You are on page 1of 30

สนามสอบสามัญ

วิชาสามัญเคมี
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.
ข้อสอบโดย : สถาบันกวดวิชา OnDemand
ชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ
สถานที่สอบ ห้องสอบ

กรุณาอ่านค�ำอธิบายให้เข้าใจ ก่อนลงมือท�ำข้อสอบ
1. ลักษณะแบบทดสอบ ข้อสอบจ�ำนวน 45 ข้อ (คะแนนเต็ม 100 คะแนน)
2. ก่อนตอบค�ำถามให้เขียนชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ สถานที่สอบ และห้องสอบ
บนหน้าปกข้อสอบ
3. ให้เขียนชื่อ-นามสกุล ข้อมูลส่วนบุคคลและที่นั่งสอบในกระดาษค�ำตอบ
และตรวจสอบเลขที่นั่งว่าตรงกับบัตรประจ�ำตัวผู้เข้าสอบ
4. ใช้ดินสอด�ำเบอร์ 2B ระบายวงกลมตัวเลือกในกระดาษค�ำตอบให้เต็มวง
(ห้ามระบายนอกวง) ถ้าต้องการเปลี่ยนตัวเลือกใหม่ต้องลบให้สะอาดจน
หมดรอยด�ำแล้วจึงระบายวงกลมตัวเลือกใหม่
5. เมื่อสอบเสร็จให้วางกระดาษค�ำตอบไว้ด้าน บนข้อสอบ
6. ห้ามน�ำกระดาษค�ำตอบออกจากห้องสอบ
7. ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าสอบออกจากห้องสอบก่อนหมดเวลาสอบ
8. ไม่อนุญาตให้ผู้คุมสอบเปิดอ่านข้อสอบ

เอกสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท ออนดีมานด์ เอ็ดดูเคชัน จ�ำกัด


การท�ำซ�้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่เอกสารดังกล่าว จะถูกด�ำเนินคดีตามกฎหมาย
ค�ำชี้แจง
วิชาสามัญเคมี
รายละเอียดแบบทดสอบ จ�ำนวน 45 ข้อ คะแนนเต็ม 100 คะแนน
ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก จ�ำนวน 40 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน
ตอนที่ 2 แบบอัตนัย ระบายค�ำตอบที่เป็นตัวเลข จ�ำนวน 5 ข้อ ข้อละ 4 คะแนน

ก�ำหนดให้
มวลอะตอม
H = 1 C = 12 N = 14 Ne = 20
O = 16 Na = 23 Mg = 24 S = 32
K = 39 Cl = 35.5 Mn = 55 Cu = 63.5
I = 127

log 2 = 0.3 log 3 = 0.5 log 5 = 0.7

ค่าคงที่ของแก๊ส R = 0.082 L·atm/mol·K
เคมีสามัญ หน้า 3
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 ค�ำตอบที่ถูกที่สุด จ�ำนวน 40 ข้อ (ข้อ 1-40)


ข้อละ 2 คะแนน รวม 80 คะแนน
1. การสลายตัวของไอโซโทปโพแทสเซียม-40 มีอัตราการสลายตัวอย่างช้า ๆ ไปเป็นอาร์กอน-40
ซึ่งการสลายตัวนี้เป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง มีครึ่งชีวิต 1.27 × 109 ปี ถ้าวัตถุชิ้นหนึ่งมีอัตราส่วน
โดยมวลของไอโซโทปกัมมันตรังสีของ 40Ar : 40K เป็น 3 วัตถุชิ้นนี้มีอายุกี่พันล้านปี
1. 1.27
2. 1.90
3. 2.03
4. 2.54
5. 5.08

2. ธาตุสมมติ A, D, E, G และ J อยู่ในคาบที่ 2 โดยสารประกอบของธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติ


เป็นดังตาราง
สารประกอบ จุดหลอมเหลว (oC) จุดเดือด (oC) การละลายน�้ำ ความเป็นกรด-เบส
ACl2 399 482 ละลายน�้ำ กรด
ละลายน�้ำ
DCl3 -40 71 กรด
น้อยมาก
E2O 1,438 2,600 ละลายน�้ำ เบส
G2O -223.8 -144.8 ละลายน�้ำ กรด
J2O3 450 1,860 ไม่ละลายน�้ำ กรด

ข้อใดผิด
1. D อยู่หมู่เดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอม 15
2. A มีพลังงานไอออไนเซชันน้อยกว่า J
3. J เป็นธาตุกึ่งโลหะเช่นเดียวกับธาตุอาร์เซนิก
4. สารประกอบไฮไดรด์ของ D มีจุดเดือดต�่ำกว่าสารประกอบไฮไดรด์ของ E
5. รัศมีอะตอมของ G เล็กกว่าอะตอมของ J
เคมีสามัญ หน้า 4
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

3. พิจารณาข้อความเกี่ยวกับธาตุ X ซึ่งมีเลขอะตอม 24 และมวลอะตอม 52 ต่อไปนี้


ก. ที่สภาวะพื้นธาตุ X มีจ�ำนวนอิเล็กตรอนเดี่ยวเท่ากับ 6
ข. แก๊สเฉื่อยที่อยู่ในคาบเดียวกับธาตุ X มีเลขอะตอมเท่ากับ 18
ค. ธาตุ X มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับธาตุที่มีเลขอะตอม 37
ง. มี 28 นิวตรอน
ข้อใดถูกต้อง
1. ก. และ ข.
2. ก. และ ค. เท่านั้น
3. ข. และ ง. เท่านั้น
4. ก., ค. และ ง.
5. ข., ค. และ ง.
เคมีสามัญ หน้า 5
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

4. ก�ำหนดแผนภาพและพลังงานบางชนิดที่เกี่ยวข้องในการเกิดสารประกอบ CaO(s) ดังนี้

Ca2+(g) + O2-(g)

Ca2+(g) + O(g) + 2e- +798 kJ/mol


-141 kJ/mol
+1145 kJ/mol Ca2+(g) + O-(g) + e-
Ca+(g) + O(g) + e-
+590 kJ/mol
Ca(g) + O(g) ΔHlattice

Ca(g) + 12 O2(g)
+178 kJ/mol
Ca(s) + 12 O2(g)
-635 kJ/mol
CaO(s)

ถ้า ΔHlattice มีค่าเท่ากับ -3,454 kJ/mol แล้ว พลังงานในการสลายพันธะของแก๊สออกซิเจน


1 โมลมีค่าตรงกับข้อใด
1. 71 kJ/mol
2. 249 kJ/mol
3. 498 kJ/mol
4. 670.5 kJ/mol
5. 1,341 kJ/mol
เคมีสามัญ หน้า 6
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

5. ก�ำหนดค่าพลังงานพันธะดังนี้
ชนิดของพันธะ C-H C-C C-O O-H O=O C=O
พลังงานพันธะ
412 348 360 463 496 743
(kJ/mol)

ปฏิกิริยาการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของ C2H5OH(g) กับแก๊สออกซิเจนในอากาศ ได้ผลิตภัณฑ์


เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และไอน�้ำ ถ้า C2H5OH(g) 23 กรัม เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้
อย่างสมบูรณ์จะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานดังข้อใด
1. ดูดพลังงาน 515.5 kJ
2. คายพลังงาน 515.5 kJ
3. คายพลังงาน 873 kJ
4. ดูดพลังงาน 1,031 kJ
5. คายพลังงาน 1,031 kJ

6. การดึงอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวจ�ำนวน 1 คู่ ออกจากอะตอมกลางของสารประกอบฟลูออไรด์ของ


ธาตุ A, D, E และ G ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างโมเลกุลได้รูปร่างใหม่ดังนี้
สารประกอบ รูปร่างโมเลกุลใหม่
AF4 ทรงสี่หน้า
DF5 พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม
EF3 สามเหลี่ยมแบนราบ
GF4 ทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว

โดยธาตุ A, D, E และ G อยู่ในกลุ่มของธาตุเรพรีเซนเททีฟ


จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดเรียงล�ำดับจ�ำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุ A, D, E และ G ได้ถูกต้อง
1. G > A > D > E
2. G > D > A > E
3. D > G > A > E
4. D > G > A > E
5. E > A > G > D
เคมีสามัญ หน้า 7
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

7. ธาตุ A, D, E, G และ J มีสมบัติดังต่อไปนี้


ธาตุ สมบัติของธาตุ
A ไอโซโทปหนึ่งของธาตุ A ไม่มีนิวตรอน
D มีการจัดเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็น 2s2 2p4
E อยู่ในคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับ 3479Se
G อยู่ในคาบที่ 3 และมี IE1 < IE2 < IE3 < IE4 < IE5 << IE6 < IE7
J อยู่ในคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงที่สุด

ข้อใดถูกต้อง
1. EJ6 เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว แต่ GA3 และ ED3 เป็นโมเลกุลมีขั้ว
2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของ A2D มีค่าน้อยกว่า A2E
3. โครงสร้างลิวอิสของ ED2 และ GJ3 ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
4. มุมระหว่างพันธะในโมเลกุล DJ2 ใหญ่กว่าในโมเลกุล A2D
5. จ�ำนวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่อะตอมกลางของ GDJ3 มี 1 คู่

8. พิจารณาสารประกอบของธาตุสมมติ A ต่อไปนี้
C3H6A6 C5H12A2 C9H13A
เมื่อวิเคราะห์สารประกอบ C9H13A พบว่ามีร้อยละโดยมวลของธาตุ C เท่ากับ 80.0
ข้อใดเรียงล�ำดับร้อยละโดยมวลของธาตุ A ในสารประกอบทั้ง 3 ชนิดจากน้อยไปมากได้ถูกต้อง
1. C3H6A6 C5H12A2 C9H13A
2. C5H12A2 C3H6A6 C9H13A
3. C5H12A2 C9H13A C3H6A6
4. C9H13A C3H6A6 C5H12A2
5. C9H13A C5H12A2 C3H6A6
เคมีสามัญ หน้า 8
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

9. ในการเตรียมด่างทับทิม (KMnO4) จาก MnO2 สามารถเตรียมได้ดังนี้


MnO2 + KOH + O2 K2MnO4 + H2O (สมการยังไม่ดุล)
K2MnO4 + CO2 + H2O KMnO4 + KHCO3 + MnO2 (สมการยังไม่ดุล)
ปฏิกิริยาแต่ละขั้นมีผลได้ร้อยละ 100 ถ้าต้องการเตรียม KMnO4 23.7 กรัม จะต้องใช้ KOH
กี่กรัม
1. 8.40
2. 16.8
3. 25.2
4. 33.6
5. 50.4

10. นักเรียนคนหนึ่งเตรียมสารละลายตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 ชั่งโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) มวล 29.25 กรัม แล้วใส่ลงในบีกเกอร์ขนาด
500.0 มิลลิลิตร
ขั้นที่ 2 เติมน�้ำกลั่น 100.0 มิลลิลิตรลงในบีกเกอร์ คนให้สารละลาย
ขั้นที่ 3 เทสารละลายในขั้นที่ 2 ลงในขวดก�ำหนดปริมาตรขนาด 500.0 มิลลิลิตร
จากนั้นเติมน�้ำกลั่นลงไปจนถึงขีดบอกปริมาตร
ขั้นที่ 4 แบ่งสารละลายในขั้นที่ 3 มา 200.0 มิลลิลิตร แล้วใส่ลงในขวดก�ำหนดปริมาตร
ขนาด 500.0 มิลลิลิตรอีกใบหนึ่ง
ขั้นที่ 5 เติมสารละลายแบเรียมคลอไรด์ (BaCl2) เข้มข้น 2.00 โมลต่อลิตร ปริมาตร
200.0 มิลลิลิตร แล้วเติมน�้ำกลั่นจนถึงขีดบอกปริมาตร
สารละลายที่นักเรียนคนนี้เตรียมได้มีความเข้มข้นของคลอไรด์ไอออนร้อยละเท่าใดโดยมวล
ต่อปริมาตร
1. 1.20
2. 2.00
3. 4.26
4. 6.39
5. 7.10
เคมีสามัญ หน้า 9
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

11. เมื่อละลายน�้ำตาลกลูโคส (C6H12O6) ปริมาณ 360 กรัมในของเหลว A 500 กรัม พบว่า


สารละลายกลูโคสมีจุดเยือกแข็งเป็น -20 องศาเซลเซียส หากต้องการเตรียมสารละลาย
ฟรักโทสที่มีจุดเยือกแข็งเท่ากับ -28 องศาเซลเซียส โดยใช้ของเหลว A 250 กรัม จะต้องใช้
น�้ำตาลฟรักโทส (C6H12O6) กี่กรัม
(ก�ำหนดให้ จุดเยือกแข็งของของเหลว A เท่ากับ -4 องศาเซลเซียส)
1. 45.0 กรัม
2. 100 กรัม
3. 180 กรัม
4. 210 กรัม
5. 270 กรัม

12. ของผสมชนิดหนึ่งประกอบด้วย Na2CO3 และ NaHCO3 เมื่อท�ำการเผา NaHCO3


จะเกิดปฏิกิรยิ าดังสมการ
2NaHCO3(s) Δ Na2CO3(s) + CO2(g) + H2O(g)
หากน�ำของผสมมวล 50 กรัม มาท�ำการเผาจนปฏิกิริยาเกิดอย่างสมบูรณ์ แล้ววัดมวลของ
ของผสมหลังจากเผาได้ 34.5 กรัม ของผสมชนิดนี้มี Na2CO3 ร้อยละเท่าใดโดยมวล
1. 8
2. 16
3. 36
4. 64
5. 84
เคมีสามัญ หน้า 10
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

13. ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นดังสมการ
H2S(g) + NaOH(aq) Na2S(aq) + H2O(l) (สมการยังไม่ดุล)
โดยกระบวนการนี้ให้ผลได้ร้อยละ 92 ถ้าเริ่มต้นด้วยแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ 1.25 กรัม ผ่านลงใน
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 0.200 โมลาร์ ปริมาตร 250 มิลลิลิตร จะเกิด
โซเดียมซัลไฟด์หนักกี่กรัม
1. 1.79
2. 1.95
3. 2.64
4. 3.59
5. 3.90

14. ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน น�ำแก๊สผสมซึ่งประกอบด้วยแก๊สไนโตรเจน (N2) และ


แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) หนัก 12.8 กรัม ผ่านลงไปในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
ที่มากเกินพอ พบว่าเหลือแก๊สอยู่ 8.4 กรัม แก๊สผสมนี้ประกอบด้วย CO2 ร้อยละเท่าใด
โดยปริมาตร
1. 25.0
2. 34.0
3. 65.0
4. 75.0
5. 80.0

15. ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ข้อใดเรียงล�ำดับแก๊สที่มีความหนาแน่นจากมากไปน้อยได้ถูกต้อง


1. แก๊สนีออน แก๊สออกซิเจน แก๊สมีเทน แก๊สไนโตรเจน
2. แก๊สนีออน แก๊สมีเทน แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน
3. แก๊สมีเทน แก๊สนีออน แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน
4. แก๊สออกซิเจน แก๊สไนโตรเจน แก๊สนีออน แก๊สมีเทน
5. แก๊สออกซิเจน แก๊สไนโตรเจน แก๊สมีเทน แก๊สนีออน
เคมีสามัญ หน้า 11
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

16. ก�ำหนดให้แก๊ส A มีมวลต่อโมล 25 กรัมต่อโมล และแก๊ส B มีมวลต่อโมล 9 กรัมต่อโมล


ท�ำปฏิกิริยากันได้ของแข็ง C เป็นผลิตภัณฑ์เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ถ้าปล่อยแก๊ส A และแก๊ส B
จากปลายหลอดแก้วแต่ละด้าน ซึ่งหลอดแก้วยาว 40 เซนติเมตร แล้วบริเวณที่แก๊สทั้งสอง
ท�ำปฏิกิริยากันห่างจากปลายหลอดแก้วด้านที่ปล่อยแก๊ส B กี่เซนติเมตร
1. 10
2. 15
3. 20
4. 25
5. 30

17. สาร X สามารถสลายตัวได้ดังสมการ 3X 5Y + 6Z เมื่อวัดความเข้มข้นของสาร X


ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาการสลายตัวพบว่าได้ข้อมูลดังกราฟต่อไปนี้

1.00

0.90
ความเข้มข้นของ X
0.80
(mol/dm3)
0.70

0.60 เวลา (วินาที)


0 10 20 30 40 50
ข้อใดถูกต้อง
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของ X
2. อัตราการสลายตัวเฉลี่ยในช่วง 0-10 s มีค่าต�่ำกว่าในช่วง 10-20 s
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยตลอดการทดลองเท่ากับ 3.0 × 10-3 mol/dm3·s
4. อัตราการเกิดสาร Z เฉลี่ยตลอดการทดลองเท่ากับ 0.0144 mol/dm3·s
5. อัตราการเกิดสาร Y เป็น 1.2 เท่าของอัตราการเกิดสาร Z
เคมีสามัญ หน้า 12
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

18. จากการศึกษาปฏิกิริยา A(aq) + B(aq) P(aq) เมื่อท�ำการจับเวลาที่ใช้ในการเกิดสาร P


ให้ได้ความเข้มข้น 0.01 โมลาร์ ได้ผลดังตาราง
ความเข้มข้นเริ่มต้น (mol/dm3) สาร X อุณหภูมิ เวลาที่ใช้ในการ
การทดลองที่
สาร A สาร B (g) (oC) เกิดปฏิกิริยา (s)
1 0.10 0.10 - 25 40
2 0.10 0.10 - 45 y
3 0.10 0.10 0.01 25 5
4 0.10 0.20 - 25 10
5 0.20 0.10 - 25 20

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของสาร A และสาร B
ข. สาร X ท�ำให้พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
ค. เมื่อความเข้มข้นของสาร B เพิ่มเป็น 2 เท่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มเป็น 2 เท่า
ง. ค่า y ในการทดลองที่ 2 มีค่ามากกว่า 40
ข้อใดผิด
1. ข. เท่านั้น
2. ข. และ ง. เท่านั้น
3. ค. และ ง. เท่านั้น
4. ก., ข. และ ค.
5. ข., ค. และ ง.
เคมีสามัญ หน้า 13
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

19. ปฏิกิริยา A D เป็นปฏิกิริยาที่เกิดผ่านขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้


พลังงานก่อกัมมันต์ พลังงานของปฎิกิริยา
ขั้นที่ สมการเคมี
(kJ/mol) (kJ/mol)
1 A B 300 +100
2 B C 100 -50
3 C D 200 -95

หากอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ปฏิกิริยารวม A D จะเกิดได้ต้องให้ความร้อนเข้าไป 600 kJ/mol
2. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยา A D จะเกิดได้ช้าลงเพราะเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
3. ปฏิกิริยาในขั้นที่ 2 เกิดได้ช้าสุด เนื่องจากพลังงานของปฏิกิริยามีค่าน้อยที่สุด
4. เรียงล�ำดับพลังงานของสารจากมากไปน้อย : สาร C > สาร B > สาร A > สาร D
5. พลังงานของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยารวมมีค่าต่างกัน 45 kJ/mol

20. ค่าคงที่สมดุลการละลายของ Z(OH)2(s) ? Z2+(aq) + 2OH-(aq) มีค่าเท่ากับ 8.00 × 10-6


ที่อุณหภูมิ 25 oC ค่า pH ของสารละลายอิ่มตัวของ Z(OH)2 ที่อุณหภูมินี้มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. 10.5
2. 11.3
3. 11.7
4. 12.1
5. 12.4
เคมีสามัญ หน้า 14
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

21. ก�ำหนดสมการเคมีและค่าคงที่สมดุล (K) ของปฏิกิริยา ดังนี้


4NH3(g) + 3O2(g) ? 2N2(g) + 6H2O(g) K = k1
N2(g) + O2(g) ? 2NO(g) K = k2
2NOCl(g) ? 2NO(g) + Cl2(g) K = k3
ปฏิกิริยาต่อไปนี้มีค่าคงที่สมดุลเท่ากับเท่าใด
4NH3(g) + 5O2(g) + 2Cl2(g) ? 4NOCl(g) + 6H2O(g)

k1k22 k1k22
1. 2.
k23 k3
k1k2 k2 k1
3. 4. k
k3 3

k1k2
5. k3

22. บรรจุแก๊ส CO และ H2 ที่อุณหภูมิค่าหนึ่งพบว่าปฏิกิริยาเกิดดังสมการ


CO(g) + H2(g) ? CH4(g) + H2O(g) + พลังงาน (สมการยังไม่ดุล)
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. การลดปริมาตรของระบบสมดุลจะไม่เปลี่ยนแปลง
ข. การเพิ่มอุณหภูมิจะท�ำให้เกิดไอน�้ำเพิ่มมากขึ้น
ค. การเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไปในระบบ ท�ำให้เกิด CH4 เพิ่มขึ้น
ง. การเพิ่มแก๊ส H2 จะท�ำให้ปฏิกิริยาไปทางขวามากขึ้น
ข้อใดผิด
1. ก. และ ข. เท่านั้น
2. ข. และ ค. เท่านั้น
3. ค. และ ง. เท่านั้น
4. ก., ข. และ ค.
5. ก., ค. และ ง.
เคมีสามัญ หน้า 15
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

23. โมเลกุลหรือไอออนในข้อใดสามารถท�ำหน้าทีเ่ ป็นได้ทงั้ กรดและเบสตามทฤษฎีของเบรินสเตด-ลาวรี


ทั้งหมด
1. OH- และ HPO42-
2. HSO4- และ H2CO3
3. NH3 และ H3O+
4. HS- และ H2O
5. HCO3- และ NH4+

24. สารละลายเบสอ่อน BOH เข้มข้น 2.00 mol/dm3 ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 25 oC มีรอ้ ยละการแตกตัวของเบส
เท่ากับ 0.500 แล้วสารละลายเบสอ่อน BOH เข้มข้น 0.500 mol/dm3 ที่อุณหภูมิ 25 oC
มีค่า pH เท่ากับเท่าใด (ก�ำหนดให้ log 2 = 0.3 และ log 5 = 0.7)
1. 2.30
2. 3.70
3. 11.4
4. 11.7
5. 12.3

25. สารละลายผสมระหว่างสารละลาย A และสารละลาย B ในข้อใดเป็นสารละลายบัฟเฟอร์ที่มี pH


มากที่สุด
ก�ำหนดให้ Ka ของ HCN = 4.9 × 10-10
Ka ของ HCO3- = 4.8 × 10-11
Ka ของ CH3COOH = 1.8 × 10-5
Kb ของ NH3 = 1.8 × 10-5
สารละลาย A สารละลาย B
1. HCN 0.10 mol/dm3 ปริมาตร 100.0 mL NaCN 0.50 mol/dm3 ปริมาตร 100.0 mL
2. NaOH 0.20 mol/dm3 ปริมาตร 150.0 mL NH4Cl 0.50 mol/dm3 ปริมาตร 50.0 mL
3. NaHCO3 0.20 mol/dm3 ปริมาตร 30.0 mL Na2CO3 0.10 mol/dm3 ปริมาตร 40.0 mL
4. NH3 0.10 mol/dm3 ปริมาตร 50.0 mL HCl 0.10 mol/dm3 ปริมาตร 100.0 mL
5. CH3COOH 0.50 mol/dm3 ปริมาตร 100.0 mL NaOH 0.20 mol/dm3 ปริมาตร 50.0 mL
เคมีสามัญ หน้า 16
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

26. พิจารณาช่วง pH และการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ต่อไปนี้


อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สีในกรด สีในเบส
ไทมอลบลู 1.2-2.8 แดง เหลือง
โบรโมฟีนอลบลู 3.0-4.6 เหลือง น�้ำเงิน
เมทิลเรด 4.2-6.3 แดง เหลือง

เมื่อน�ำสารละลาย Ca(OH)2 เข้มข้น 1.0 × 10-3 โมลาร์ ปริมาตร 25.0 มิลลิลิตร มาผสมกับ
สารละลาย HNO3 100.0 มิลลิลิตร มีความเข้มข้นค่าหนึ่ง แล้วปรับปริมาตรด้วยน�้ำกลั่น
จนสารละลายผสมเป็น 200.0 มิลลิลิตร พบว่าสารละลายผสมที่ได้มี pH เท่ากับ 10.0
ถ้าน�ำสารละลาย HNO3 ที่มีความเข้มข้นข้างต้นมาหยดด้วยอินดิเคเตอร์ชนิดต่าง ๆ แล้วสีของ
สารละลายแต่ละอินดิเคเตอร์จะเป็นดังข้อใด
(ก�ำหนดให้ log 2 = 0.3, log 3 = 0.5 และ log 5 = 0.7)
สีของสารละลายเมื่อหยดอินดิเคเตอร์
ไทมอลบลู โบรโมฟีนอลบลู เมทิลเรด
1. แดง เหลือง แดง
2. ส้ม เหลือง แดง
3. เหลือง เขียว แดง
4. เหลือง เขียว ส้ม
5. เหลือง น�้ำเงิน ส้ม
เคมีสามัญ หน้า 17
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

27. ปฏิกิริยารีดอกซ์ในข้อใดที่อะตอมในตัวถูกรีดิวซ์มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันมากที่สุด
1. MnO2 + 2KBr + 2H2SO4 MnSO4 + K2SO4 + 2H2O + Br2
2. 2Fe(OH)3 + 3OCl -
2FeO4 + 3Cl- + 4H+ + H2O
2-

3. K2Cr2O7 + 14HCl 2CrCl3 + 3Cl2 + 7H2O + 2KCl


4. 3CaCr2O7 + 14H3PO4 + 6AlBr3 Ca3(PO4)2 + 6CrPO4 + 6AlPO4 + 21H2O + 9Br2
5. 2MnO4 + 5H2C2O4 + 6H3O
- +
2Mn2+ + 10CO2 + 14H2O

28. ก�ำหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันของโลหะ A, B, D, E และ Q ดังนี้


A2+(aq) + 2e- A(s) E0 = -2.37 V
B3+(aq) + 3e- B(s) E0 = -1.66 V
D2+(aq) + 2e- D(s) E0 = -1.18 V
E2+(aq) + 2e- E(s) E0 = -0.40 V
Q2+(aq) + 2e- Q(s) E0 = -0.23 V
หากท�ำการติดตั้งท่อกลางแจ้งที่ท�ำจากโลหะชนิดหนึ่งโดยมัดด้วยโลหะต่างชนิดกัน เมื่อเวลา
ผ่านไปท่อโลหะในข้อใดจะเกิดการผุกร่อน
1. ท่อโลหะ A ที่ถูกมัดด้วยโลหะ B
2. ท่อโลหะ E ที่ถูกมัดด้วยโลหะ D
3. ท่อโลหะ D ที่ถูกมัดด้วยโลหะ B
4. ท่อโลหะ Q ที่ถูกมัดด้วยโลหะ E
5. ท่อโลหะ Q ที่ถูกมัดด้วยโลหะ A
เคมีสามัญ หน้า 18
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

29. พิจารณาผลการทดลองเมื่อจุ่มแผ่นโลหะลงในสารละลายไอออนบวกของโลหะ ดังตาราง


โลหะ สารละลายไอออนบวกของโลหะ ผลการทดลอง
Ni Pb2+ โลหะเกิดการผุกร่อน
Cr Al3+ ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
Pb Cu2+ โลหะเกิดการผุกร่อน
Cu Ni2+ ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
Ni Cr3+ ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

แผนภาพเซลล์ในข้อใดต่อไปนี้สามารถเกิดปฏิกิริยาได้เองและมีศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์
มากที่สุด
1. Al(s) | Al3+(aq, 1M) || Ni2+(aq, 1M) | Ni(s)
2. Pb(s) | Pb2+(aq, 1M) || Al3+(aq, 1M) | Al(s)
3. Al(s) | Al3+(aq, 1M) || Cu2+(aq, 1M) | Cu(s)
4. Cr(s) | Cr3+(aq, 1M) || Pb2+(aq, 1M) | Pb(s)
5. Cu(s) | Cu2+(aq, 1M) || Cr3+(aq, 1M) | Cr(s)
เคมีสามัญ หน้า 19
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

30. ก�ำหนดให้ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันที่ 298 K ดังนี้


ครึ่งเซลล์รีดักชัน E0 (V)
Fe2+(aq) + 2e- Fe(s) -0.45
Zn2+(aq) + 2e- Zn(s) -0.76
Ca2+(aq) + 2e- Ca(s) -2.76

โลหะผสมชนิดหนึง่ ประกอบด้วยธาตุ 3 ชนิด ได้แก่ Fe, Zn และ Ca หากต้องการท�ำให้โลหะ Zn


มีความบริสุทธิ์ โดยการใช้เซลล์อิเล็กโทรลิติก ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ถูกต้อง
1. ที่ขั้วแอโนดต่อเข้ากับโลหะผสมและที่ขั้วแคโทดต่อเข้ากับโลหะ Zn บริสุทธิ์
2. สารละลายที่ใช้ส�ำหรับท�ำการทดลองนี้คือสารละลาย Zn2+
3. Zn และ Ca จะจ่ายอิเล็กตรอนกลายเป็นไอออนปนอยู่ในสารละลาย
4. ที่ก้นภาชนะจะมีตะกอนของ Fe
5. ต้องใช้แหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าที่มีศักย์ไฟฟ้ามากกว่า 0.76 V ที่ภาวะมาตรฐาน เพื่อให้ได้โลหะ
Zn บริสุทธิ์

31. ไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง 0.5 mol เมื่อถูกเผาไหม้อย่างสมบูรณ์จะใช้ออกซิเจน 3.75 mol และ


ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 2.5 mol จ�ำนวนไอโซเมอร์โครงสร้างของไฮโดรคาร์บอนชนิดนี้
ที่ไม่สามารถฟอกจางสีสารละลาย KMnO4 มีกี่ไอโซเมอร์
1. 2
2. 3
3. 4
4. 5
5. มากกว่า 5
เคมีสามัญ หน้า 20
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

32. ไอโอดีน (I2) ที่อยู่ในสารละลายทิงเจอร์ไอโอดีนสามารถเกิดปฏิกิริยาการเติมได้เช่นเดียวกับ


โบรมีน จึงสามารถน�ำมาใช้เป็นรีเอเจนต์ในการเปรียบเทียบความไม่อิ่มตัวในน�้ำมันได้
พิจารณาโครงสร้างของน�้ำมันชนิดหนึ่งดังรูป
O
O O C17H33

O O C17H31
O C17H29

ก�ำหนดให้ มวลต่อโมลของน�้ำมันนี้เท่ากับ 879 กรัมต่อโมล


ถ้าน�ำน�้ำมันชนิดนี้มาหยดสารละลายทิงเจอร์ไอโอดีนเข้มข้น 80% โดยมวลต่อปริมาตร พบว่า
ต้องใช้สารละลายทิงเจอร์ไอโอดีน 95.25 cm3 จึงท�ำให้สารละลายทิงเจอร์ไอโอดีนไม่จางหายไป
น�้ำมันที่น�ำมาท�ำปฏิกิริยานี้มีน�้ำหนักกี่กรัม
1. 43.95
2. 65.93
3. 87.90
4. 131.8
5. 263.7
เคมีสามัญ หน้า 21
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

33. การทดลองแยกสารผสมของสารอินทรีย์ 3 ชนิดที่ไม่ละลายน�้ำ ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้


NH2 OH
O2N
4-nitroaniline naphthalen-2-ol naphthalene
โดยใช้วิธีสกัดด้วยตัวท�ำละลายที่เหมาะสม มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 สกัดด้วยตัวท�ำละลาย CH2Cl2 กับ 10% HCl แล้วน�ำชั้นน�้ำมาสะเทินด้วย
10% NaOH จะได้ตะกอนสีเหลือง
ขั้นตอนที่ 2 น�ำชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์จากขั้นตอนที่ 1 มาสกัดต่อด้วย 10% NaOH
แล้วน�ำชั้นน�้ำมาสะเทินด้วย 10% HCl จะได้ตะกอนสีขาว
ขั้นตอนที่ 3 น�ำชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์จากขั้นตอนที่ 2 มาระเหยจนแห้ง จะได้ของแข็งสีขาว
ก�ำหนดให้ ความหนาแน่นของ CH2Cl2 = 1.33 กรัมต่อมิลลิลิตร
ข้อใดแสดงผลการทดลองได้ถูกต้อง
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3
ชั้นน�้ำ: naphthalene ชั้นน�้ำ: naphthalen-2-ol
ได้สาร
1. ชั้นตัวท�ำละลาย: 4-nitroaniline ชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์: 4-nitroaniline
และ naphthalen-2-ol 4-nitroaniline ออกมา
ชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์: naphthalene ชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์: naphthalen-2-ol
ได้สาร
2. ชั้นน�้ำ: 4-nitroaniline ชั้นน�้ำ: 4-nitroaniline naphthalen-2-ol
ออกมา
ชั้นน�้ำ: 4-nitroaniline ชั้นน�้ำ: naphthalen-2-ol
ได้สาร
3. ชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์: naphthalen-2-ol ชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์: naphthalen naphthalene
และ naphthalene
ออกมา
ชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์: naphthalene ชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์: naphthalen
ได้สาร
4. ชั้นน�้ำ: 4-nitroaniline ชั้นน�้ำ: naphthalen-2-ol naphthalene
ออกมา
ชั้นน�้ำ: naphthalen-2-ol ชั้นน�้ำ: 4-nitroaniline
ได้สาร
5. ชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์: 4-nitroaniline ชั้นตัวท�ำละลายอินทรีย์: naphthalen naphthalene
และ naphthalene
ออกมา
เคมีสามัญ หน้า 22
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

34. พิจารณาปฏิกิริยาของสาร X, Y และ Z ต่อไปนี้


X + CH3OH ? H+ C H O + H O
8 8 2 2
Δ
Y + 6O2 3CO2 + 4H2O + 2CO + 2C
Z + 2Br2 C4H6Br4
สาร X, Y และ Z ควรเป็นสารใดตามล�ำดับ

O H

1. OH , ,

O
O H

2. , ,
O
OH
3. , ,

O H

4. OH , ,
O
OH
5. , ,
เคมีสามัญ หน้า 23
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

35. พิจารณาแผนภาพต่อไปนี้

สาร A
HCl(aq)/Δ
ether H2O
สาร B สาร C
สาร D/H+ NaOH (aq)
methyl heptanoate สาร E
สาร F
N-methylbutanamide
ข้อใดถูกต้อง
1. สาร A มีจุดเดือดต�่ำกว่า methyl heptanoate
2. สาร F มีหมู่ฟังก์ชันเช่นเดียวกับ pentan-2-amine
3. สาร D และสาร E เป็นสารตัวเดียวกัน
4. CH3(CH2)5CONH2 เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในภาวะเบสจะได้สาร B
5. ต้มสาร D และ F ในกรดได้ methyl butanoate
เคมีสามัญ หน้า 24
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

36. สารกลุ่มแลคโตน (lactone) ถูกสังเคราะห์ผ่านปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน โดยใช้กรด


เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ดังสมการ

OH H+
? A+B
O
O
ก�ำหนดให้ มวลต่อโมลของสาร A มากกว่าสาร B
ข้อใดถูกต้อง
1. สาร B มีจุดเดือด 100 องศาเซลเซียส
2. สาร A มีหมู่ฟังก์ชันเช่นเดียวกันกับ acetylene
3. การเกิดปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันส่งผลให้สาร A สามารถละลายน�้ำได้ดี
4. สาร A เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในกรดจนสมบูรณ์ได้ผลิตภัณฑ์เพียง 1 ชนิด
5. สาร A และ B สามารถฟอกจางสีสารละลายโบรมีนในที่มืดได้

37. พอลิเมอร์ในข้อใดเกิดจากมอนอเมอร์เพียงชนิดเดียว

Cl Cl
1. n
2.
Cl n

O H H H
3. N O NH 4. N O N
n n

O H
5. N N O O
H O
n
เคมีสามัญ หน้า 25
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

38. พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างดังข้อใดไม่สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ

O
1. O
n

O
2. O
n

O
3. O
n
O
O
4.
n

O
5. O O
O
n
เคมีสามัญ หน้า 26
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

39. พิจารณาโครงสร้างของมอนอเมอร์ของพอลิอะคริลิกแอซิดต่อไปนี้

OH
O

ข้อใดเป็นสารเคมีที่เหมาะสมต่อการน�ำมาพัฒนาสมบัติของพอลิอะคริลิกแอซิดจนเกิดโครงสร้าง
แบบร่างแห ส่งผลให้ไม่ละลายน�้ำแต่อุ้มน�้ำได้ เพื่อน�ำไปผลิตเป็นไฮโดรเจลที่ใช้ท�ำผ้าอ้อม
ส�ำเร็จรูปและดินวิทยาศาสตร์

1. O=C=N N=C=O

HO
2. HO OH

OH OH

3.

O
4. O

5.
เคมีสามัญ หน้า 27
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

40. น�ำโลหะชนิดหนึ่งหนัก 70.74 กรัม จุ่มลงในน�้ำกลั่นที่บรรจุในกระบอกตวง ดังภาพ


mL mL
25 25

20 20

15 15

10 10

5 5

ความหนาแน่นของโลหะชนิดนี้มีค่าเท่าใด
1. 3.1 g/mL
2. 7.9 g/mL
3. 6.4 g/mL
4. 3.14 g/mL
5. 7.86 g/mL
เคมีสามัญ หน้า 28
วันที่ 24 ต.ค. 64 เวลา 13:30-15:00 น.

ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขที่เป็นค�ำตอบ จ�ำนวน 5 ข้อ (ข้อ 41-45) ข้อละ 4 คะแนน


รวม 20 คะแนน
41. น�ำโซเดียมเปอร์ออกไซด์ (Na2O2) จ�ำนวน 15.6 กรัม มาท�ำปฏิกิริยากับน�้ำ (H2O) จ�ำนวน
มากเกินพอ เกิดปฏิกิริยา ดังสมการ
Na2O2(s) + H2O(l) NaOH(aq) + O2(g) (สมการยังไม่ดุล)
เมื่อปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์พบว่าเกิดโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) จ�ำนวน 4.8 กรัม
ปฏิกิริยานี้มีผลได้ร้อยละเท่าใด

42. น�้ำส้มสายชูมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญคือกรดแอซีติกและสารอื่น ๆ ที่ไม่ท�ำปฏิกิริยากับ


สารละลายเบส ถ้าน�ำน�้ำส้มสายชูชนิดหนึ่งจ�ำนวน 20.0 กรัม มาวิเคราะห์โดยการไทเทรตกับ
สารละลาย NaOH เข้มข้นร้อยละ 0.80 โดยมวลต่อปริมาตร พบว่าที่จุดยุติใช้สารละลาย NaOH
75.0 cm3 แสดงว่าในน�้ำส้มสายชูชนิดนี้มีกรดแอซีติกอยู่ร้อยละเท่าใดโดยมวล

43. เมื่อน�ำ C2H6O มาท�ำปฏิกิริยาสารละลาย MnO-4 เกิดปฏิกิริยาดังนี้


C2H6O(aq) + MnO-4(aq) C2H4O2(aq) + Mn2+(aq) (สมการยังไม่ดุล)
หากปฏิกิริยานี้อยู่ในสภาวะกรด และให้เลขดุลสมการข้างต้นเป็นจ�ำนวนเต็มที่น้อยที่สุด
สัมประสิทธิ์เลขดุลสมการของ H+ เท่ากับเท่าใด

44. พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้
A(g) + B(g) ? 2C(g)
เมื่อน�ำแก๊ส A และแก๊ส B มาอย่างละ 12 โมล ใส่ในภาชนะปิดขนาด 4 ลิตร ที่อุณหภูมิ 300 K
พบว่าที่สมดุลมีแก๊ส C เกิดขึ้น 8 โมล ถ้าเติมแก๊ส C เพิ่มเข้าไปในระบบอีก 12 โมล เมื่อระบบ
เข้าสู่สมดุลใหม่จะมีแก๊ส C อยู่กี่โมล

45. แมกนีเซียมท�ำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกให้แก๊สไฮโดรเจน ดังสมการ


Mg(s) + HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) (สมการยังไม่ดุล)
ถ้าใช้แมกนีเซียม 12.0 กรัม และกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 2.00 mol/dm3 ปริมาตร
400.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะเกิดแก๊สไฮโดรเจนกี่ลิตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส และ
ความดัน 1,520 มิลลิเมตรปรอท (ก�ำหนดให้ R = 0.082 L·atm·mol-1·K-1)
วชิาสามญ
ั รหัสประจําตัวประชาชน
ชื� อ
นามสกุล
วชิาสามัญ เคมี

กระดาษคําตอบ รหสัวชิา 59 เคมี


แบบปรนยั 5 ตวัเลอืก จํานวน 40 ขอ ขอละ 2 คะแนน รวม 80 คะแนน
วธิกีารตอบ ระบาย 1 คําตอบทเ่ีปนคําตอบทถ่ีกทส่ีดในแตละขอ
ขอ 1 - 40
1 11 21 31

2 12 22 32

3 13 23 33

4 14 24 34

5 15 25 35

6 16 26 36

7 17 27 37

8 18 28 38

9 19 29 39

10 20 30 40

กระดาษคําตอบหนา 1
ตอนท่ี 2 แบบอตันยั เปนแบบระบายคําตอบทเ่ีปนตวัเลขทค่ีํานวณไดลงในกระดาษคําตอบ
จํานวน 5 ขอ (ขอ 41 - 45) ขอละ 4 คะแนน รวม 20 คะแนน
วธิกีารตอบ ใหใชปากกาเขยีนคําตอบทเ่ีปนตวัเลขลงในชองวางใหตรงกบัหลกัเลขครบทง้ัหกหลกั
ใหใชดนิสอดํา 2B ระบายคําตอบในวงกลมใหตรงกบัหลกัเลข
ตองระบายคําตอบใหถกตองครบทง้ัหกหลกั
ถาคําตอบเปนเลขจํานวนเตม็ ตวัอยาง ถาคําตอบมทีศนยิมดวย ตวัอยาง ถาคําตอบมเีฉพาะทศนยิม ตวัอยาง
ใหระบายวงกลมทต่ีรงกบัหลกัเลข 0 3 7 5 . 0 0 ใหระบายวงกลมหลงัจดทศนยิม 0 0 4 6 . 1 0 ตองระบายเลขศนย (0) 0 0 0 0 . 2 8

ของคําตอบ และตองระบาย ใหครบทง้ัสองหลกั และตองระบาย หนาทศนยิมใหครบ


เลขศนย (0) หนาเลขจํานวนเตม็ เลขศนย (0) หนาเลขจํานวนเตม็ ตวัอยาง
และทศนยิมใหครบ ใหครบ คําตอบเปน .28
ตวัอยาง ตวัอยาง
คําตอบเปน 375 คําตอบเปน 46.1

41 42 43 44 45

กระดาษคําตอบหนา 2

You might also like