ag(s)
ศักย์ ไฟฟ้าของเซลล์และศักย์ ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์
ศักย์ ไฟฟ้าของขัว้ ไฟฟ้ามาตรฐาน
ความสามารถในการรับอิเล็กตรอน
โดยเปรียบเทียบกับศักย์ไฟฟ้ า ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน
(Standard hydrogen electrode, SHE)

ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน ประกอบด้วย
- ขัว้ ไฟฟ้ าเป็ นแก๊สไฮโดรเจน ความดัน 1 บรรยากาศ
- มี Pt เป็ นสื่อให้และรับอิเล็กตรอน
- สารละลายอิเล็กโทรไลต์เป็ นกรดไฮโดรคลอริก 1 mol/l
- อุณหภูมิ 25C
และกาหนดให้ครึ่งเซลล์นี้มีศกั ย์ไฟฟ้ า 0.00 โวลต์
ศักย์ ไฟฟ้าของเซลล์และศักย์ ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์

การหาค่าศักย์ไฟฟ้ าของครึ่งเซลล์หรือขัว้ ไฟฟ้ าใด

นามาต่อกับครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน
ถ้ าครึ่งเซลล์ มาตรฐานไฮโดรเจนให้ อเิ ล็กตรอนได้ ดีกว่ า

เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน H2(1 atm)  2H+ + 2e-

ถ้ าครึ่งเซลล์ ไฮโดรเจนมาตรฐานเป็ นฝ่ ายรั บอิเล็กตรอน

เกิดปฏิกิริยารีดกั ชัน 2H+ + 2e-  H2(1 atm)


ศักย์ ไฟฟ้าของเซลล์และศักย์ ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์
ประโยชน์ ของค่าศักย์ไฟฟ้ ารีดกั ชันมาตรฐาน
- ใช้ บอกความสามารถในการรั บอิเล็กตรอนของสารต่ างๆ
E มาก รับ e- ได้ดีกว่า E น้ อย
ตัวออกซิไดซ์ ท่ ีดี ตัวรี ดวิ ซ์ ท่ ีดี
ขัว้ บวก ขัว้ ลบ
(แคโทด) (แอโนด)
- ใช้ทานายทิศทางการเกิดปฏิกิริยา
ถ้า Ecell มีค่าเป็ นบวกแสดงว่าเกิดปฏิกิริยาได้
โดยครึ่งเซลล์ที่มีค่า E มากกว่าเกิดปฏิกิริยารีดกั ชัน
ส่วนครึ่งเซลล์ที่มีค่า E น้ อยกว่าเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ถ้า Ecell เป็ นลบแสดงว่าไม่เกิดปฏิกิริยา
ศักย์ ไฟฟ้าของเซลล์และศักย์ ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์
การหาค่ าศักย์ ไฟฟ้าหรื อแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์
สามารถคานวณจากค่า E ของขัวไฟฟ้ ้ ามาตรฐานที่ใช้ ทาเซลล์กลั วานิก

แรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ , Ecell
Ecell = Ecathode - Eanode
ที่สภาวะมาตรฐาน
0 0 0
E cell = E cathode - E anode
0
***ถ้ า E cell มีค่าเป็ นบวกแสดงว่ าปฏิกริ ิยานัน้ สามารถเกิดขึน้ ได้ เอง***
ศักย์ ไฟฟ้าของเซลล์และศักย์ ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์
0.34 V
e- e- หาศักย์ ไฟฟ้าของขัว้ ไฟฟ้าทองแดง
H2(g) E = E - E
cell cathode anode

0.34 = ECu - EH2


Cu Cu2+2- H+
แคโทด SO4 Cl- ECu = 0.34 – 0.00 = 0.34 โวลต์
1 M CuSO4 1 M HCl

อิเล็กตรอนไหลจากครึ่งเซลล์ ไฮโดรเจนมาตรฐานไปยังครึ่งเซลล์ ทองแดง


แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่วัดได้ เป็ นศักย์ ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ ทองแดง

ครึ่งเซลล์ ท่ รี ั บอิเล็กตรอน ศักย์ รีดักชัน


ครึ่งเซลล์ ท่ ใี ห้ อิเล็กตรอน ศักย์ ออกซิเดชัน
ศักย์ ไฟฟ้าของเซลล์และศักย์ ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์
จงคานวณค่า Ecell จากแผนภาพของเซลล์ต่อไปนี้
Al(s) | Al3+(aq) || Cu2+(aq) | Cu(s)
Anode (ออกซิเดชัน) 2(Al(s) Al3+(aq) + 3e-) E = - 1.66 โวลต์
Cathode (รีดกั ชัน) 3(Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)) E = + 0.34 โวลต์

ปฏิกิริยาของเซลล์ (รีดอกซ์) 2Al(s) + 3Cu2+(aq) 2Al3+(aq) + 3Cu(s)


Ecell = Ecathode - Eanode
Ecell = 0.34 – (-1.66) = 2.00 โวลต์ ปฏิกริ ิยานี ้
สามารถ
หรือหาจากสูตร Ecell = Eox + Ered
เกิดขึน้ เองได้
= 1.66 + 0.34 = 2.00 โวลต์
ประเภทของเซลล์กลั วานิก

เซลล์กลั วานิก เปลี่ยนปฏิกิริยาเคมี ไฟฟ้ า เรียกว่า เซลล์โวลตาอิก(Voltaic cell)


ทาให้เกิดการแลกเปลีย่ นอิเล็กตรอนระหว่างปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันและรีดกั ชันผ่านลวด
ตัวนาไฟฟ้า แบ่งเป็ น 2 ชนิดคือ

เซลล์ปฐมภูมิ เซลล์ทุติยภูมิ
ปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ ปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์สามารถ
เกิดขึน้ อย่างสมบูรณ์ ย้อนกลับได้อีก
ทาให้เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับไม่ได้ โดยการอัดไฟเข้าไปใหม่
ไม่สามารถนามาอัดไฟใช้ใหม่ หรือใช้ไฟหมดแล้วสามารถอัดไฟ
ใหม่ได้อีก
ตัวอย่างเซลล์ปฐมภูมิ ตัวอย่างเซลล์ทตุ ิ ยภูมิ

• ถ่านไฟฉาย • เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกัว่
• เซลล์แอลคาไลน์ • เซลล์นิกเกิล – แคดเมียม
• เซลล์ปรอท • เซลล์โซเดียม-ซัลเฟอร์
• เซลล์เงิน
• เซลล์เชือ้ เพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน
• เซลล์เชือ้ เพลิงโพรเพน-ออกซิเจน
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ปฐมภูมิ

1. ถ่ านไฟฉาย

ประกอบด้วย
• กล่องสังกะสี ขัวแอโนด

• มีแท่งคาร์บอน แคโทด
• รอบ ๆ แท่งคาร์บอนมีแมงกานีส (IV) ออกไซด์
ซึง่ มีสารละลายของแอมโมเนียคลอไรด์
เป็ นอิเล็กโทรไลต์บรรจุอยู่ โดยทัวไปมี
่ ศักย์ไฟฟ้ าประมาณ 1.5 V
•ผสมกาวลงไปเพราะแอมโมเนียคลอไรด์รวง่ ั ่ าย NH3ทีเ่ กิด ป้องกันไม่ให้เกิด สารประกอบเชิงซ้อนของ
เตตระแอมมีนซิงค์ (II) ไอออน [Zn(NH3)4]2+ และ
ไดอาควาแอมมีนซิงค์ (II) ไอออน[Zn(NH3)2(H2O)2]2+
2+ - ซึง่ จะทาให้ศกั ย์ไฟฟ้าของเซลล์เปลีย่ นแปลง
Anode : Zn(s) Zn (aq) + 2e
Cathode : 2MnO2(s) + 2NH4+(aq) + e- Mn2O3(s) + 2NH3(g) + H2O(l)
ปฏิกิริยารวม : Zn(s) + 2MnO2(s) + 2NH4+(aq) Zn2+(aq) + Mn2O3(s) + 2NH3(g) + H2O(l)
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ปฐมภูมิ

2. เซลล์แอลคาไลน์
ประกอบด้วย
• คล้ายเซลล์ถ่านไฟฉาย ต่างกันทีส่ ารละลาย MnO8 ผสม KOH
NaOH หรือ KOH เป็ นอิเล็กโทรไลต์
• กล่องสังกะสี ขัวแอโนด

• มีแท่งคาร์บอน แคโทด
• รอบ ๆ แท่งคาร์บอนมีแมงกานีส (IV) ออกไซด์
โดยทัวไปมี
่ ศักย์ไฟฟ้ าประมาณ 1.5 โวลต์
ผสมผงคาร์บอนโดยอัดติดกับแท่งคาร์บอน
แต่ให้กระแสไฟฟ้าได้นานกว่าเซลล์แห้ง
ประโยชน์
เนื่องจาก OH- และ H2O ทีเ่ กิดขึน้ ในปฏิกริ ยิ า
ใช้ในไฟฉายวิทยุหรืออุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ต่างๆ
สามารถกลับไปเป็ นสารตัง้ ต้นของปฏิกริ ยิ าได้อกี
Anode : Zn(s) + 2OH-(aq) ZnO (s) + H2O(l) + 2e -
Cathode : 2MnO2(s) + 2H2O (l) + 2e- Mn2O3(s) + 2OH-(aq)
ปฏิกิริยารวม : Zn(s) + 2MnO2(s) ZnO(s) + Mn2O3(s)
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ปฐมภูมิ

3. เซลล์ปรอท แอโนด
HgO, KOH
+
ประกอบด้วย
• ใช้ HgOแทนMnO2 ของแอลคาไลน์
• กล่องสังกะสี ขัวแอโนด

แคโทด
-
• มีแท่งคาร์บอน แคโทด
• รอบ ๆ แท่งคาร์บอนมีเมอคิวรี (II) ออกไซด์ผสมผงคาร์บอนอัด ให้ศกั ย์ไฟฟ้ าประมาณ 1.3 V
ติดอยู่ และผสมผงคาร์บอนมีสารละลายของ NaOH หรือ KOH ให้กระแสไฟฟ้าต่า
ซึง่ ทาหน้าทีเ่ ป็ นอิเล็กโทรไลต์ ข้อดี คือให้ศกั ย์ไฟฟ้าเกือบคงที่
• ประโยชน์ ใช้ในเครือ่ งฟงั เสียงสาหรับคนหูพกิ าร เครือ่ งคิดเลข ตลอดอายุการใช้งาน
นาฬิกา กล้องถ่ายรูป เครือ่ งตรวจการเต้นของหัวใจ

Anode : Zn(s) + 2OH-(aq) ZnO (s) + H2O(l) + 2e -


Cathode : Hg2O(s) + 2H2O (l) + 2e- Hg(l) + 2OH-(aq)
ปฏิกิริยารวม : Zn(s) + Hg2O(s) ZnO(s) + Hg(s)
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ปฐมภูมิ

4. เซลล์เงิน แอโนด
+
ประกอบด้ วย Ag2O,Zn(OH)2,KOH
คล้ายเซลล์ปรอท แต่ใช้Ag2OแทนHgO
• กล่องสังกะสี ขัวแอโนด

แคโทด
-
• มีแท่งคาร์บอน แคโทด
•รอบ ๆ แท่งคาร์บอนมีAg2Oผสมผงคาร์บอนโดยอัดติดซึง่ หุม้ ให้ศกั ย์ไฟฟ้ าประมาณ 5 V
ด้วยAgO มีสารละลายของ NaOH หรือ KOH เป็ นอิเล็กโทรไลต์ ขนาดเล็กและอายุการใช้งาน
ผสม Zn(OH)2 นานมากราคาแพง
• ประโยชน์ ใช้ กบั ล้ องถ่ายรูป เครื่ องตรวจการเต้ นของหัวใจ
เครื่ องช่วยฟั ง นาฬิกา เครือ่ งคิดเลข

Anode : Zn(s) + 2OH-(aq) ZnO (s) + H2O(l) + 2e -


Cathode : Ag2O(s) + H2O (l) + 2e- 2Ag(s) + 2OH-(aq)
ปฏิกิริยารวม : Zn(s) + Ag2O(s) ZnO(s) + 2Ag(s)
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ปฐมภูมิ

เซลล์เชื้อเพลิง

เป็ นเซลล์ปฐมภูมทิ ต่ี อ้ งผ่านสารตัง้ ต้น


ซึง่ เป็ นเชือ้ เพลิงเข้าไปที่
ขัว้ แอโนดและแคโทตลอดเวลา
เกิดการสันดาปภายในเซลล์
และให้พลังงานออกมา แต่ไม่เกิดการลุกไหม้
เนื่องจากปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันและรีดกั ชันทีเ่ กิดขัว้ ต่างกัน
โดยอิเล็กตรอนจะเคลื่อนทีจ่ ากขัว้ แอโนดไปแคโทด
เสริมนิดนะคะ
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ปฐมภูมิ

5. เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน

ประกอบด้วย
• ใช้H2(g)เข้าไปในช่องแอโนด
ทีม่ แี กรไฟต์ผสมนิกเกิล
• ใช้ O2(g)เข้าไปในช่องแคโทด
ทีม่ แี กรไฟต์ผสมนิเกิลและนิกเกิล (II) ออกไซด์
เพือ่ ช่วยเร่งปฏิกริ ยิ า ให้ศกั ย์ไฟฟ้ าประมาณ 1.2 V
•โซเดียมคาร์บอร์เนตหลอมเหลวเป็ นอิเล็กโทรไลต์ ราคาแพงมาก ใช้กบั เรือดาน้า
ยานพาหนะทางทหาร
Anode : H2(g) + CO32-(l) H2O(g) + CO2(g) + 2e- ในกระสวยอวกาศและยังได้น้า
Cathode : O2(g) + CO2(g) + 2e- CO32-(l) บริสทุ ธิเป็
์ นน้ าดืม่ สาหรับนักบิน
ปฏิกิริยารวม : 2H2(g) + O2(g) 2H2O(g) อวกาศอีกด้วย
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ปฐมภูมิ

6.เซลล์เชื้อเพลิงโพรเพน-ออกซิเจน

ประกอบด้วย
• ใช้แก๊สโพรเพนผ่าน
เข้าไปในช่องแอโนด
• ใช้แก๊สออกซิเจนผ่าน
เข้าไปในช่องแคโทด
• สารละลายกรดซัลฟูรกิ
ปฏิกริ ยิ าสันดาปของก๊าซโพรเพนในเครือ่ งยนต์
เป็ นอิเล็กโทรไลต์
ให้ประสิทธิภาพการทางานสูงประมาณ 2 เท่าของ
• ประโยชน์ ใช้กบั เรือดาน้ายานพาหนะทีใ่ ช้
เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน
ทางการทหารและในกระสวยอวกาศ

Anode : C3H8(g) + 6H2O(l) 3CO2(g) + 20H+ (aq)+ 20e-(s)


Cathode : 5O2 (g) + 20H+ (aq) + 20e- 10H2O(l)
ปฏิกิริยารวม : 5O2 (g) + C3H8(g) 3CO2(g) + 4H2O(l)
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ปฐมภูมิ เซลล์ เชือ้ เพลิงโพรเพน-ออกซิเจน
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ทุติยภูมิ

1. เซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่

ประกอบด้วย
• แผ่นตะกัว่ เป็ นแอโนด
มีศกั ย์ไฟฟ้ า 2 โวลต์
• เลด(IV)ออกไซด์ ทีเ่ คลือบบนผิวตะกัวเป็
่ นแคโทด
• สารละลายกรดซัลฟูรกิ เข้มข้นร้อยละ 30-38 เป็ นอิเล็กโทรไลต์ สามารถต่อเป็ นอนุ กรมศักย์ไฟฟ้า
• แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง เพือ่ ให้ขวั ้ ทัง้ สอง เพิม่ ขึน้ เช่น แบตตอรีรถยนต์ม ี
มีศกั ย์ไฟฟ้าต่างกันและเกิดกระแสไฟฟ้าขึน้ เซลล์อนุ กรมต่อกัน 6 เซล์ เรียก
• ประโยชน์ ใช้เป็ นแหล่งพลังงานไฟฟ้าในรถยนต์หรือ ทัวไปว่
่ า แบตเตอรี่ ถึงแม้จะอัดไฟ
จักรยานยนต์ ใหม่ได้ แต่ PbSO4 ทีเ่ กิดขึน้ ทีข่ วั ้
ทัง้ สองอยูท่ ก่ี น้ ภาชนะ ทาให้ขวั ้ สึก
กร่อนและเสือ่ มสภาพในทีส่ ุด
จ่ายไฟ
ปฏิกิริยารวม Pb + PbO2 + 2H2SO4 2PbSO4 + 2H2O
- + อัดไฟ
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ทุติยภูมิ

2. เซลล์นิกเกิล – แคดเมียม
ประกอบด้วย
•มีโลหะเมียมเป็ นแอโนด
•นิกเกิล (IV) ออกไซด์เป็ นแคโทด และมี NiO(OH) ฉาบอยู่
•มีสารละลายเบสเป็ นอิเล็กโทรไลต์ คือ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์
• ประโยชน์ เซลล์ชนิดนี้ใช้กบั เครือ่ งคิดเลข กล้องถ่ายรูป
เครือ่ งเลเซอร์ชนิดไร้สาย
่ า เซลล์นิแคด ให้ศกั ย์ไฟฟ้ าประมาณ 1.4 โวลต์
เรียกทัวไปว่
สามารถประจุไฟได้ใหม่การประจุไฟจะเกิดย้อนกลับกับปฏิกริ ยิ าการจ่ายไฟ
ข้อดี ใช้ได้นาน ข้อเสีย กาจัดยาก เพราะแคดเมียมเป็ นโลหะมีพษิ

Anode : Cd(s) + 2OH-(aq) Cd(OH)2(s) + 2e-


Cathode : 2NiO(OH)(s) + 2H2O(l) + 2e- 2Ni(OH)2(s) + 2OH-(aq)
ปฏิกิริยารวม : Cd(s) + 2NiO(OH)(s) + 2H2O(l) Cd(OH)2(s) + 2Ni(OH)2(s)
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ทุติยภูมิ

3. เซลล์โซเดียม-ซัลเฟอร์

ประกอบด้วย
• โซเดียมเหลวเป็ นแอโนด ระหว่าง OxidationและReduction
• กามะถันเหลว เป็ นแคโทด คันด้
่ วยเซรามิกส์ทม่ี รี พู รุนเล็กๆ
(ผสมผงแกรไฟต์เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการนาไฟฟ้า) เพือ่ ให้โซเดียมไอออนผ่าน
•บีตาอะลูมนิ า เป็ นของผสมของออกไซด์ของโลหะ ให้ศกั ย์ไฟฟ้ าประมาณ 2.1 V
(Al, Mg, Na) ทีย่ อมให้ Na+ เคลื่อนทีผ่ า่ นได้เป็ นอิเล็กโทรไลต์ สามารถประจุไฟ มีอายุการใช้งาน
นานกว่าเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกัว่
แต่ตอ้ งควบคุมอุณหภูมใิ ห้ได้ ~350 oC
Anode : 2Na(l) 2Na2+(l) + 2e- เพือ่ ให้สารอยูใ่ นสภาพหลอมเหลว
Cathode : (n/8)S8(l) + 2e- nS2-(l)
ปฏิกิริยารวม : 2Na(l) + (n/8)S8(l) Na2Sn(l)
เซลล์กลั วานิก ชนิดเซลล์ทุติยภูมิ

3. เซลล์โซเดียม-ซัลเฟอร์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์

ขัว้ ไฟฟ้ าที่ต่อกับขัว้ บวกของแบตเตอรี่ เกิดออกซิเดชัน เรียก แอโนด


ขัว้ ไฟฟ้ าที่ต่อกับขัว้ ลบของแบตเตอรี่ เกิดรีดกั ชัน เรียก แคโทด

เซลล์อิเล็กโทรไลต์ คือ เซลล์ไฟฟ้ าเคมีซึ่งต้องผ่านกระแสไฟฟ้ าภายนอก


เข้าไปในสารเพื่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมีส่วนประกอบที่สาคัญของ
Electrolytic cell
1. แหล่ งพลังงานไฟฟ้าจากภายนอก
2. ขัว้ ไฟฟ้า
3. สารละลายอิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ส่วนประกอบของเซลล์อเิ ล็กโทรไลต์

1. ขัว้ ไฟฟ้ า 2 ขัว้

ขัว้ ที่ต่อกับขัว้ บวกของแหล่งกาเนิด  ขัว้ บวก  แอโนด  ออกซิเดชัน

ไอออนลบเคลื่อนที่เข้ามา
ถ่ายเทอิเล็กตรอน

ขัว้ ที่ต่อกับขัว้ ลบของแหล่งกาเนิด  ขัว้ ลบ  แคโทด  รีดกั ชัน

ไอออนบวกเคลื่อนที่มารับอิเล็กตรอน
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ส่วนประกอบของเซลล์อเิ ล็กโทรไลต์

2. แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า

เป็ นแหล่งให้พลังงานของเซลล์
เพื่อให้ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ เองไม่ได้สามารถเกิดปฏิกิริยาได้

3. อิเล็กโทรไลต์ ท่ ีหลอมเหลวหรื อสารละลายอิเล็กโทรไลต์


เป็ นสารที่ต้องการแยกสลายด้วยไฟฟ้ า
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า

กระบวนการที่เกิดขึน้ เมื่อให้กระแสไฟฟ้ าผ่านลงไปในสารละลาย


หรือสารที่กาลังหลอมเหลว ทาให้อิเล็กโทรไลต์หรือตัวทาละลาย
เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ขวั ้ ไฟฟ้ า โดยเกิดออกซิเดชัน-รีดกั ชัน

ออกซิเดชัน  เกิดที่ขวั ้ บวก (แอโนด) ไอออนลบเคลื่อนที่เข้าหาแอโนด


เพื่อถ่ายเทอิเล็กตรอน
รีดกั ชัน  เกิดที่ขวั ้ ลบ (แคโทด) ไอออนบวกเคลื่อนที่เข้าหาแคโทด
เพื่อรับอิเล็กตรอน
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า

ถ้าแยกสารละลายจะมีน้าเข้าไปเกี่ยวข้องในปฏิกิริยา
ดังนัน้ การเลือกปฏิกิริยาที่จะใช้เป็ นแคโทด แอโนด
ก็ต้องพิจารณาศักย์ไฟฟ้ าของน้าด้วย
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า

ตัวอย่างการแยกสลายโซเดียมคลอไรด์ที่หลอมเหลวด้วยไฟฟ้ า

ผ่านพลังงานไฟฟ้ าลงในอิเล็กโทรไลต์โซเดียมคลอไรด์ที่หลอมเหลว
โดยใช้ขวั ้ ไฟฟ้ าเป็ นโลหะเฉื่ อย

แอโนด (ออกซิเดชัน) 2Cl-  Cl2(g) + 2e- E = 1.36


แคโทด (รีดกั ชัน) 2(Na+ + e-  Na(s) E = -2.71
ปฏิกิริยารีดอกซ์ 2Cl- + 2Na+  Cl2(g) + 2Na(s) Ecell = -4.07

Ecell มีค่าเป็ น ลบ ปฏิกิริยาเกิดเองไม่ได้


เมื่อได้รบั พลังงานจากภายนอก อย่างน้ อย 4.07 โวลต์
จะเกิดปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยไฟฟ้ าขึน้
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า
ประโยชน์ ของการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า
1. การแยกธาตุ เช่น การผลิต Al จาก Al2O3
ที่แอโนด (ออกซิเดชัน) 3O2-  3O2(g) + 6e-
ที่แคโทด (รีดกั ชัน) 2(Al3+ + 3e-  Al(l))

ปฏิกิริยาของเซลล์ 2Al3+ + 3O2-  2Al(l) + 3 O2(g)


เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า
ประโยชน์ ของการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า
2. การทาให้สารบริสทุ ธ์ ิ โดยใช้โลหะที่ไม่บริสทุ ธ์ ิ เป็ นแอโนด และ
โลหะที่บริสทุ ธ์ ิ เป็ นแคโทด
เช่น การทาทองแดงให้บริสทุ ธ์ ิ
ปฏิกิริยาที่แอโนด (ออกซิเดชัน)
Cu(s)  Cu2+ + 2e-
ปฏิกิริยาที่แคโทด (รีดกั ชัน)
Cu2+ + 2e-  Cu(s)
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ประโยชน์ ของการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า

การทาโลหะให้บริสทุ ธ์ ิ โดยใช้เซลล์อิเล็กโทรไลต์

การทาทองแดงให้บริสทุ ธ์ ิ จากโลหะที่ประกอบด้วย Cu, Fe, Zn, Ag, Au, Pt

Cathode -
Anode +

ทองแดงไม่บริสทุ ธ์ ิ
CuSO4 ทองแดงบริสทุ ธ์ ิ
+
H2SO4 กากตะกอน
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ประโยชน์ ของการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า

การทาโลหะให้ บริสุทธิ์โดยใช้ เซลล์ อเิ ล็กโทรไลต์


เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ประโยชน์ ของการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า

การทาโลหะให้ บริสุทธิ์โดยใช้ เซลล์ อเิ ล็กโทรไลต์

โลหะทองแดงที่ ได้ จากการถลุงสินแร่จะมี


ความบริสทุ ธ์ ิ ไม่เกินร้อยละ 90 ที่เหลือเป็ น
สิ่ ง เจื อ ปนที่ ม กั จะมี อ ยู่ใ นทองแดง ได้ แ ก่
เหล็ก เงิน ทอง แพตินัมและสังกะสี
ขัว้ แอโนด ทองแดงที่ไม่บริสทุ ธ์ ิ
แคโทด แผ่นทองแดงที่บริสทุ ธ์ ิ

อิเล็กโทรไลต์ สารละลายผสมของคอป
เปอร์ (II) ซัลเฟตกับกรดซัลฟิวริก
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ประโยชน์ ของการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า

3. การชุบโลหะ ให้โลหะที่ใช้ชบุ เป็ นแอโนด ส่วนโลหะที่จะชุบ


เป็ นแคโทด จุ่มในสารละลายของไอออนของโลหะที่ใช้ชบุ
การชุบเงินบนผิวสังกะสี ขัว้ แอโนด เงิน
ขัว้ แคโทด สังกะสี
ปฏิกิริยาที่แอโนด (ออกซิเดชัน) สารละลายอิเล็กโทรไลต์ Ag+

Ag(s)  Ag+ + e-

ปฏิกิริยาที่แคโทด (รีดกั ชัน)

Ag+ + e-  Ag(s)
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ประโยชน์ ของการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า

การชุบโลหะด้ วยกระแสไฟฟ้า

หลัก การของการชุบ โลหะด้ ว ยไฟฟ้ า คือ


ต้องให้โลหะชนิดหนึ่งมาเคลือบบนโลหะอีก การชุบช้ อนโลหะด้ วย
ชนิดหนึ่งทีอ่ ยู่ เป็ นแคโทดโดยจัดเซลล์ดงั นี้ เงิน
ขัว้ แอโนด: โลหะที่ใช้ชบุ
ขัว้ แคโทด: โลหะที่ต้องการชุบ
สารละลายอิ เ ล็ก โทรไลต์ : โลหะไอออน
ของโลหะที่เป็ นแอโนด
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ประโยชน์ ของการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า

การชุบโลหะด้ วยกระแสไฟฟ้า

หลักการที่สาคัญดังนี้
1. วัตถุที่ต้องการชุบต่อกับขัว้ ลบของแบตเตอรี่
หรือแคโทด
โลหะที่ใช้ชบุ ต่อกับขัว้ บวกของแบตเตอรี่
หรือเป็ นแอโนด
2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์มีไอออนของโลหะ
ชนิดที่เดียวกับโลหะที่เป็ นแอโนดหรือโลหะที่ใช้ชบุ
3. ใช้ไฟฟ้ ากระแสตรงเพื่อให้ขวั ้ ไฟฟ้ าเป็ นขัว้ บวกและขัว้ ลบคงเดิม
• 1 2 3 4
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การกัดกร่อนและการป้ องกัน

การกัดกร่อน (corrosion) เป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์ของโลหะที่เกิดจาก


สภาพแวดล้อม (ออกซิเจน และ ความชื้น) ทาให้เกิดการเปลี่ยน
เป็ นสารประกอบเชิงซ้อนของโลหะนัน้

ลวด
Mg
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การกัดกร่อนและการป้ องกัน

Redox: 2Fe(s) + O2(g) + 2H2O(l) 2Fe2+(aq) + 4OH-(aq)

Fe(OH)2(s)
4Fe(OH)2(s) + O2(g) + 2H2O(l) 4Fe(OH)3(s)
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การกัดกร่อนและการป้ องกัน

การเกิดสนิมเหล็ก
บริเวณที่ถกู กัดกร่อนจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันหรือเป็ นแอโนด
โลหะเหล็ก (Fe(s)) เปลี่ยนไปเป็ น Fe2+

Fe(s)  Fe2+ + 2e-


อิเล็กตรอนสัมผัสกับอากาศและความชื้น เกิดรีดกั ชัน

½ O2(g) + H2O(g) + 2e-  2OH-


ปฏิกิริยารวมของการกัดกร่อน
Fe(s) + ½ O2(g) + H2O(g)  Fe2+ + 2OH-
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การกัดกร่อนและการป้ องกัน

การเกิดสนิมเหล็ก
การเกิดสนิมเหล็กเนื่องจาก CO2
CO2 ละลายนา้ แล้ วเกิด H2CO3 ซึ่งแตกตัวให้ H+
Anode : Fe(s)  Fe2+(aq) + 2e-
Cathode : O2(g) + 4H+(aq) + 4e-  2H2O(l)
4Fe2+(aq) + O2(g) + (4+2n)H2O(l)  2Fe2O3.nH2O(s) + 8H+(aq)
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การกัดกร่อนและการป้ องกัน

การป้ องกันการเกิดสนิม

ป้ องกันไม่ให้พืน้ ผิวของโลหะสัมผัสกับออกซิเจน ความชื้น


หรือสารละลายอิเล็กโทรไลต์
1. การทาสี ทานา้ มัน การรมดา
และการเคลือบพลาสติก
เป็ นการป้องกันการถูกกับ O2 และความชืน้
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การกัดกร่อนและการป้ องกัน

การป้ องกันการเกิดสนิม

2. การเคลือบพืน้ ผิวโลหะด้วยโลหะที่มีความว่องไวมากกว่า
(หรือเป็ นโลหะที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ดีกว่า)
3. ทาการชุบด้วยโลหะ
โลหะบางชนิดมีสมบัติพิเศษ กล่าวคือเมื่อทาปฏิกิริยากับออกซิเจนจะ
เกิดเป็ นออกไซด์ของโลหะเคลือบอยู่บนผิวของโลหะนัน้ และไม่เกิดการผุ
กร่อนอีกต่อไป โลหะที่มีสมบัติดงั กล่าวได้แก่ อลูมิเนี ยม ดีบกุ และ
สังกะสี การชุบ หรือเคลือบโดยโลหะที่ Oxide ของโลหะนัน้ คงตัว
สลายตัวยาก จะเป็ นผิวบางๆ คลุมผิวโลหะอีกที ได้แก่ Cr (โครเมียม)
และอลูมิเนี ยม(Al) เป็ นต้น ดังนัน้ Cr2O3.Al2O3 สลายตัวยาก เรียกชื่อว่า
วิธี อะโนไดซ์ (Anodize)
หมายเหตุ เหล็กกล้าไม่เกิดสนิม (stainless steel) เป็ น Fe ผสม Cr
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การกัดกร่อนและการป้ องกัน

การป้ องกันการเกิดสนิม

4. วิธีแคโทดิก (Cathodic) โดยพันโลหะที่ไม่ ต้องการให้ เกิดสนิมด้ วย


โลหะที่มีศักย์ ไฟฟ้าต่ากว่ า หรื อต่ อเข้ ากับขัว้ ลบของแหล่ งกาเนิด
ไฟฟ้ากระแสตรง โลหะที่มีค่า E๐ ต่ากว่ า และขัว้ ลบของ
แหล่ งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงจะทาหน้ าที่เป็ นแอโนด ส่ วนโลหะ
ที่ไม่ ต้องการให้ เกิดสนิมจะเป็ นแคโทด
การฝั งถุง Mg ตามท่ อ หรื อการผูก Mg ตามโครงเรื อ จะทาให้ Fe
ผุช้าลง เนื่องจาก Mg เสีย e ง่ ายกว่ า Fe จะเสีย e แทน Fe
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การกัดกร่อนและการป้ องกัน

การป้ องกันการเกิดสนิม

4. การป้องกันการผุกร่ อนของโลหะในระบบหล่ อเย็นแบบปิ ด


การทาผิวโลหะด้ วยสารยับยัง้ การสึกกร่ อน
สารบางชนิดมีสมบัตยิ ับยัง้ การสึกกร่ อนของโลหะได้
เกลือโครเมต เมื่อทาบนผิวเหล็กจะทาปฏิกิริยาได้ FeCrO4 เคลือบผิว
เหล็ก ช่ วยป้องกันการสึกกร่ อนได้
เกลือไตรบิวทิลามีนซึ่งอยู่ในรู ปของ(CuHg)3NH+ เมื่อเติมลงไปในหม้ อนา้
รถยนต์ จะเข้ าไปในพืน้ ผิวของโลหะในลักษณะเป็ นแผ่ นฟิ ล์ มบาง ๆ ทาให้
สามารถยับยัง้ การสึกกร่ อนได้
การป้ องกันการผุกร่อนของถังเหล็กโดยใช้ขวั ้ Mg
ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี

ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้
ที่แอโนด Li (s) ------> Li+(s) + e-
ที่แคโทด TiS2(s) + e- -----> TiS2 -(s)
ปฏิกิริยารวม Li(s) + TiS2(s) -----> Li+(s) + TiS2-
(s)
ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี

แอโนด โลหะลิเทียม

แคโทด ไทเทเนียมไดซัลไฟด์

อิเล็กโทรไลต์ สารจาพวกพอลิเมอร์ จงึ


เรี ยกว่า อิเล็กโทรไลต์แข็ง ซึง่ มีสมบัติยอม
ให้ ไอออนผ่านได้ ดี แต่ไม่ยอมให้ อิเล็กตรอน
แบตเตอรี่ อเิ ล็กโทรไลต์ แข็ง ผ่าน
ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี

แบตเตอรี่อิเล็กโทรไลต์แข็ง

ปฏิกริ ิยาที่
เกิดขึน้ แอโนด Li(s) Li+(ในอิเล็กโทรไลต์ แข็ง) + e-

แคโทด TiS2(s) + e- TiS2-(s)

ปฏิกริ ิยารวม Li(s) + TiS2(s) Li+(ในอิเล็กโทรไลต์ แข็ง) + TiS2-(s)

เซลล์ชนิดนี้ มีศกั ย์ไฟฟ้ าประมาณ 3 โวลต์ และเป็ นเซลล์ทตุ ิ ยภูมิ


ข้อดีคือไม่ต้องเติมน้ากลัน่
แต่ราคายังแพงเมื่อเปรียบเทียบกับเซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่
ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี

แบตเตอรี่อากาศ

ตัวออกซิไดส์
ออกซิเจนในอากาศ
ตัวรี ดวิ ซ์
สังกะสี หรื อะลูมีเนียม
อิเล็กโทรไลต์
สารละลาย NaOH เข้ มข้ น
ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี

แบตเตอรี่อากาศ

ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ ในเซลล์
แอโนด Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-
แคโทด O2(g) + 4e- 2O2-(g)
ปฏิกิริยารวม 2Zn(s) + O2(g) 2ZnO(s)
เมื่อนาแบตเตอรี่ ไปประจุไฟ แก๊ สออกซิเจนจะถูกปล่ อยออก
จากแบตเตอรี่ ส่ วนซิงค์ ออกไซด์ จะถูกรี ดวิ ซ์ ไปเป็ นสังกะสี
ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี
การทาอิเล็กโทรไดอะลิซิสน้าทะเล

เซลล์ อเิ ล็กโทรไลต์ ท่ ีใช้ แยกไอออนออกจากสารละลาย


ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมี

การทาอิเล็กโทรไดอะลิซิสน้าทะเล

ประโยชน์
ใช้แยกไอออนออกจากสารละลาย
โดยให้ไอออนผ่านเยื่อบาง ๆ ไปยังขัว้ ไฟฟ้ า
ที่มีประจุตรงกันข้าม
ทาให้สารละลายที่อยู่ระหว่างขัว้ ไฟฟ้ าทัง้ สอง
มีจานวนไอออนลดน้ อยลง
หลักการนี้ สามารถนาไปใช้แยกโซเดียมไอออน
และคลอไรด์ไอออนออกจากน้าทะเลได้ ทาให้น้าทะเลกลายเป็ นน้าจืด

You might also like