You are on page 1of 49

โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 1

เนือหาทีจะต้องเรียนในบทที 1 อะตอมและตารางธาตุ

บทที อะตอมและตารางธาตุ
1.1 แบบจําลองอะตอม
1.1.1 แบบจําลองอะตอมของดอลตัน
1.1.2 แบบจําลองอะตอมของทอมสัน อนุภาคมูลฐานของอะตอม
1.1.3 แบบจําลองอะตอมของรั ทเทอร์ ฟอร์ ด เลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์
1.1.4 แบบจําลองอะตอมของโบร์
1.1.5 แบบจําลองอะตอมของกลุ่มหมอก
1.1.6 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม
1.2 ตารางธาตุ
1.2.1 วิวฒั นาการของการสร้างตารางธาตุ
1.2.2 สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
1) ขนาดอะตอม
2) รัศมีไอออน
3) พลังงานไอออไนเซชัน
4) อิเล็กโทรเนกาติวิตี
5) สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน
6) จุดหลอมเหลวและจุดเดือด
7) เลขออกซิ เดชัน
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 2

บทที อะตอมและตารางธาตุ
1. แบบจําลองอะตอม

 ในสมัยโบราณมีนกั ปราชญ์ชาวกรี ก ชือ ดิโมคริ ตุส (Democritus) เชือว่า เมือย่อยสารลงเรื อย ๆ จะได้ส่วนทีเล็ก


ทีสุดซึงไม่สามารถทําให้เล็กลงกว่าเดิมได้อกี และเรี ยกอนุภาคขนาดเล็กทีสุดว่า อะตอม ซึงคําว่า "อะตอม"
(atom) เป็ นคําซึงมาจากภาษากรี กว่า (atomas) แปลว่า แบ่งแยกอีกไม่ได้
 สสารทังหลายประกอบด้วยอนุภาค ทีเล็กทีสุด (สสารเกิดจากอะตอมรวมตัวกันขึนนันเอง)
 ในสมัยนันก็ยงั ไม่มเี ครื องมือทีสามารถพิสูจน์และสนับสนุนแนวความคิดทีแน่นอนได้ จึงทําให้ไม่ทราบว่า
อะตอมมีโครงสร้างเป็ นอย่างไร จึงมีการเสนอให้มีแบบจําลองอะตอมขึน
 แบบจําลองอะตอม (Atomic model) คือ ภาพทางความคิดทีแสดงให้เห็น รายละเอียดของโครงสร้างอะตอม ที
สอดคล้องกับผลการทดลองต่าง ๆ ซึงได้แก่

1.1 แบบจําลองอะตอมของดอลตัน โดย จอห์น ดอลตัน


สาระสําคัญ
 ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ หลายอนุภาค อนุภาคเล็ก ๆ นี เรี ยกว่า อะตอม ซึงแบ่งแยกไม่ได้ และทําให้
สูญหายไม่ได้
 อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน เช่น มีมวลเท่ากัน แต่มีสมบัติต่างจากอะตอมของธาตุอืน
 สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่าหนึงชนิด ทําปฏิกิริยาเคมีในอัตราส่วนทีเป็ นลงตัวน้อย ๆ
ลักษณะของแบบจําลองอะตอมของดอลตัน
 อะตอมมีขนาดเล็กมาก เป็ น ทรงกลมตัน ซึงเขียนเป็ นรู ปได้ ดังนี

แบบจําลองอะตอมของดอลตัน

 แต่ต่อมา มีการศึกษาเกียวกับอะตอมเพิ มขึน และค้นพบข้อมูลบางประการทีไม่สนับสนุนแนวคิดของ


จอหน์ ดอลตัน เช่น อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน อาจมีมวลไม่เท่ากันก็ได้ และอะตอมสามารถแบ่งแยกได้
เป็ นต้น
 นักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมา ได้ศึกษาเพิ มเติม และสร้างแบบจําลองอะตอมขึนใหม่ คือ เซอร์โซเซฟ จอห์น
ทอมสัน
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 3

1.2 แบบจําลองอะตอมของทอมสั น โดย เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน ศึกษาการนําไฟฟ้ าของแก๊ส

การนําไฟฟ้ าของแก๊ส
 ปกติแก๊สเป็ นตัวนําไฟฟ้ าทีไม่ดี แต่กน็ าํ ไฟฟ้ าได้ ปรากฏการณ์ทียืนยันได้ว่าแก๊สนําไฟฟ้ าได้กค็ ือ การเกิดฟ้ าแลบ ฟ้ าผ่า
 แก๊สนําไฟฟ้ าได้ดีขึน เมือแก๊สมีความดันตํา ๆ และมีความต่างศักย์ของขัวไฟฟ้ าสู ง ๆ
 แก๊สนําไฟฟ้ าได้ เพราะแก๊สสามารถแตกตัวเป็ นไอออนบวก (โปรตอน) และไอออนลบ (อิเล็กตรอน) เมืออยูใ่ น
สนามไฟฟ้ าศักย์สูง ๆ
 เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (J.J Thomson) นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษได้สนใจปรากฏการณ์ทีเกิดขึนใน
หลอดรังสี แคโทด (มีลกั ษณะ ดังรู ป)

 ซึ งได้ทาํ การทดลองเกียวกับการนําไฟฟ้ าของแก๊สขึนในปี พ.ศ. (ค.ศ. ) ซึ งทําการทดลอง 3 การทดลอง


สรุ ปผลได้ดงั ต่อไปนี

การทดลองที ทดลองการนําไฟฟ้ าของแก๊ส (โดยใช้หลอดรังสีแคโทด)


(ขัวลบ ) (ขัวบวก)

วิธีทดลอง
 บรรจุแก๊ส (แก๊ส ประกอบด้วยอะตอมของธาตุ) ในหลอดรังสี แคโทด ทีสู บอากาศออกจนหมด (เป็ นสุ ญญากาศ)
 เจาะรู ทีขัวบวก (แอโนด) และ นําฉากเรื องแสงวางขวางหลอด จากนันต่อขัวไฟฟ้ าเข้าเครื องกําเนิดไฟฟ้ าศักย์สูง
ดังรู ป
ผลทีเกิดขึน เห็นจุดสว่างบนฉากเรื องแสง
สรุปผลการทดลอง
 รังสี เดินทางเป็ นเส้นตรงจากขัวแคโทด (ขัวบวก) ไปยังขัวแอโนด (ขัวลบ)
 รังสี มีการทะลุผ่านอนุภาคของแก๊ส (ทะลุอะตอมของแก๊สนันเอง) ไปปรากฏทีฉากเรื องแสง
ดังนัน แก๊สสามารถนําไฟฟ้ าได้ทีความต่างศักย์ไฟฟ้ าสู ง
 แสดงว่า อะตอมไม่ได้มีลกั ษณะเป็ นทรงกลมตันอย่างที จอห์น ดอลตัน เสนอแนวคิดไว้

ข้ อสั งเกต รังสี ทีเกิดขึน เกิดจากโลหะทีทําแคโทด และจากแก๊สทีบรรจุในหลอดรังสี แคโทด


โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 4

 การทดลองที การค้นพบอิเล็กตรอน (ประจุลบ)


(ขัวลบ ) (ขัวบวก)
+

วิธีทดลอง
 เตรี ยมหลอดรั งสี แคโทดเหมือนการทดลองที 1
 เจาะรู ทีขัวบวก (แอโนด) และ นําฉากเรื องแสงวางขวางหลอด แต่การทดลองนีจะ นําสนามไฟฟ้ า วางในแนวตัง
ระหว่าง ขัวแอโนดกับฉากเรื องแสง จากนันต่อขัวไฟฟ้ าเข้าเครื องกําเนิดไฟฟ้ าศักย์สูง ดังรู ป
ผลทีเกิดขึน เกิดจุดสว่างบนฉากเรื องแสงในทิศเข้าหาขัวบวก ของสนามไฟฟ้ า
สรุปผลการทดลอง
 รังสี เดินทางเป็ นเส้นตรงจากขัวแคโทด (ขัวบวก) ไปยังขัวแอโนด (ขัวลบ) และเบนเข้าหาขัวบวกของสนามไฟฟ้ า
ไปปรากฏบนฉากเรื องแสง ดังรู ป
 แสดงว่า รังสี ทีเกิดขึน ประกอบด้วยอนุภาคลบ เรี ยกรังสี นีว่า รังสีแคโทด
 ดังนัน อะตอมทุกชนิดจะมีประจุลบ เป็ นองค์ประกอบ และเรี ยกอนุ ภาคนีว่า อิเล็กตรอน
 และยังได้หาค่าอัตราส่ วนประจุต่อมวล (e/m) ของอิเล็กตรอนโดยใช้สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้ าช่วยในการ
หา ซึ งได้ค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนเท่ากับ . x 108 คูลอมบ์ ต่อ กรัม

 การทดลองที การค้นพบโปรตอน (ประจุบวก)

วิธีทดลอง
 เตรี ยมหลอดรั งสี แคโทดเหมือนการทดลองที 1 และ 2 แต่เจาะรู ทงขั
ั วแคโทด และ แอโนด
 จากนันนําฉากเรื องแสงวางขวางหลอดทังสองด้าน และต่อขัวไฟฟ้ าเข้าเครื องกําเนิดไฟฟ้ าศักย์สูง ดังรู ป
ผลทีเกิดขึน เกิดจุดสว่างบนฉากเรื องแสงทังสองด้าน
สรุปผลการทดลอง
 เมือผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าไปในหลอดรังสี แคโทดจะมีอนุภาคชนิดหนึงเคลือนทีเป็ นเส้นตรงไปในทิศทางตรงกันข้าม
กับการเคลือนทีของรังสี แคโทดผ่านรู ของ ขัวแคโทด และทําให้ฉากด้านหลังขัวแคโทดเรื องแสงได้
 แสดงว่า รังสี ทีเกิดขึน ประกอบด้วยอนุภาคบวก
 ดังนัน อะตอมทุกชนิดจะมีประจุบวก เป็ นองค์ประกอบ และเรี ยกอนุภาคนีว่า โปรตอน
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 5
 จากการทดลอง 3 การทดลองของทอมสั น สามารถสรุป แบบจําลองอะตอมของทอมสั น ดังนี
1. อะตอมมีลกั ษณะกลวง (ไม่ได้ ตัน เหมือนทีดอลตันบอก)
2. อะตอมประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน (ประจุบวก) และอนุภาคลบ (ประจุลบ) กระจายอยูท่ วไปอย่
ั างสมําเสมอ
และอะตอมทีเป็ นกลางทางไฟฟ้ า จะมีจาํ นวนประจุบวก กับประจุลบเท่ากัน ดังรู ป

แบบจําลองอะตอมของทอมสัน

1.3 แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด โดย เซอร์ เออร์ เนสต์ รัทเทอร์ ฟอร์ ด


 ศึกษาแบบจําลองอะตอมของทอมสัน และเกิดความสงสัยว่าอะตอมจะมีโครงสร้างตามแบบจําลองของทอมสันจริ ง
หรื อไม่ โดยตังสมมติฐานว่า
“ถ้ าอะตอมมีโครงสร้ างตามแบบจําลองของทอมสันจริ ง ดังนัน เมือยิงอนุภาคแอลฟาซึงมีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวก
เข้ าไปในอะตอม แอลฟาทุกอนุภาคจะทะลุผ่านเป็ นเส้ นตรงทังหมด เนืองจากอะตอมมีความหนาแน่ นของประจุบวก
และประจุลบสมําเสมอเหมือนกันหมดทังอะตอม”
 เพือพิสูจน์สมมติฐานนี รัทเทอร์ ฟอร์ ดได้ทาํ การทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคําบาง ๆ โดยมีความหนาไม่เกิน

cm โดยมีฉากสารเรื องแสงรองรับ ดังรู ป

 ปรากฏผลการทดลอง ดังนี
1. อนุภาคส่ วนมากเคลือนทีทะลุผ่านแผ่นทองคําเป็ นเส้นตรง
2. อนุภาคส่ วนน้อยเบียงเบนไปจากเส้นตรง
3. อนุภาคส่ วนน้อยมากสะท้อนกลับมาด้านหน้าของแผ่นทองคํา
 ถ้าแบบจําลองอะตอมของทอมสันถูกต้อง เมือยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคําบาง ๆ นี อนุภาคแอลฟาควรพุ่งทะลุผ่าน
เป็ นเส้นตรงทังหมดหรื อเบียงเบนเพียงเล็กน้อย เพราะอนุภาคแอลฟามีประจุบวกจะเบียงเบนเมือกระทบกับประจุบวกที
กระจายอยูใ่ นอะตอม
 แต่แบบจําลองอะตอมของทอมสันอธิบายผลการทดลองของรัทเทอร์ ฟอร์ ดไม่ได้ รัทเทอร์ ฟอร์ ดจึงเสนอแบบจําลอง
อะตอมขึนมาใหม่
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 6

 สรุ ปแบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด ดังนี

“อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสทีมีโปรตอนรวมกันอยูต่ รงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็กแต่มีมวลมาก และมีประจุ


บวก ส่ วนอิเล็กตรอนซึ งมีประจุลบและมีมวลน้อยมากวิ งอยูร่ อบ ๆ นิวเคลียส”

เกิดเป็ นแบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด ดังนี

แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

 ในการทดลองของรัทเทอร์ ฟอร์ ดสรุ ปว่าอะตอมมีโปรตอนและอิเล็กตรอนเป็ นองค์ประกอบ ดังนัน การคิดมวลอะตอมควรคิด


จากมวลโปรตอนรวมกับมวลของอิเล็กตรอน แต่มวลของอิเล็กตรอนน้อยมาก การคิดมวลอะตอมจึงคิดจากมวลโปรตอน
 พบว่ามวลโปรตอน โปรตอนเท่ากับ . x 10–24 กรัม หรื อคิดเป็ น หน่วยมวลอะตอม ( amu = 1 atomic mass unit)
 ดังนันมวลอะตอมควรมีค่าเท่ากับหรื อใกล้เคียงกับจํานวนโปรตอน
 แต่จากการทดลองกลับพบว่ามวลอะตอมจริ ง ๆ มีค่าเป็ น เท่าหรื อมากกว่า เท่าของจํานวนโปรตอน
 ในปี พ.ศ. (หรื อค.ศ. ) รัทเทอร์ ฟอร์ ดได้เสนอความเห็นว่าน่าจะมีอนุภาคอีกชนิดหนึงทีเป็ นกลางทางไฟฟ้ าซึ งมีมวล
ใกล้เคียงกับมวลโปรตอน
 ต่อมาในปี พ.ศ. (ค.ศ. ) เจมส์ แชดวิก (James Chadwick) ได้คน้ พบอนุภาคอีกชนิดหนึง ไม่มีประจุไฟฟ้ า และตังชือ
ว่า “นิวตรอน” (neutron) นิวตรอนมีมวลน้อยกว่าโปรตอนเล็กน้อย โดยมีมวลเท่ากับ . x 10–24 กรัม
 และรัทเทอร์ ฟอร์ ดได้เสนอว่านิวตรอนเป็ นอนุภาคทีอยูใ่ นนิวเคลียสของอะตอม
 ปัจจุบนั นักวิทยาศาสตร์ พบว่าโปรตอนและนิวตรอนอัดกันแน่นอยูใ่ นนิวเคลียสยึดเหนียวกันด้วยแรงนิวเคลียร์ (nuclear
force) และอนุภาคทีประกอบเป็ นนิวเคลียสเรี ยกว่า “นิวคลีออน” (nucleon)
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 7

อนุภาคมูลฐานของอะตอม
 อนุภาคมูลฐานของอะตอม ประกอบด้วย
1. ประจุลบ (อิเล็กตรอน , e- )
2. ประจุบวก (โปรตอน , p)
3. ประจุทีเป็ นกลาง (นิวตรอน , n )
 มวลของอะตอม = มวลของนิวเคลียส = มวลของโปรตอน (p) + มวลของนิวตรอน (n)

เลขอะตอม = จํานวนโปรตอน (p)


เลขมวล = จํานวนโปรตอน (p) + จํานวนนิวตรอน (n) จํานะจ้า…

จํานวนโปรตอน (p) = จํานวนอิเล็กตรอน (e-)

ตารางแสดงรายละเอียดอนุภาคมูลฐานของอะตอม
อนุภาค สั ญลักษณ์ มวล (กรัม) ประจุไฟฟ้ า (คูลอมบ์ ) ชนิดประจุไฟฟ้ า
- -28
อิเล็กตรอน e 9.109 x 10 1.602 x 10-19 -1
โปรตอน p 1.673 x 10-24 1.602 x 10-19 +1
นิวตรอน n 1.675 x 10-24 0 0

เลขอะตอม เลขมวล สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์


 สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ คือ สัญลักษณ์ของธาตุทีแสดงรายละเอียดของอนุภาคมูลฐานของอะตอมไว้
โดยแสดงเลขมวลไว้มุมบนซ้าย และแสดงเลขอะตอมไว้มุมล่างซ้าย ดังนี
เลขมวล (p + n) A

เลขอะตอม (p) Z
X
จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ จะทําให้ทราบจํานวนอนุภาคมูลฐานได้

ตัวอย่างที 1 จงหาจํานวนอนุภาคมูลฐานของ 40
Ca
20

จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ เลขอะตอม = จํานวน p


20 = จํานวน p
เลขมวล = จํานวนโปรตอน (p) + จํานวนนิวตรอน (n)
40 = 20 + จํานวนนิวตรอน (n)
จํานวนนิวตรอน (n) = 40 - 20 = 20
ดังนัน อนุภาคมูลฐานได้แก่ 1) จํานวนโปรตอน เท่ากับ 20 โปรตอน
2) จํานวนอิเล็กตรอน เท่ากับ 20 อิเล็กตรอน
3) จํานวนนิวตรอน เท่ากับ 20 นิวตรอน
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 8
ตัวอย่ างที 2 จงหาอนุภาคมูลฐานของ 23Na
11

235
ตัวอย่างที 3 จงหาอนุภาคมูลฐานของ U
11

 ไอโซโทป (Isotope)
 ธาตุชนิดเดียวกัน มีเลขอะตอม (จํานวน p ) เท่ากัน แต่ เลขมวล (จํานวน p + n) ต่างกัน
 เช่น ธาตุ H มี 3 ไอโซโทป ดังนี 12 13 14
C C C
6 6 6
 บางกรณี จะเขียนธาตุทีเป็ นไอโซโทปกัน ดังนี C-12 , C-13 และ C -14
 ไอโซโทน (Isotone)
 ธาตุต่างชนิดกัน มีเลขอะตอม (จํานวน p) และเลขมวล (จํานวน p+ n) ต่างกัน แต่มีจาํ นวนนิวตรอน (n) เท่ากัน
 เช่น 13C เป็ นไอโซโทนกับ 14N
6 7
จํานวน n = 7 จํานวน n = 7
 ไอโซบาร์ (Isobar)
 ธาตุต่างชนิดกัน มีเลขมวล (จํานวน p + n) เท่ากัน แต่ เลขเลขอะตอม (จํานวน p) ต่างกัน
 เช่น 13 เป็ นไอโซบาร์ กบั 13
C N
6 7

แบบฝึ กหัด
จงจับคู่คําตอบต่ อไปนีให้ ถูกต้ อง
18 19 19 20 20 21 21 23
A A B B C C D D
9 9 10 10 11 11 12 12

1) ไอโซโทป ………………………………………………………………………………………………….( 4 คู่)


2) ไอโซโทน……………………………………………………………………………………………………..(9 คู่)
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
3) ไอโซบาร์………………………………………………………………………………………………………(3คู่)
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 9
แบบทดสอบชุดที 1
เรือง แบบจําลองอะตอมของดอลตัน ทอมสั น และรัทเทอร์ ฟอร์ ด

คําชีแจง ให้นกั เรี ยนเลือกคําตอบทีถูกต้องทีสุ ด

1. แก๊สนําไฟฟ้ าได้ดีในสภาวะใด
ก. ความดันสู ง ความต่างศักย์ตาํ ข. ความดันสู ง ความต่างศักย์สูง
ค. ความดันตํา ความต่างศักย์สูง ง. ความดันตํา ความต่างศักย์ตาํ
2. ข้อใดไม่ ใช่ แบบจําลองอะตอมของดอลตัน
ก. อะตอมมีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ ข. อะตอมของธาตุต่างชนิดมีมวลนิวตรอนเท่ากันได้
ค. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน ง. ธาตุทาํ ปฏิกิริยาด้วยอัตราส่ วนเลขลงตัวน้อย ๆ
3. รังสี แคโทดเกิดจากส่ วนใด
ก. ขัวแคโทด ค. ขัวแคโทดและแก๊สทีบรรจุภายใน
ค. แก๊สทีบรรจุภายใน ง. ทังขัวแคโทด ขัวแอโนด และแก๊สทีบรรจุภายใน
4. ในการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคําบาง ๆ ได้ผลดังนี
A. อนุภาคส่ วนใหญ่ทะลุผ่านแผ่นทองคําไปในแนวเดิม โดยไม่เปลียนทิศทาง
B. อนุภาคส่ วนน้อยทะลุผ่านแผ่นทองคําและเบียงเบน จากแนวเดิมเล็กน้อย
C. อนุภาคส่ วนน้อยทีสุ ดสะท้อนกลับมาทาง แหล่งกําเนิดอนุภาค
ถ้ าเรียงลําดับอนุภาคแอลฟาทีวิงเข้ าใกล้ นิวเคลียสมากทีสุ ดไปห่ างนิวเคลียสทีสุ ดจะเป็ นไปตามข้ อใด
ก. A , B, C ข. C , A , B ค. B , C , A ง. C , B , A

5. แบบจําลองอะตอมของทอมสันและแบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ดต่างกันอย่างไร


ก. ชนิดของอนุภาคในอะตอม ข. ตําแหน่งของอนุภาคในอะตอม
ค. จํานวนอนุภาคในอะตอม ง. ขนาดอนุภาคในอะตอม
6. อนุภาคมูลฐานของอะตอม ได้แก่
ก. โปรตอน และ อิเล็กตรอน ข. โปรตอน และ นิวตรอน
ค. โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ง. นิวตรอน และ อิเล็กตรอน
7. อิเล็กตรอนมี e/m เท่าใด
ก. 1.6 x 10–19 e/g ข. . x 108 e/g ค. 9.11 x 10–28 e/g ง. 1.675 x 109 e/g
8. A และ B เป็ นไอโซโทปซึ งกันและกัน ถ้า A มีจาํ นวนนิวตรอนในนิวเคลียสเท่ากับ x และธาตุ B มีจาํ นวนอิเล็กตรอน
เท่ากับ y และมีเลขมวลเท่ากับ z เลขมวลของธาตุ A และจํานวนนิวตรอนของธาตุ B มีค่าเท่าใด ตามลําดับ
ก. x + y และ z – y ข. x + y และ y –z ค. x + y และ z + y ง. x – y และ y – z
9. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
ก. แบบจําลองอะตอมคือ มโนภาพทีสร้างขึนโดยอาศัยข้อมูลจากการทดลอง ซึ งอาจถูกหรื อผิดก็ได้
ข. นักวิทยาศาสตร์ ทีเสนอแนวความคิดว่าอะตอมไม่เล็กทีสุ ด แต่ยงั มีอิเล็กตรอนเล็กกว่า คือ ดอลตัน
ค. แนวคิดของดอลตันทีว่าอะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีสมบัติเหมือนกันปัจจุบนั ยังถูกต้อง
ง. เมือดูอะตอมด้วยกล้องจุลทรรศน์สนามไอออน กําลังขยาย 750,000 เท่าจะมองเห็นอะตอมได้ชดั เจน
10. รัทเทอร์ ฟอร์ ดเสนอแบบจําลองอะตอมโดยศึกษาจากอะไร
ก. หลอดรังสี แคโทด ข. กลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน
ค. การเผาสารเพือดูสเปกตรัม ง. การยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปยังแผ่นทองคําบาง ๆ
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 10
 จากแบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ดทําให้ทราบถึงการจัดโครงสร้างของอนุภาคต่าง ๆ ในนิวเคลียส
แต่ไม่ได้อธิบายว่าอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอยูใ่ นลักษณะใด
 นักวิทยาศาสตร์ ในลําดับต่อมาได้หาวิธีทดลองเพือรวบรวมข้อมูลเกียวกับตําแหน่งของอิเล็กตรอนทีอยูร่ อบนิวเคลียส
วิธีหนึงก็คือ การศึกษาสมบัติและปรากฏการณ์ของคลืนและแสง แล้วนํามาสร้างเป็ นแบบจําลอง
นักวิทยาศาสตร์ ผนู ้ นั คือ นีลล์ โบร์
 ดังนันก่ อนจะศึกษาแบบจําลองอะตอมของโบร์ นักเรียนควรเรี ยนรู้เกียวกับคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ าและพลังงานของคลืน
แม่ เหล็กไฟฟ้ า

คลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าและพลังงานของคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ า
 แสงเป็ นคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ า มีการเคลือนทีแบบคลืน ดังนัน คลืนแม่เหล็กไฟฟ้ า จึงมีสิ งต่อไปนี
1) ความยาวคลืน ( ) หมายถึง ระยะทางทีคลืนเคลือนทีครบ 1 รอบ มีหน่วยเป็ นเมตร (m) หรื อนาโนเมตร (nm)

ความยาวคลืน

คลืน 1 รอบ
2) ความถีของคลืน (v) หมายถึง จํานวนรอบของคลืนทีผ่านจุดใดจุดหนึงในเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็ นรอบต่อวินาที (s-1)
หรื อ เฮิรตซ์ (Hz)

คลืนแสงเป็ นคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ าทีมีความถีและความยาวคลืนต่ าง ๆ กัน ดังรูปต่ อไปนี

ม่ วง แดง

 แสงทีประสาทตาคนรับได้เรี ยกว่า “แสงทีมองเห็นได้” (visible light) ซึ งมีความยาวคลืนอยูใ่ นช่วง – nm


 แสงในช่วงคลืนนีประกอบด้วยแสงสี ต่าง ๆ กัน ตามปกติประสาทตาของคนสามารถสัมผัสแสงบางช่วงคลืนทีส่ องมาจาก
ดวงอาทิตย์ได้ แต่ไม่สามารถแยกเป็ นสี ต่าง ๆ จึงมองเห็นเป็ นสี รวมกันซึ งเรี ยกว่า “แสงขาว”
 เรียงลําดับความยาวคลืน (มากไปน้ อย) คือ
คลืนวิทยุ > คลืนไมโครเวฟ > แสงอินฟราเรด > แสงขาว > แสง UV > รังสี เอกซ์ > รังสี แกมมา
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 11
สเปกตรัม (spectrum)
คือ แถบสี หรื อเส้นสี ทีได้จากการผ่านคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าผ่านตัวแยกความยาวคลืน
เช่น เกรตติง อุปกรณ์ทีใช้ศึกษาเกียวกับสเปกตรัม เรี ยกว่า สเปกโทรมิเตอร์ (spectrometer)
 ถ้าให้แสงอาทิตย์ซึงเป็ นแสงขาวส่ องผ่านปริ ซึม แสงขาวจากดวงอาทิตย์จะแยกออกเป็ นแสงสี รุ้งต่อเนืองกัน
เรี ยกว่า “สเปกตรัมของแสงขาว”

แดง

ม่ วง

 สเปกตรัมของแสงขาวเกิดจากการทีเมือแสงซึ งมีความยาวคลืนต่าง ๆ กันผ่านไปยังปริ ซึม แสงจะหักเหได้ไม่เท่ากัน เกิด


เป็ นแถบสี รุ้งต่อเนืองกัน โดยมีความยาวคลืนในช่วงต่าง ๆ ดังนี

ตารางแสดงสี ต่าง ๆ ในแถบสเปกตรัมของแสงขาว


สเปกตรัม ความยาวคลืน (nm)
แสงสี ม่วง –
แสงสี คราม–นําเงิน –
แสงสี เขียว –
แสงสี เหลือง –
แสงสี แสด (ส้ม) –
แสงสี แดง –

 คลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าทีมีความยาวคลืนในช่วงอืน ก็เกิดการหักเหได้ แต่ไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า


 มักซ์ พลังค์ นักวิทยาศาสตร์ ชาวเยอรมันได้ศึกษาพลังงานของคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ า และได้ขอ้ สรุ ปเกียวกับสัมพันธ์ระหว่าง
พลังงานของคลืนกับความถีของคลืน ดังนี
E คือ พลังงาน (หน่วยจูล, J)
E = hV h คือ ค่าคงทีของพลังค์ มีค่า 6.626 x 10-34 จูลวินาที
v คือ ความถีของคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ า (หน่วยเฮิรตซ์, Hz)

v = c c คือ ความเร็ วของคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าในสุ ญญากาศ เท่ากับ 2.997 x 108เมตร/วินาที


(อาจใช้ 3.0 x 108เมตร/วินาที)
คือ ความยาวคลืน
v คือ ความถีของคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ า (หน่วยเฮิรตซ์, Hz)
ดังนัน ค่าพลังงานของคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า จึงสามารถคํานวณได้ จากความสั มพันธ์ ดังนี

E = hV = hc
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 12
แบบฝึ กหัดการคํานวณค่าพลังงานของคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ า

1. เส้นสเปกตรัมสี แดงของโพแทสเซี ยมมีความถี 3.91 x 1014 Hz จะมีความยาวคลืนเป็ นเท่าใด

2. เส้นสเปกตรัมเส้นหนึงของธาตุซีเซี ยมมีความยาวคลืน 456 nm ความถีของสเปกตรั มเส้นนีมีค่าเท่าใด และปรากฏเป็ นสี ใด

3. คลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าทีมีความถี 8.5 x 104 Hz จะมีพลังงานและความยาวคลืนเท่าใด


โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 13
สเปกตรัมของธาตุ
บท
 โรเบิร์ต บุนเซน และ กุสตาฟ คีร์ชฮอฟฟ์ นักวิทยาศาสตร์ ชาวเยอรมัน ได้ประดิษฐ์สเปกโทรสโคปซึ งเป็ นอุปกรณ์ทีใช้ใน
การศึกษาสเปกตรัม ทีได้จากการเผาสารประกอบทีมีธาตุเป็ นองค์ประกอบ
 เพือนําสเปกตรัมทีได้มาระบุว่าสารประกอบนันมีธาตุใดเป็ นองค์ประกอบ
สเปกตรั มของธาตุโลหะ
สารประกอบทีมีโลหะเป็ นองค์ประกอบ เผา
จะเห็นเปลวไฟทีมีสีเฉพาะตัวของโลหะนัน ๆ
ทีเป็ นองค์ประกอบของสารประกอบ

 สรุป สารประกอบของโลหะชนิดเดียวกันจะให้สีเปลวไฟสี เดียวกัน และได้เส้นสเปกตรัมซึ งเป็ นแบบเฉพาะ


นันคือ มีสีและตําแหน่งของเส้นสเปกตรัมเหมือนกัน ดังตัวอย่างในตารางต่อไปนี

ตารางแสดงสี ของเปลวทีเกิดจากการเผาสารประกอบ

สารประกอบ สี ของเปลวไฟ
ลิเทียม (Li) สี แดง
โซเดียม (Na) สี เหลือง
โพแทสเซี ยม (K) สี ม่วง
ซี เซี ยม (Cs) สี ฟ้า
แคลเซี ยม (Ca) สี แดงอิฐ
แบเรี ยม (Ba) สี เขียวแกมเหลือง
ทองแดง (Cu) สี เขียว

 สารประกอบต่างชนิดกัน แต่มีโลหะชนิดเดียวกันเป็ นองค์ประกอบ จะให้สีเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมเหมือนกัน


เช่น NaCl จะได้เปลวไฟสี เหลือง CuCl2 จะได้เปลวไฟสี เขียว
Na2SO4 CuSO4

 การทีสารประกอบของโลหะต่างชนิดกัน มีสีของสเปกตรัม และตําแหน่งของเส้นสเปกตรัมต่างกันเป็ นแถบเฉพาะของ


โลหะนัน ๆ
 ดังนัน จึงสามารถใช้สีของเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมในการวิเคราะห์องค์ประกอบของสารได้
 โดยนําสารประกอบนันไปเผา แล้วนําสี ของเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมทีได้เปรี ยบเทียบกับผลการทดลองที
นักวิทยาศาสตร์ ได้สรุ ปไว้แล้ว การวิเคราะห์สารวิธีนีเรี ยกว่า “Flame test”

สเปกตรั มของธาตุอโลหะ
 ในการเผาสารประกอบทีเป็ นอโลหะจะให้สเปกตรัมในช่วงทีตาเรารับไม่ได้ จึงมองไม่เห็นเส้นสเปกตรัม

สเปกตรัมของแก๊ ส
 ในการศึกษาสเปกตรัมของธาตุทีเป็ นแก๊ส จะนําแก๊สไปบรรจุหลอดแก้วทีมีความดันตํา และผ่านกระแสไฟฟ้ าศักย์สูงเข้า
ไปแทนการเผาด้วยความร้อน เมือแก๊สได้รับพลังงานไฟฟ้ าจะปล่อยแสงเป็ นสเปกตรัมลักษณะเฉพาะของธาตุนนั ๆ
และธาตุอโลหะบางชนิดก็ให้แสงทีตารับได้ เช่น He , Ne , Ar เป็ นต้น
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 14

ตัวอย่าง เส้ นสเปกตรัมของธาตุบางชนิด


โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 15

การเกิดสเปกตรัมของธาตุ

 สเปกตรัมเกิดได้ อย่างไร

สถานะพืน (ground state)

หมายถึงอะตอมทีอิเล็กตรอนซึ งเคลือนทีอยูร่ อบ (E2)


นิวเคลียสมีพลังงานเฉพาะตัวอยูใ่ นระดับพลังงานตํา อะตอม = E2 - E1
ในสถานะพืนจะมีความเสถียรเนืองจากมีพลังงานตํา

สถานะกระตุ้น (excited state)

หมายถึงอะตอมทีได้รับพลังงานเพิ มขึน ทําให้


(E1)
อิเล็กตรอนถูกกระตุน้ ให้อยูใ่ นระดับพลังงานสู งขึน ทีสถานะ
กระตุน้ อะตอมจะไม่เสถียร เนืองจากมีพลังงานสู ง

 การเกิดสเปกตรั มของธาตุสามารถอธิบายได้ ดังนี

เมืออะตอมได้รับพลังงาน เช่น จากการเผา หรื อ จากกระแสไฟฟ้ า

อิเล็กตรอน (รอบนิวเคลียส) จะเปลียนจาก สถานะพืน ไปสู่ สถานะกระตุน้

ทีสถานะกระตุน้ อะตอมไม่เสถียร จึงต้องคายพลังงานออกมา


ซึงพลังงานทีคายออกมาอยู่ในรูปพลังงานแสง หรือคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า

เมือส่ องผ่านปริ ซึมหรื อสเปกโทรสโคป จะแยกแสงออกมา


เป็ นเส้นสเปกตรัม

การทีธาตุแต่ละชนิดให้เส้นสเปกตรัมหลายเส้น
แสดงว่าอิเล็กตรอน(รอบนิวเคลียส) มีหลายระดับพลังงาน

ระดับพลังงานใกล้นิวเคลียสมีพลังงานตํา ระดับพลังงานห่างนิวเคลียสมีพลังงานตํา
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 16
 การศึกษาสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน
 นักวิทยาศาสตร์ ได้ศึกษาสเปกตรัมของแก๊ส เพราะว่ามีอะตอมอยูห่ ่ างกัน
 และเลือกใช้อะตอมไฮโดรเจนเนืองจากมี อิเล็กตรอน
 พบว่า มีเส้นสเปกตรัมทีปรากฏในช่วงความยาวคลืนทีมองเห็นได้โดยมีความยาวคลืน , , และ nm

 จากการทดลองหลายครัง พบว่า อะตอมของไฮโดรเจนให้เส้นสเปกตรัมได้หลายเส้นทีมีลกั ษณะเหมือนกันทุกครัง


 จึงสรุ ปได้ว่า อิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนขึนไปอยูใ่ นสถานะกระตุน้ ทีมีพลังงานแตกต่างกันได้หลายระดับ
 ค่าพลังงานของเส้นสเปกตรัมแสดงให้เห็นถึงการเปลียนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมจากระดับพลังงานสู ง
มายังระดับพลังงานตํา
ตารางแสดงความยาวคลืนและพลังงานของเส้ นสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน
เส้ นสเปกตรัม ความยาวคลืน พลังงาน (KJ) ผลต่ างพลังงานของเส้ นสเปกตรั มทีอยู่ถัดกัน
–22
สี ม่วง . x 10 (ห่างนิวเคลียส)
. x 10–23
สี นําเงิน . x 10–22
. x 10–23
สี นําทะเล . x 10–22
. x 10–23
สี แดง . x 10–22 (ใกล้นิวเคลียส)

 จากข้อมูลในตาราง แสดงว่าอะตอมของไฮโดรเจนมีพลังงานหลายระดับ
 และความแตกต่างระหว่างพลังงานของแต่ละระดับทีอยูถ่ ดั ไปก็ไม่เท่ากัน ความแตกต่างของพลังงานจะมีค่าน้อยลง
เมือระดับพลังงานสู งขึน จากเหตุผลทีอธิบายมานีช่ วยให้ สรุปได้ ว่า

เมืออิเล็กตรอนได้รับพลังงานในปริ มาณทีเหมาะสม
อิเล็กตรอนจะขึนไปอยูใ่ นระดับพลังงานทีสู งกว่าระดับพลังงานเดิม
1)
แต่จะอยูใ่ นระดับใดขึนกับปริ มาณพลังงานทีได้รับ

การทีอิเล็กตรอนขึนไปอยูใ่ นระดับพลังงานใหม่ทาํ ให้อะตอมไม่เสถียร


อิเล็กตรอนจะกลับมาอยูใ่ นระดับพลังงานทีตํากว่า
ซึ งในการเปลียนตําแหน่งนีอิเล็กตรอนจะคายพลังงานออกมา

การเปลียนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนไม่จาํ เป็ นต้องเปลียน


2) ไปยังระดับพลังงานทีอยูต่ ิดกันอาจมีการเปลียนข้ามระดับได้

แต่เมืออิเล็กตรอนรับพลังงานแล้วจะขึนไปอยูร่ ะหว่างระดับพลังงานไม่ได้
จะต้องขึนไปอยูใ่ นระดับใดระดับหนึ งเสมอ

3) ผลต่างของพลังงานระหว่างระดับพลังงานตําจะ มีค่ามากกว่า
ผลต่างของพลังงานระหว่างระดับพลังงานทีสู งขึนไป
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 17
1.4 แบบจําลองอะตอมของโบร์
(นีลล์ โบร์ ได้ ศึกษาและปรับปรุงแบบจําลองของรัทเทอร์ ฟอร์ ด โดยศึกษาสเปกตรั มของไฮโดรเจน)
 จากความรู ้เรื องการเปลียนแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน และการเกิดสเปกตรัม
 ช่วยให้ นีลส์ โบร์ นักวิทยาศาสตร์ ชาวเดนมาร์ ก สร้างแบบจําลองอะตอมเพือใช้อธิบายพฤติกรรมของอิเล็กตรอน
ในอะตอมได้ โดยกล่าวว่า
1) อิเล็กตรอนจะเคลือนทีรอบนิวเคลียสเป็ นวง (คล้ายวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์)
2) แต่ละวงจะมีระดับพลังงานเฉพาะตัว ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนทีอยูใ่ กล้นิวเคลียสทีสุ ดซึ งมีพลังงานตําทีสุ ด
เรี ยกว่าระดับ K และระดับพลังงานทีอยูถ่ ดั ออกมาเรี ยกเป็ น L , M , N , … ตามลําดับ
3) ต่อมาได้มีการใช้ตวั เลขแสดงถึงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน คือ n = 1 หมายถึงระดับพลังงานที ซึ งอยูใ่ กล้
กับนิวเคลียสทีสุ ด และชันถัดมาเป็ น n = 2 หมายถึงระดับพลังงานที ต่อจากนัน n = 3 , 4 , . . . หมายถึงระดับ
พลังงานที , และสู งขึนไปตามลําดับ

แบบจําลองอะตอมของโบร์

 แบบจําลองอะตอมของโบร์ พัฒนามาจากการค้นพบสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน ซึ งเป็ นอะตอมทีมี อิเล็กตรอน


แต่ไม่สามารถใช้อธิบายอะตอมทีมีหลายอิเล็กตรอนได้ นักวิทยาศาสตร์ จึงจําเป็ นต้องศึกษาค้นคว้าเพิ มเติมเพือเสนอ
แบบจําลองอะตอมใหม่
1.5 แบบจําลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
 เนืองจากแบบจําลองอะตอมของโบร์ (Niels Bohr) มีขอ้ จํากัดทีไม่สามารถใช้อธิบายสเปกตรัมของอะตอมทีมีหลาย
อิเล็กตรอน ได้
 จึงมีการศึกษาเพิ มเติมจนได้ขอ้ มูลทีเชือว่า อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็ นทังอนุภาคและคลืน โดยเคลือนทีรอบนิวเคลียสใน
ลักษณะของคลืนนิ ง บริ เวณทีพบอิเล็กตรอนได้พบได้หลายลักษณะเป็ นรู ปทรงต่าง ๆ ตามระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
 จากการใช้ความรู ้ทางกลศาสตร์ ควอนตัมสร้างสมการขึนเพือคํานวณหาโอกาสทีจะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ
พบว่า แบบจําลองนีอธิบายเส้นสเปกตรัมได้ดีกว่าแบบจําลองอะตอมของโบร์ มีลกั ษณะ ดังนี
1) อิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมากและเคลือนทีอย่างรวดเร็ วตลอดเวลาไปทัวทังอะตอม จึงไม่สามารถบอกตําแหน่งที
แน่นอนของอะตอมได้
2) มีโอกาสทีจะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสบางบริ เวณเท่านัน ทําให้สร้างมโนภาพได้ว่าอะตอมประกอบด้วยกลุ่ม
หมอกของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียส
3) บริ เวณทีกลุ่มหมอกทึบแสดงว่าโอกาสทีจะพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริ เวณทีมีกลุ่มหมอกจาง”

แบบจําลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 18
1.6 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม (Electronic configuration)

 จากแบบจําลองอะตอม พบว่าโปรตอนและนิวตรอนอยูร่ วมกันในนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนอยูร่ อบ ๆ โดยอยูใ่ นระดับ


พลังงานต่าง ๆ กัน
 สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานได้ ดังนี
1. การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก (shell)

 จํานวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานหลักมีจาํ นวนไม่เกิน 2n2 เมือ n คือระดับพลังงานหลักที , , , . . .


ระดับพลังงานหลัก n=1 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน อิเล็กตรอน
ระดับพลังงานหลัก n=2 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน อิเล็กตรอน
ระดับพลังงานหลัก n=3 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน อิเล็กตรอน
ระดับพลังงานหลัก n=4 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน อิเล็กตรอน
 พลังงานชันนอกสุ ด และมีพลังงานสู งสุ ด เรี ยกว่า เวเลนซ์ อิเล็กตรอน (เวเลนซ์อิเล็กตรอน จะไม่เกิน 8)
 ดังนัน ระดับพลังงานหลักชันสุ ดท้ าย จะไม่ เกิน 8 เสมอ
ต้ องจํา เวเลนซ์ อิเล็กตรอน บอกให้รู้ว่า ธาตุอยูห่ มู่ใด
จํานวนระดับพลังงาน บอกให้รู้ว่า ธาตุอยูค่ าบใด

ตารางแสดงการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก

ธาตุ เลขอะตอม จํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน แสดงการจัดในระดับ


n=1 n=2 n=3 n=4 พลังงานหลัก
H 1 1
He 2 2
Li 3 2 1 ,
Be 4 2 2 ,
B 5 2 3 ,
C 6 2 4 ,
N 7 2 5 ,
O 8 2 6 ,
F 9 2 7 ,
Ne 10 2 8 ,
Na 11 2 8 1 , ,
Mg 12 2 8 2 , ,
Al 13 2 8 3 , ,
Si 14 2 8 4 , ,
P 15 2 8 5 , ,
S 16 2 8 6 , ,
Cl 17 2 8 7 , ,
Ar 18 2 8 8 , ,
K 19 2 8 8 1 , , ,
Ca 20 2 8 8 2 , , ,
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 19

เทคนิคทีควรรู้ในการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก
 นักเรี ยนสามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของอะตอม โดยใช้สามเหลียมมหัศจรรย์ ดังนี

เลขอะตอม
2 2
2 2 4
2 8 2 12
2 8 8 2 20
2 8 18 8 2 38
2 8 18 18 8 2 56
2 8 18 32 18 8 2 88
2 8 18 32 32 18 8 2 120

หมายเหตุ จากสามเหลียมมหัศจรรย์นี นักเรี ยนอาจไม่จาํ เป็ นต้องจํา แต่ตอ้ งเข้าใจหลักในการเขียน

ตัวอย่ างที 1 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Ca


วิธีทํา เปิ ดตารางธาตุดู เลขอะตอม Ca (เท่ากับ 20)
ดังนัน Ca สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนี 2 8 8 2

จะเห็นว่า Ca มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 จึงอยูใ่ นหมู่ 2


และ Ca มีจาํ นวนระดับพลังงานเท่ากับ 4 จึงอยูใ่ นคาบ 4

ตัวอย่ างที 2 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ B


วิธีทาํ เปิ ดตารางธาตุดู เลขอะตอม B (เท่ากับ 5)
ดังนัน B สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนี 2 3

จะเห็นว่า B มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 3 จึงอยูใ่ นหมู่ 3


และ B มีจาํ นวนระดับพลังงานเท่ากับ 2 จึงอยูใ่ นคาบ 2

ตัวอย่ างที 3 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Cl


วิธีทาํ เปิ ดตารางธาตุดู เลขอะตอม Cl (เท่ากับ 17)
ดังนัน Cl สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนี 2 8 7

จะเห็นว่า Cl มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 จึงอยูใ่ นหมู่ 7


และ Cl มีจาํ นวนระดับพลังงานเท่ากับ 3 จึงอยูใ่ นคาบ 3
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 20

ตัวอย่ างที 4 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Fe


วิธีทาํ เปิ ดตารางธาตุดู เลขอะตอม Fe (เท่ากับ 26)
ดังนัน Fe สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนี 2 8 14 2

ตัวอย่ างที 5 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Br


วิธีทาํ เปิ ดตารางธาตุดู เลขอะตอม Br (เท่ากับ 35)
ดังนัน Br สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนี 2 8 18 7

ตัวอย่ างที 6 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุทีมีเลขอะตอมเท่ ากับ 23


วิธีทาํ ธาตุนีสามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนี 2 8 11 2

ตัวอย่ างที 7 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ Pt (แพลตทินมั )


วิธีทาํ เปิ ดตารางธาตุดู เลขอะตอม Pt (เท่ากับ 78)
ดังนัน Pt สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนี 2 8 18 32 16 2

ตัวอย่ างที 8 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ Po (โพโลเนียม)


วิธีทาํ เปิ ดตารางธาตุดู เลขอะตอม Pt (เท่ากับ 84)
ดังนัน Po สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนี 2 8 18 32 18 6

แบบฝึ กหัด เรือง การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก


1. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ของธาตุ S

2. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ของธาตุ Mn

3. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ As

4. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ Tc
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 21

2. การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่ อย (sub-shell)

 จากการศึกษาสมบัติทีเป็ นคลืนของอิเล็กตรอน พบว่าอิเล็กตรอนอยูใ่ นระดับพลังงานหรื อวง (shell) ต่าง ๆ กัน


ซึ งเรี ยกว่าระดับพลังงานหลัก และในระดับพลังงานเดียวกันยังมีระดับพลังงานย่อย (sub shell) ต่าง ๆ อีก
คือระดับพลังงานย่อย s , p , d และ f โดยในแต่ละระดับพลังงานย่อยมีอิเล็กตรอนดังนี

ระดับพลังงานหลักที (n=1) มี ระดับพลังงานย่อยคือ s


ระดับพลังงานหลักที (n=2) มี 2 ระดับพลังงานย่อยคือ s,p
ระดับพลังงานหลักที (n=3) มี 3 ระดับพลังงานย่อยคือ s,p,d
ระดับพลังงานหลักที (n=4) มี 4 ระดับพลังงานย่อยคือ s,p,d,f

ตารางแสดงระดับพลังงานย่อย จํานวนอิเล็กตรอนสู งสุ ดในระดับพลังงานย่อย และในแต่ละระดับพลังงาน

ระดับ ระดับ จํานวนออร์ บิทัล จํานวนอิเล็กตรอนสู งสุ ด จํานวนอิเล็กตรอนสู งสุ ด


พลังงานหลัก พลังงานย่อย ในแต่ ละระดับพลังงานย่อย ในแต่ ละระดับพลังงาน
n= s 2 2
s 2
n=2 8
p 6
s 2
n=3 p 6 18
d 10
s 2
p 6
n=4 32
d 10
f 14

ตารางแสดงจํานวนออร์ บทิ ัล และจํานวนอิเล็กตรอนสู งสุ ดในแต่ละออร์ บิทลั

ระดับพลังงานย่ อย จํานวนออร์ บิทัล จํานวนอิเล็กตรอน จํานวนอิเล็กตรอนรวม


แต่ ละออร์ บิทัล
s 1
p 3
d 5
f 7

 อิเล็กตรอนมีการเคลือนทีอยูต่ ลอดเวลา ความหนาแน่นของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนซึ งวัดออกมาในรู ปของโอกาสทีจะพบ


อิเล็กตรอน ซึ งเคลือนทีรอบนิวเคลียส จะมีรูปร่ างเป็ น มิติทีแตกต่างกันซึ งเรี ยกว่า ออร์ บิทลั (orbital)
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 22
ออร์ บิทลั (orbital)

 หมายถึงบริ เวณทีมีโอกาสสู งทีจะพบอิเล็กตรอน หรื อบริ เวณทีอยูข่ องอิเล็กตรอน ซึ งมีรูปร่ างเป็ น มิติแตกต่างกัน ดังนี
1) S ออร์ บิทัล มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสเท่ากันทุกทิศทาง
ทําให้มองเห็นว่าออร์ บิทลั นีมีรูปร่ างเป็ นทรงกลมรอบนิวเคลียส (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุ ด 2e-) ดังรู ป

2) P ออร์ บิทัล มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอยูใ่ นบริ เวณแกน x , y , z มี 3 แบบ ได้แก่


px–orbital , Pz–orbital ,Py–orbital โดยออร์บิทลั ทังสามมีรูปร่ างคล้ายดรัมเบลล์ มีพลังงานเท่ากัน
แต่มีทิศทางแตกต่างกัน (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุ ด 6 e- ) ดังรู ป

orbital orbital orbital

3) d ออร์ บิทัล มีความซับซ้อนมากกว่า s-orbital และ p-orbital มี 5 แบบ ได้แก่ , , ,

และ (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุ ด 10 e- ) ดังรู ป

4) f ออร์ บิทัล มี 7 แบบ (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุ ด 14 e- ) ในระดับนีอาจไม่จาํ เป็ นต้องศึกษารายละเอียด f ออร์ บิทลั


มากนักก็ได้
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 23
หลักการจัดอิเล็กตรอนลงในระดับพลังงานย่อย (ออร์ บิทลั )
1) ให้ แทนออร์ บิทลั อิเล็กตรอนเขียนด้วยลูกศร
อิเล็กตรอนในออร์ บิทลั จึงเขียนแทนได้เป็ น หรื อ
ในกรณี ทีมีอิเล็กตรอนเต็มออร์ บิทลั สามารถเขียนเป็ น ถ้าเขียนเป็ น หรื อ จะไม่สอดคล้องตามหลักการ

2) ต้องบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์ บิทลั ทีมีพลังงานตําสุ ด และ ว่างก่อนเสมอ คือ 1s 2s 2p 3s . . . ตามลําดับ


เพราะจะทําให้พลังงานรวมทังหมดมีค่าตําสุ ดและมีความเสถียรทีสุ ด

3) อะตอมของธาตุทีมีการบรรจุอิเล็กตรอนเต็มในทุก ๆ ออร์ บิทลั ทีมีพลังงานเท่ากัน เรี ยกว่า การบรรจุเต็ม (full filled)


ถ้ามีอิเล็กตรอนบรรจุอยูเ่ พียงครึ งเดียวเรี ยกว่า การบรรจุครึ ง (half filled)
การบรรจุเต็มหรื อบรรจุครึ งจะทําให้อะตอมมีความเสถียรมากกว่าการบรรจุแบบอืน ๆ
1s 2s 2p
การบรรจุเต็ม

การบรรจุครึ ง

4) ในกรณี ทีมีหลายอิเล็กตรอน การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์ บิทลั ต่าง ๆ ตามลําดับพลังงานจากตําไปสู งจะเป็ นดังนี

ตารางแสดงการจัดอิเล็กตรอนเข้าในระดับพลังงานตามลําดับ

ระดับ จํานวนระดับพลังงานย่อยหรือออร์ บทิ ัลทีอยู่ในแต่ละระดับพลังงาน


พลังงาน

n=1

n=2

n=3

n=4

n=5

n=6

n=7
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 24
ตารางแสดงระดับพลังงานย่ อย จํานวนอิเล็กตรอนสู งสุ ดในระดับพลังงานย่อย
และในแต่ ละระดับพลังงาน ของ ธาตุแรก

เลข แผนภาพการจัดอิเล็กตรอนในออร์ บิทัล


ธาตุ ระดับพลังงานย่อย
อะตอม 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d
1 H 1s1

2 He 1s2

3 Li 1s22s1

4 Be 1s22s2

5 B 1s22s22p1

6 C 1s22s22p2

7 N 1s22s22p3

8 O 1s22s22p4

9 F 1s22s22p5

10 Ne 1s22s22p6

11 Na 1s22s22p6 3s1 หรื อ [Ne] 3s1

12 Mg 1s22s22p6 3s2 หรื อ [Ne] 3s2

13 Al 1s22s22p63s23p1

14 Si 1s22s22p63s23p2
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 25
ตารางแสดงระดับพลังงานย่ อย จํานวนอิเล็กตรอนสู งสุ ดในระดับพลังงานย่อย
และในแต่ ละระดับพลังงาน ของ ธาตุแรก (ต่ อ)

เลข แผนภาพการจัดอิเล็กตรอนในออร์ บิทัล


ธาตุ ระดับพลังงานย่อย
อะตอม 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d
15 P 1s22s22p63s23p3

16 S 1s22s22p63s23p4

17 Cl 1s22s22p63s23p5

18 Ar 1s22s22p63s23p6

19 K 1s22s22p63s23p64s13d0

20 Ca 1s22s22p63s23p64s23d0

 อิเล็กตรอนทีอยูใ่ นระดับพลังงานสู งสุ ดหรื อชันนอกสุ ดของอะตอม เรี ยกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน (valence electron)

ตัวอย่างที 1 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย ของธาตุ Cl


วิธีทํา Cl มีเลขอะตอม 17
Cl สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนี 2 8 7
จะได้ ว่า
ระดับพลังงานหลัก n=1 n = 2 n = 3
2 8 7
ระดับพลังงานย่ อย 1s 2s 2p 3s 3p 3d

ดังนัน Cl สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยได้ ดังนี 1s2 2s2 2p6 3s2 3p5

ตัวอย่างที 2 จงจัดอิเล็กตรอนลงในระดับพลังงานย่อย ของธาตุ C (เลขอะตอม 6)


ระดับพลังงานหลัก n=1 n = 2
2 4
ระดับพลังงานย่ อย 1s 2s 2p

ดังนัน C สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย ได้ดงั นี 1s2 2s2 2p2


โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 26
ตัวอย่างที 3 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย ของธาตุ P (เลขอะตอม 15)
วิธีทาํ
ระดับพลังงานหลัก n=1 n = 2 n = 3
2 8 5
ระดับพลังงานย่ อย 1s 2s 2p 3s 3p 3d

ดังนัน P สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานได้ ดังนี 1s22s22p63s23p3

ตัวอย่างที 4 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ Ca (เลขอะตอม 20)


ระดับ n=1 n = 2 n = 3 n =4
พลังงานหลัก 2
2 8 8
ระดับ 1s 2s 2p 3s 3p 3d 4s 4p 4d 4f
พลังงานย่ อย

แบบฝึ กหัด เรือง การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย


1) จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ N

2) จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ K

3) จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ Mg
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 27

4) ธาตุ A B C D มีการจัดอิเล็กตรอน ดังนี


ธาตุ A 1s22s22p6
ธาตุ B 1s22s22p63s23p4
ธาตุ C 1s22s22p63s23p64s13d0
ธาตุ D 1s22s22p63s23p1

4.1) ธาตุ A B C D มีเลขอะตอมเท่าใด


วิธีคดิ จาก ธาตุ A 1s22s22p6
เลขอะตอมธาตุ A เท่ากับ 2 + 2 + 6 = 10

ธาตุ B C D ให้ นักเรี ยนทําด้ วยตัวเอง

ธาตุ B

ธาตุ C

ธาตุ D

4.2) ธาตุ A B C มีอิเล็กตรอนอยูใ่ นระดับพลังงานใดบ้าง จํานวนเท่าใด


วิธีคดิ จากธาตุ A มีเลขอะตอมเท่ากับ 10
มีอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก 2 8

ธาตุ B C D ให้ นักเรียนทําด้ วยตัวเอง

ธาตุ B

ธาตุ C

ธาตุ D
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 28
2. ตารางธาตุ

 ปัจจุบนั นักวิทยาศาสตร์ ได้คน้ พบธาตุเป็ นจํานวนมาก ธาตุเหล่านันอาจมีสมบัติบางประการคล้ายกัน แต่กม็ ีสมบัติบางประการ


แตกต่างกัน จึงยากต่อการจดจําสมบัติต่าง ๆ ของแต่ละธาตุได้ทงหมด ั
 นักวิทยาศาสตร์ จึงหากฎเกณฑ์ในการจัดธาตุทีมีสมบัติคล้ายกันให้อยูใ่ นกลุ่มเดียวกัน เพือง่ายต่อการศึกษา โดยใช้ ตารางธาตุ
 ตารางธาตุ หมายถึง ตารางทีนักวิทยาศาสตร์ สร้างขึนมา เพือแบ่งธาตุทีมีสมบัติเหมือนกันออกเป็ นหมวดหมู่ เพือให้ง่ายแก่
การศึกษา โดยแบ่งธาตุทงหมดออกเป็
ั นหมู่และคาบ ดังนี
 ธาตุทีอยูใ่ นแนวดิ งเดียวกัน เรี ยกว่า อยูใ่ น หมู่ เดียวกัน
 ธาตุทีอยูใ่ นแนวนอนเดียวกัน เรี ยกว่า อยูใ่ น คาบ เดียวกัน

2.1 วิวัฒนาการของตารางธาตุ
1) ตารางธาตุของเดอเบอไรเนอร์ (ชุดสาม)
 การจัดตารางธาตุนนเริั มขึนตังแต่ปี พ.ศ. 2360 (ค.ศ. 1817) โดย โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ (Johaun Dobereiner)
นักเคมีชาวเยอรมัน ได้นาํ ธาตุต่าง ๆ ทีพบในขณะนันมาจัดเรี ยงเป็ นตารางธาตุ
 โดยนําธาตุต่าง ๆ ทีมีสมบัติคล้ายคลึงกันมาจัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธาตุ เรี ยกว่า ชุดสาม
 เรี ยงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากในแต่ละหมู่
 ธาตุกลางจะมีมวลอะตอมเป็ นค่าเฉลียของมวลอะตอมของธาตุทีเหลืออีก 2 อะตอม เรี ยกว่า กฎชุดสาม (law of
triads)
 เช่น Na เป็ นธาตุกลางระหว่าง Li กับ K มีมวลอะตอม 23 (เป็ นค่าเฉลียของมวลอะตอม Li ซึ งมีมวลอะตอม 7
กับธาตุ K มีมวลอะตอม 39)

ตารางที 1 มวลอะตอมเฉลียของธาตุบางกลุ่มตามกฎชุดสาม
หมู่ 1 มวลอะตอม หมู่ 2 มวลอะตอม
Li 7 Be 9
เฉลีย = 7 + 39 เฉลีย = 9 + 40 = 24.5
Na 23 Mg 24
2 2
K 39 Ca 40

 เมือนํากฎดังกล่าวไปใช้กบั ธาตุกลุ่มอืนทีมีสมบัติคล้ายคลึงกัน ปรากฏว่าบางธาตุ มวลอะตอมของธาตุกลางไม่


เท่ากับค่าเฉลียของมวลอะตอมของธาตุทีเหลือ กฎชุดสามของเดอเบอไรเนอร์ จึงไม่เป็ นทียอมรับกันในเวลาต่อมา
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 29
2) ตารางธาตุของนิวแลนด์
 ในปี พ.ศ. 2407 (ค.ศ. 1864) จอห์น นิวแลนด์ (John Newlands) นักเคมีชาวอังกฤษได้พบว่าเมือนําธาตุต่าง ๆ มา
เรี ยงลําดับตามมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก ให้เป็ นแถวตามแนวนอน สมบัติของธาตุจะมีลกั ษณะคล้ายกันเป็ น
ช่วง ๆ ซึ งลักษณะดังกล่าวเกิดขึนทุก ๆ ของธาตุที 8 (ธาตุที 8 มีสมบัติคล้ายธาตุที 1
 เช่น ถ้าเริ มต้นจากธาตุ Li แล้วเรี ยงลําดับมวลอะตอมไปถึงธาตุที 8 จะตรงกับ Na ซึ ง Li และ Na มีสมบัติต่าง ๆ
คล้ายคลึงกัน ดังตัวอย่างการจัดต่อไปนี
Li Be B C N O F
Na Mg Al Si P S Cl
K Ca
 การจัดเรี ยงธาตุตามแนวคิดของนิวแลนด์ ใช้ได้ถึงธาตุแคลเซี ยมเท่านัน กฎนีจึงไม่สามารถอธิบายได้ว่า เพราะเหตุใด
มวลอะตอมจึงเกียวข้องกับสมบัติทีคล้ายคลึงกันของธาตุ ทําให้ไม่เป็ นทียอมรับในเวลาต่อมา

John Alexander Reina Newlands

3) ตารางธาตุของเมนเดเลเยฟ
 ในระหว่างปี พ.ศ. 2412 - 2413 (ค.ศ. 1269 - 1270) ยูลิอุส ไมเออร์ (Julius Meyer) นักวิทยาศาสตร์ ชาว
เยอรมัน และดิมิทรี เมนเดเลเยฟ (Dimitri Mendelejev) ได้ศึกษารายละเอียดของธาตุต่าง ๆ มากขึน ทําให้มี
ข้อสังเกตเช่นเดียวกันว่า

ยูลิอุส โลทาร์ ไมเออร์ (นักเคมีชาวเยอรมัน) Dmitri Ivanovich Mendeleev


 ถ้าเรี ยงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่า ธาตุมีสมบัติคล้ายกันเป็ นช่วง ๆ
 การค้นพบสมบัตินี เมเดเลเอฟจึงตังเป็ นกฎเรี ยกว่า “กฎพีริออดิก” โดยได้เสนอความคิดนีในปี พ.ศ.
2412 ก่อนทีไมเออร์ จะเสนอผลงานเพียงหนึงปี
 เพือเป็ นเกียรติแก่เมเดเลเอฟ จึงเรี ยกตารางนีว่า ตารางพีริออดิกของเมเดเลเอฟ
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 30
 เกณฑ์ ทีสํ าคัญทีเมนเดเลเอฟใช้ คือ
 จัดธาตุทีมีสมบัติคล้ายคลึงกันทีปรากฏซํากันเป็ นช่วง ๆ ให้อยูใ่ นหมู่หรื อในแนวตังเดียวกัน
 และพยายามเรี ยงลําดับมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก
 ในกรณี ทีเรี ยงตามมวลอะตอมแล้วสมบัติของธาตุไม่สอดคล้องกัน ก็พยายามจัดให้เข้าหมู่โดยปล่อยให้ช่อง
ว่างเว้นไว้ในตาราง
 เมนเดเลเอฟคิดว่า ช่องว่างเหล่านันน่าจะเป็ นตําแหน่งของธาตุซึงยังไม่มีการค้นพบในขณะนัน
จึงได้ทาํ นายสมบัติของธาตุทียังไม่มีการค้นพบไว้ 3 ธาตุ โดยให้ชือว่า เอคา–โบรอน , เอคา–อะลูมินมั , เอ
คา–ซิ ลิคอน ซึ งในเวลาต่อมาได้มีผคู ้ น้ พบธาตุทีเมเดเลเอฟได้ทาํ นายไว้ ซึ งก็คือธาตุสแกนเดียม
(Sc) แกลเลียม (Ga) และเจอร์ มเเนียม (Ge) ตามลําดับ
ตารางเปรี ยบเทียบสมบัติของเอทา-ซิลิคอน กับ เจอร์ เมเนี ยม
สมบัติ เอคา-ซิลิคนิ เจอร์ เมเนียม
ทํานายเมือ พ.ศ. ทํานายเมือ พ.ศ.
มวลอะตอม 72 72.6
3
ความหนาแน่น (g/cm ) 5.5 5.47
สี เทาเข้ม เทาขาว
3
ความหนาแน่นของออกไซด์ (g/cm ) EsO2 = 4.7 GeO2 = 4.7
ความหนาแน่นของคลอไรด์(g/cm3) EsCl4 = 1.9 GeCl4 = 1.89
จุดเดือดสารประกอบของคลอไรด์ < 100 oC 86 oC

 ในการจัดตารางธาตุนอกจากจะใช้มวลอะตอมแล้ว ยังใช้สมบัติทางเคมีและทางกายภาพของสารประกอบ
อืน ๆ นอกเหนือจากสารประกอบคลอไรด์ และออกไซด์มาประกอบการพิจารณาด้วย

 อย่างไรก็ตามเมนเดเลเอฟไม่สามารถอธิบายได้ว่า เพราะเหตุใดจึงต้องจัดเรี ยงธาตุตามมวลอะตอม เนืองจากสมัย


นันนักวิทยาศาสตร์ ยงั ศึกษาโครงสร้างของอะตอมและไอโซโทปได้ไม่ ชัดเจน

รูปแสดง ตารางธาตุของเมนเดเลเยฟ
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 31

 นักวิทยาศาสตร์ รุ่นต่อมาเกิดแนวความคิดว่า ตําแหน่งของธาตุในตารางธาตุไม่น่าจะขึนอยูก่ บั มวลอะตอมของ


ธาตุ แต่น่าจะขึนอยูก่ บั สมบัติอืนทีมีความสัมพันธ์กบั มวลอะตอม
 เฮนรี โมสลีย ์ นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ ได้เสนอให้จดั ธาตุเรี ยงตามเลขอะตอม เนืองจากสมบัติต่างๆ ของธาตุ
มีความสัมพันธ์กบั ประจุบวกในนิวเคลียสหรื อเลขอะตอมมากกว่ามวลอะตอม
 ตารางธาตุในปัจจุบนั จึงได้จดั เรี ยงธาตุตามเลขอะตอมจากน้อยไปมากซึ งสอดคล้อง กับกฎพิริออดิกทีได้กล่าว
มาแล้ว
4) ตารางธาตุของเฮนรี โมสลีย์
 เฮนรี โมสลีย ์ (Henry Moseley) นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ ได้แก้ไขตารางธาตุของเมนเดเลเอฟให้ถูกต้องขึน
โดยพบว่าเลขอะตอม หรื อจํานวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุ มีความสัมพันธ์กบั สมบัติของธาตุมากกว่ามวล
อะตอม
 ทําให้สอดคล้องกับกฎพีริออดิกมากกว่า จึงสามารถสร้างตารางธาตุได้โดยไม่ตอ้ งสลับทีธาตุบางธาตุเหมือนกรณี
การจัดเรี ยงตามมวลอะตอม
 ประมาณปี พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) โมสลียจ์ ึงเสนอตารางธาตุใหม่
 โดยเรี ยงตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก
 และจัดธาตุทีมีสมบัติคล้ายคลึงกันให้อยูใ่ นหมู่เดียวกัน
 และกําหนดกฎตารางธาตุขึนใหม่เป็ น “สมบัติต่าง ๆ ของธาตุในตารางธาตุขึนอยูก่ บั เลขอะตอมของธาตุ”
5) ตารางธาตุในปัจจุบัน
 เนืองจากปัจจุบนั นักเคมีพบว่า การจัดเรี ยงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุมีส่วนสัมพันธ์กบั สมบัติต่าง ๆ ของ
ธาตุ
 กล่าวคือ ถ้าเรี ยงลําดับธาตุตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก จะพบว่าธาตุทีมีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็ นช่วง ๆ ตาม
ลักษณะของการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุนนั
 ดังนันในปัจจุบนั จึงจัดตารางธาตุโดยเรี ยงตามเลขอะตอมจากน้อยไปมาก ดังรู ป

รูปแสดงตารางธาตุในปัจจุบัน
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 32
 จากตารางธาตุในรูปข้ างต้ น เป็ นแบบทีใช้ กันอยู่มากในปัจจุบัน แบ่ งธาตุเป็ น

แนวตัง หรือ หมู่ (group) มี 18 แถว หรือ 18 หมู่ แบ่ งเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ได้ แก่

 กลุ่ม A มี 8 หมู่ คือ หมู่ IA ถึง VIIIA


ธาตุในแต่ ละหมู่ ของกลุ่ม A ถ้ ามีสมบัติคล้ ายกันจะมีชือเรียกเฉพาะหมู่
 ธาตุหมู่ IA เรี ยกว่า โลหะอัลคาไล (alkali metal)
ได้แก่ Li , Na , K , Rb , Cs , Fr
 ธาตุหมู่ IIA เรี ยกว่า โลหะอัลคาไลน์เอิร์ท (alkaline earth)
ได้แก่ Be Mg Ca Sr Ba Ra
 ธาตุหมู่ VIIA เรี ยกว่า ธาตุเฮโลเจน (halogen)
ได้แก่ F Cl Br I At
 ธาตุหมู่ที VIIIA เรี ยกว่า ก๊าซเฉื อย (Inert gas)
ได้แก่ He Ne Ar Kr Xe Rn

 กลุ่ม B มี หมู่ คือ หมู่ IB ถึง VIIIB (อยู่ระหว่ างหมู่ IIA และ IIIA)
เรียกธาตุกลุ่ม B ว่ า ธาตุแทรนซิ ชัน ( หมู่ แต่มี แนวตัง)

แนวนอน หรือ คาบ (period) มี คาบ ซึงแต่ ละคาบอาจมีจํานวนธาตุไม่ เท่ ากัน เช่ น

 คาบที 1 มี 2 ธาตุ คือ H , He


 คาบที 2 มี 8 ธาตุ คือ ตังแต่ Li ถึง Ne
 คาบที 3 มี 8 ธาตุ คือ ตังแต่ Na ถึง Ar
 คาบที 4 มี 18 ธาตุ คือ ตังแต่ K ถึง Kr
 คาบที 5 มี 18 ธาตุ คือ ตังแต่ Rb ถึง Xe
 คาบที 6 มี 32 ธาตุ คือ ตังแต่ Cs ถึง Rn
 คาบที 7 มี 19 ธาตุ คือ ตังแต่ Fr ถึง Ha

 สํ าหรับ 2 แถวล่ าง เป็ นธาตุกลุ่มย่อยทีแยกมาจากหมู่ IIIB ในคาบที 6 และ 7 เรียกธาตุในกลุ่มย่อยนีรวม ๆ ว่ า


 กลุ่มธาตุแลนทาไนด์ (เลขอะตอม 58 - 71 )
 กลุ่มธาตุแอกทิไนด์ (เลขอะตอม 90 - 103 )

 นอกจากนีเมือพิจารณาธาตุหมู่ IIIA ไปทางขวามือ จะพบเส้ นหนักหรือเส้ นทึบเป็ นแบบขันบันได เส้ นหนักนีจะเป็ นเส้ น
แบ่ งกลุ่มธาตุโลหะและอโลหะ กล่ าวคือ
 ธาตุทางขวาของเส้นขันบันไดจะเป็ น อโลหะ
 ธาตุทางซ้ายของเส้นขันบันไดจะเป็ น โลหะ
 ธาตุทีอยูช่ ิดกับเส้นขันบันได เป็ นธาตุกึงโลหะ ซึ งมีทงสมบั
ั ติของโลหะและอโลหะ เช่น ธาตุ B , Si ,Ge ,As , Sb , Te

 การตังชือธาตุทีค้นพบใหม่
 จากตารางธาตุในรู ป จะพบว่ามีธาตุอยู่ 109 ธาตุ ซึ งยังมีการค้นพบธาตุใหม่ ๆ เพิ มขึนอีกหลายธาตุ แต่ยงั ไม่ได้
กําหนดสัญลักษณ์ทีแน่นอนไว้ในตารางธาตุ
 ธาตุบางธาตุถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ หลายคณะ ทําให้มีชือเรี ยกและสัญลักษณ์ต่างกัน
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 33
 ตัวอย่ างการตังชือธาตุทีค้นพบใหม่
ยังไม่ มีการตังหลักเกณฑ์
ธาตุที 104 ค้นพบโดยคณะนักวิทยาศาสตร์ 2 คณะ คือ
คณะของนักวิทยาศาสตร์ สหรัฐอเมริ กา ซึ งเรี ยกชือว่า รัทเทอร์ ฟอร์เดียม (Ratherfordium) และใช้สัญลักษณ์ Rf
ในขณะทีคณะนักวิทยาศาสตร์ สหภาพโซเวียตเรี ยกชือว่าเคอร์ ซาโตเวียม (Kurchatovium) ใช้สัญลักษณ์ Ku
ธาตุที 105 ค้นพบโดยคณะนักวิทยาศาสตร์ 2 คณะเช่นเดียวกัน คือ
คณะนักวิทยาศาสตร์ สหรัฐอเมริ กาเรี ยกชือว่า ฮาห์เนียม (Hahnium) และใช้สัญลักษณ์ Ha
ในขณะทีนักวิทยาศาสตร์ สหภาพโซเวียตใช้ชือว่า นิลส์บอห์เรี ยม (Neilbohrium) และใช้สัญลักษณ์เป็ น Ns
การทีคณะนักวิทยาศาสตร์ ต่างคณะตังชือแตกต่างกัน ทําให้เกิดความสับสน

มีการตังหลักเกณฑ์
International Union of Pure and Applied Chemistry (IUPAC) ได้กาํ หนดระบบการตังชือขึนใหม่ โดย
 ใช้กบั ชือธาตุทีมีเลขอะตอมเกิน 100 ขึนไป
 ทังนีให้ตงชืั อธาตุโดยระบุเลขอะตอมเป็ นภาษาละติน แล้วลงท้ายด้วย ium
 ระบบการนับเลขในภาษาละติน เป็ นดังนี

0 nil (นิล) 5 pent (เพนท์)


1 un (อุน) 6 hex (เฮกซ์)
2 bi (ไบ) 7 sept (เซปท์)
3 tri (ไตร) 8 oct (ออกตฺ )
4 quad (ควอด) 9 enn (เอนน์)

 ตัวอย่ างเช่ น
ธาตุที 104 ตามระบบ IUPAC อ่านว่า อุนนิลควอเดียม (Unnilquadium) สัญลักษณ์ Unq
ธาตุที 105 ตามระบบ IUPAC อ่านว่า อุนนิลเพนเทียม (Unnilpentium) สัญลักษณ์ Unp
ธาตุที 114 ตามระบบ IUPAC อ่านว่า อุนอุนควอเดียม (Ununhexium) สัญลักษณ์ Uuq
ธาตุที 115 ตามระบบ IUPAC อ่านว่า อุนอุนเพนเทียม (Unnilpentium) สัญลักษณ์ Uup

 การจัดตารางธาตุเป็ นหมู่เป็ นคาบ ทําให้ศึกษาสมบัติต่าง ๆ ของธาตุได้ง่ายขึน


 สามารถทํานายสมบัติบางประการของธาตุบางธาตุได้ กล่าวคือ
 ธาตุทีอยูใ่ นหมู่เดียวกันจะมีสมบัติต่าง ๆ คล้าย ๆ กัน
 และธาตุทีอยูใ่ นคาบเดียวกัน จะมีแนวโน้มของการเปลียนแปลงสมบัติต่าง ๆ ต่อเนืองกันไป
 ซึ งจะกล่าวถึงรายละเอียดต่อไป
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 34
2.2 สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
 จากการศึกษาการจัดเรี ยงธาตุในตารางธาตุ ช่วยให้ทราบว่าตารางธาตุในปัจจุบน
ั จัดธาตุเป็ นหมู่และเป็ นคาบ โดยอาศัย
สมบัติ บางประการทีคล้ายกัน
 สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบซึ งได้แก่ ขนาดอะตอม รัศมีไอออน พลังงาน ไอออไนเซชัน อิเล็กโทรเนกาติวิตี
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน จุดหลอมเหลวและจุดเดือด และเลขออกซิ เดชัน
สมบัติดงั กล่าวนีจะมีแนวโน้มเป็ นอย่างไรศึกษาได้ดงั นี

1) ขนาดอะตอม

 ตามแบบจําลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก อิเล็กตรอนทีอยูร่ อบนิวเคลียสจะเคลือนทีตลอดเวลาด้วยความเร็ วสู งและไม่


สามารถบอกตําแหน่งทีแน่นอนรวมทังไม่สามารถกําหนดขอบเขตทีแน่นอนของ อิเล็กตรอนได้
 นอกจากนีอะตอมโดยทัวไปไม่อยูเ่ ป็ นอะตอมเดียวแต่จะมีแรงยึดเหนียวระหว่าง อะตอมไว้ดว้ ยกัน จึงเป็ นเรื องยากที
จะวัดขนาดของอะตอมทีอยูใ่ นภาวะอิสระหรื อเป็ นอะตอม เดียว
 ในทางปฏิบตั ิจึงบอกขนาดอะตอมด้วยรัศมีอะตอม ซึ งมีค่าเท่ากับครึ งหนึงของระยะหว่างนิวเคลียสของอะตอมทัง
สองทีมีแรง ยึดเหนียวระหว่างอะตอมไว้ดว้ ยกันหรื อทีอยูช่ ิดกัน
 รัศมีอะตอมมีหลายแบบซึ ง ขึนอยูก่ บั ชนิดของแรงทียึดเหนียวระหว่างอะตอม ดังตัวอย่าง
 รัศมีโคเวเลนต์ คือระยะทางครึ งหนึงของความยาวพันธะโคเวเลนต์* ระหว่างอะตอมชนิดเดียวกัน
ตัวอย่ างรัศมีโคเวเลนต์ ของไฮโดรเจนและคลอรี นแสดงได้ดงั นี
ความยาวพันธะ H - H = 74 pm

รัศมีโคเวเลนต์ของ H = = 37 pm

ความยาวพันธะ Cl - Cl = 198 pm
รัศมีโคเวเลนต์ของ Cl = = 99 pm

รูปแสดงรัศมีอะตอมของไฮโดรเจนและคลอรีน

 ในกรณีทีเป็ นพันธะโคเวเลนต์ ระหว่ างอะตอมต่ างชนิดกันเช่ น CCl4 อาจหารั ศมีอะตอมของธาตุทังสอง


 ในทีนีคือคาร์ บอนกับคลอรีนและทราบรัศมีอะตอมของธาตุคลอรีนดังตัวอย่ าง
จากข้อมูลทราบว่า ความยาวพันธะ C-CI = 176 pm
รัศมีอะตอมของ CI = 99 pm C Cl
ดังนัน รัศมีอะตอมของ C = (176-99)
176 pm
= 77 pm
รัศมี C รัศมี Cl = 99 pm
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 35
 รัศมีแวนเดอร์ วาลส์ คือระยะทางครึ งหนึงของระยะระหว่างนิวเคลียสของอะตอมทีอยูใ่ กล้ทีสุ ด
ตัวอย่างรัศมีแวนเดอร์ วาลส์ซึงหาจากอะตอมของแก๊สเฉื อย
เช่น รัศมีอะตอมของธาตุคริ ปทอน หรื อหาจากโมเลกุลโคเวเลนต์ 2 โมเลกุลทีสัมผัสกัน เช่น โมเลกุลของแก๊ส
ไฮโดรเจน 2 โมเลกุล ดังตัวอย่าง

รูปแสดงรัศมีแวนเดอร์ วาลส์ ของคริปทอนและไฮโดรเจน

คําถามชวนคิด
รัศมีโคเวเลนต์กบั รัศมีแวนเดอร์ วาลส์แตกต่างกันอย่างไร
ขนาดอะตอมของ H ทีเป็ นรัศมีโคเวเลนต์กบั รัศมีแวนเดอร์ วาลส์มคี ่าแตกต่างกันหรื อไม่ อย่างไร

 รัศมีโลหะ ระยะทางครึ งหนึงของระยะระหว่างนิวเคลียสของอะตอมโลหะทีอยูใ่ กล้กนั มากทีสุ ด


เช่น ธาตุแมกนีเซี ยม มีระยะระหว่างนิวเคลียสของอะตอมสองอะตอมอยูใ่ กล้กนั ทีสุ ดเท่ากับ 320 พิโกเมตร

รัศมีอะตอมของโลหะแมกนีเซี ยมจึงมีค่าเท่ากับ ซึ งเท่ากับ 160 พิโกเมตร

 การศึกษารัศมีอะตอมของธาตุ ทําให้ทราบขนาดอะตอมของธาตุ
 และสามารถเปรี ยบเทียบขนาดอะตอมของธาตุทีอยูใ่ น คาบเดียวกันหรื อหมู่เดียวกันได้
 ตัวอย่างรัศมีอะตอมของธาตุในตารางธาตุ แสดงดังรู ปต่อไปนี
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 36
ขนาดอะตอม เล็กสุ ด

ขนาดอะตอม

ใหญ่ สุด รูปแสดง รัศมีอะตอม (พิโกเมตร) ของธาตุในตารางธาตุ


 จากรูปแสดงรัศมีอะตอมของธาตุในตารางธาตุ สามารถสรุปแนวโน้ มขนาดอะตอม ดังนี
1) ธาตุโลหะแสดงด้ วยค่ารัศมีโลหะ ธาตุอโลหะแสดงด้ วยค่ ารัศมีโคเวแลนต์ ส่ วนธาตุหมู่ VIIA เป็ นรัศมีแวนเดอร์ วาลส์
2) แนวโน้ มตามคาบ
 เมือพิจารณาขนาดอะตอมของธาตุทีอยู่ในคาบเดียวกัน พบว่ า เมือเลขอะตอมเพิมขึน ขนาดอะตอมมีแนวโน้ ม
เล็กลง (เล็กลงจากซ้ ายไปขวา )อธิบายได้ ว่า
เลขอะตอมเพิมขึน จํานวนโปรตอนในนิวเคลียส และ เวเลนซ์ e- เพิ ม

เวเลนซ์ e- จะดึงดูดกับโปรตอนด้วยแรงดึงดูดสู ง

เวเลนซ์ e- จะเข้าใกล้นิวเคลียสมาก

อะตอมจึงมีขนาดเล็ก
3) แนวโน้ มตามหมู่
 เมือพิจารณาขนาดอะตอมของธาตุทีอยู่ในหมู่เดียวกัน พบว่ า เมือเลขอะตอมเพิมขึน ขนาดอะตอมมีแนวโน้ ม
ใหญ่ ขึน (ใหญ่ ขึนจากบนลงล่ าง) อธิบายได้ ว่า

เลขอะตอมเพิมขึน จํานวนโปรตอนในนิวเคลียส และ เวเลนซ์ e- เพิ ม

จํานวนระดับพลังงานเพิ ม

e- ในระดับพลังงานชันใน เป็ นคล้ายฉากกันแรงดึงดูดระหว่าง


โปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียสทําให้แรงดึงดูดน้อย

เวเลนซ์ e- จะอยูห่ ่างจากนิวเคลียส

อะตอมจึงมีขนาดใหญ่
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 37
1.2) รัศมีไอออน

 อะตอมซึ งมีจาํ นวนโปรตอนเท่ากับอิเล็กตรอน เมือรับอิเล็กตรอนเพิ มเข้ามาหรื อเสี ยอิเล็กตรอนออกไป อะตอมจะ


กลายเป็ นไอออน
นักเรี ยนคิดว่ าขนาดของไอออนกับขนาดอะตอมของธาตุเดียวกันจะแตกต่ างกันหรื อไม่
 การบอกขนาดของไอออนทําได้เช่นเดียวกับการบอกขนาดอะตอม กล่าวคือจะบอกเป็ นค่ารัศมีไอออน
 ซึ งพิจารณาจากระยะระหว่างนิวเคลียสของไอออนคู่หนึงๆ ทีมีแรงยึดเหนียวซึ งกันและกันในโครงผลึก
 ตัวอย่างรัศมีไอออนของ Mg2+ และ O2- ในสารประกอบ MgO แสดงดังรู ปต่อไปนี

รูปแสดง การเปรียบเทียบขนาดอะตอมกับไอออน
 เมือโลหะทําปฏิกิริยากับอโลหะ ขนาดของ Mg กับ Mg2+ และ O กับ O2- แตกต่ างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
โลหะ (เสี ย e- ง่ าย)
 โลหะจะเสี ยเวเลนซ์อิเล็กตรอนกลายเป็ นไอออนบวก
 จํานวนอิเล็กตรอนในอะตอมจึงลดลง ทําให้แรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนลดลงด้วย (แรงดึงดูดมาก)
 หรื อกล่าวอีกนัยหนึงได้ว่าแรงดึงดูดระหว่างประจุในนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนจะเพิ มมากขึน
 ไอออนบวกจึงมีขนาดเล็กกว่าอะตอมเดิม
อโลหะ (รับ e-)
 อโลหะจะรับอิเล็กตรอนเพิ มเข้ามาและเกิดเป็ นไอออนลบ
 จํานวนอิเล็กตรอนในอะตอมจึงมากขึน ทําให้แรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนมากขึนด้วย (แรงดูดน้อย)
 ขอบเขตของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนจะขยายออกไปจากเดิม
 ไอออนลบจึงมีมีขนาดใหญ่กว่าอะตอมเดิม
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 38

รูปแสดง รัศมีอะตอมและรัศมีไอออน (พิโกเมตร) ของธาตุบางชนิด

 จากรูป สามารถสรุปแนวโน้ มรัศมีไอออนได้ ดังนี


หมู่ IA IIA IIIA และ VIIA มีแนวโน้มเช่นเดียวกัน คือ อะตอมและไอออนมีขนาดเพิ มขึนจากบนลงล่าง
รัศมีไอออนบวกจะมีค่าน้อยกว่ารัศมีอะตอม แต่รัศมีไอออนลบจะมีค่ามากกว่ารัศมีอะตอม
การเปรี ยบเทียบขนาดไอออนทีมีความหมาย จะเปรี ยบเทียบระหว่างไอออนทีมีการจัดอิเล็กตรอนเหมือนกัน
หรื อมีจาํ นวน อิเล็กตรอนเท่ากัน
เช่น Na+ กับ F- ซึ งมี 10 อิเล็กตรอนเท่ากันและจัดอิเล็กตรอนเหมือนกัน พบว่า
 Na+ มีขนาดไอออนเล็กกว่ า F-

เพราะ Na+ มีประจุบวกในนิวเคลียสมากกว่า F- จะเกิดแรงดึงดูดเวเลนซ์ e- ให้เข้าใกล้นิวเคลียสมาก


ไอออนจึงมีขนาดเล็ก
เพราะ F- มีประจุลบในนิวเคลียสมากกว่า Na+ จะเกิดแรงผลักระหว่างเอิเล็กตรอนในนิวเคลียสกับ
เวเลนซ์ e- ทําให้ไอออนมีขนาดใหญ่ขึน

ไอออนบวกทีจัดอิเล็กตรอนเหมือนกัน ไอออนบวกทีมีประจุมากจะมีขนาดเล็กกว่าไอออนบวกทีมีประจุนอ้ ย
ขณะทีไอออนลบทีจัดอิเล็กตรอนเหมือนกัน ไอออนลบทีมีประจุมากจะมีขนาดใหญ่กว่าไอออนบวกทีมีประจุ
น้อย

นันคือ ขนาดไอออนบวก (ใหญ่ไปเล็ก) 1+ > 2+ > 3+ (+ มากเล็กสุ ด )


ขณะที ขนาดไอออนลบ (ใหญ่ไปเล็ก) 3- > 2- > 1- (- มาก ใหญ่สุด)
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 39

1.3) พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy ; IE)

 เมือให้พลังงานแก่อะตอมของธาตุในสถานะของเหลวหรื อของแข็งในปริ มาณทีมากพอ จะทําให้อะตอมเปลียนสถานะ


เป็ นแก๊สได้
 และถ้าให้พลังงานต่อไปอีกจนสู งเพียงพอ ก็จะทําให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมกลายเป็ นไอออน
 พลังงานปริ มาณน้อยทีสุ ดทีทําให้อิเล็กตรอนหลุดจากอะตอมในสถานะแก๊สเรี ยกว่า พลังงานไอออไนเซชัน (IE)

ตัวอย่ างเช่ น การทําให้ ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะแก๊ สกลายเป็ นไฮโดรเจนไอออนในสถานะแก๊ สเขียน ดังนี


H (g) H+ (g) + e-
การทําให้ อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมของไฮโดรเจนจะต้ องใช้ พลังงานอย่ างน้ อยทีสุ ด . x 10-18 จูลต่ ออะตอม
หรือ 1318 กิโลจูลต่ อโมล* นันคือพลังงานไอออไนเซชันของไฮโดรเจนอะตอมเท่ ากับ 1318 กิโลจูลต่ อโมล
ธาตุไฮโดรเจนมี 1 อิเล็กตรอน จึงมีค่าพลังงานไอออไนเซชันเพียงค่าเดียว
ถ้าเป็ นธาตุทีมีหลายอิเล็กตรอนก็จะมีพลังงานไอออไนเซชันหลายค่า

 พลังงานน้อยทีสุ ดทีทําให้อิเล็กตรอนตัวแรกหลุดออกจากอะตอมทีอยูใ่ นสถานะแก๊ส เรี ยกว่า พลังงานไอออไนเซชัน


ลําดับทีหนึง เขียนย่อเป็ น IE1
 พลังงานทีทําให้อิเล็กตรอนในลําดับต่อๆ มาหลุดออกจากอะตอมก็จะเรี ยกว่าพลังงานไอออไนเซชันลําดับที 2 3 4 …
เขียนย่อเป็ น IE2 IE3 IE4….
ตัวอย่ างเช่ น ธาตุโบรอน (B) มี 5 อิเล็กตรอน จึงมีพลังงานไอออไนเซชัน 5 ค่า เขียนแสดงได้ดงั นี
B (g) B+ (g) + e- ; IE1 = 807 kJ/mol
+ 2+ -
B (g) B (g) + e ; IE2 = 2433 kJ/mol
2+ 3+ -
B (g) B (g) + e ; IE3 = 3666 kJ/mol
3+ 4+ -
B (g) B (g) + e ; IE4 = 25033 kJ/mol
B4+ (g) B5+ (g) + e- ; IE3 = 32834 kJ/mol
 สํ าหรับพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ 20 ธาตุแรกเรียงตามเลขอะตอมแสดงไว้ ในตารางต่ อไปนี
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 40
 จากรูปข้ างต้ น
1) G.H.Aylward. T.J.V. Findlay, S.I Chemical : Data (5th edition. 1994) p. 126 John Wiley & Sons Australia, Ltd.
2) ตัวเลขทางด้านขวาของขันบันได เป็ นค่า IE ของการทําให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกจากอะตอม
 การเปรียบเทียบพลังงานไอออไนเซชันของธาตุจะใช้ เฉพาะค่ า ซึงเมือนําค่าพลังงานไอออไนเซชันลําดับที 1 ของธาตุบาง
ธาตุในตารางธาตุมาแสดงจะได้ ดังนี

 จากรูป สามารถสรุปแนวโน้ มค่ า ของธาตุตามหมู่และตามคาบได้ ดังนี


1) แนวโน้ มตามคาบ เมือพิจารณาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที 1 ของธาตุตามคาบ พบว่ า เมือเลขอะตอมเพิมขึน
พลังงานไอออไนเซชันจะมีแนวโน้ มเพิมขึน (IE เพิมขึนจากซ้ ายไปขวา) อธิบายได้ ว่า
เลขอะตอมเพิ มขึน จํานวนโปรตอนในนิวเคลียสและเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพิ มขึน

แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับเวเลนซ์อเิ ล็กตรอนเพิ มมากขึน (อะตอมขนาดเล็กลง)

อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมยาก ต้องใช้พลังงานในการดึงอิเล็กตรอนให้หลุดมาก (IE สู ง)

2) แนวโน้ มตามหมู่ เมือพิจารณาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที 1 ของธาตุตามหมู่ พบว่ า เมือเลขอะตอมเพิมขึน พลังงาน


ไอออไนเซชันมีแนวโน้ มลดลง (IE ลดลงจากบนลงล่ าง) อธิบายได้ ว่า

เลขอะตอมเพิ มขึน จํานวนโปรตอนในนิวเคลียสและเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพิ มขึน

จํานวนระดับพลังงานเพิ มขึน

e- ในระดับพลังงานชันใน เป็ นคล้ายฉากกันแรงดึงดูดระหว่าง


โปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียสทําให้แรงดึงดูดน้อย (อะตอมขนาดใหญ่ขึน)

อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมง่าย ใช้พลังงานในการดึงอิเล็กตรอนให้หลุดออกน้อย (IE ตํา)


โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 41
1.4) อิล็กโทรเนกาทิวิตื (Electronegativity ; EN)
 เมืออะตอมของธาตุต่างชนิดรวมตัวเป็ นโมเลกุลโดยใช้อิเล็กตรอนคู่ร่วมกัน นิวเคลียสของอะตอมทังสองจะดึงดูด
อิเล็กตรอนคู่ทีใช้ร่วมกันด้วยแรงทีต่างกัน
 ทําให้อะตอมทีสามารถดึงดูดอิเล็กตรอนได้ดีกว่าเกิดสภาพอํานาจไฟฟ้ าค่อนข้างเป็ นลบ ส่ วนอะตอมทีดึงดูดอิเล็กตรอน
ได้นอ้ ยกว่าจะเกิดสภาพอํานาจไฟฟ้ าค่อนข้างเป็ นบวก

 ความสามารถของอะตอมในการดึงดูดอิเล็กตรอนในโมเลกุลของสารเรี ยกว่า อิเล็กโทรเนกาติวิตี เขียนย่อ EN เช่น


โมเลกุล HCI
 เนืองจาก CI ดึงดูดอิเล็กตรอนได้ดีกว่า H ดังนัน CI จึงมีค่า อิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่า H ในโมเลกุล
โมเลกุล OF2
 เนืองจาก F ดึงดูดอิเล็กตรอนได้ดีกว่า O ดังนัน F จึงมีค่าอิเล็กโทรเนกาวิตีสูงกว่า O ในโมเลกุล

 แนวโน้ มค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุในตารางธาตุเป็ นดังนี

รูปแสดง ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุในตารางธาตุ
 จากรูป สามารถสรุปแนวโน้ มค่ าอิเล็กโทรเนกาทิวิตีตามคาบและหมู่ ดังนี
1) แนวโน้ มตามคาบ เมือพิจารณาค่ าอิเล็กโทรเนกาทิวิตขี องธาตุตามคาบ พบว่ า เมือเลขอะตอมเพิมขึน ค่าอิเล็กโทรเน
กาทิวิตี มีแนวโน้ มเพิมขึน (EN เพิมขึนจากซ้ ายไปขวา) อธิบายได้ ว่า

เลขอะตอมเพิ มขึน โปรตอนในนิวเคลียสและเวเลนซ์ e-เพิ มขึน แรงดึงดูดในนิวเคลียสจึงเพิ มขึน (อะตอมเล็กลง)

แรงดึงดูดสู งจึงทําให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมยาก

จึงต้องใช้ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนมาก (EN สู ง)
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 42

2) แนวโน้ มตามหมู่ เมือพิจารณาค่ าอิเล็กโทรเนกาทิวิตขี องธาตุตามหมู่ พบว่ า เมือเลขอะตอมเพิมขึน ค่ าอิเล็กโทร


เนกาทิวิตี มีแนวโน้ มลดลง (EN ลดลงจากบนลงล่ าง) อธิบายได้ ว่า

เลขอะตอมเพิ มขึน จํานวนโปรตอนในนิวเคลียสและเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพิ มขึน

จํานวนระดับพลังงานเพิ มขึน

e- ในระดับพลังงานชันใน เป็ นคล้ายฉากกันแรงดึงดูดระหว่าง


โปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียสทําให้แรงดึงดูดน้อย (อะตอมขนาดใหญ่ขึน)

อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมง่าย ใช้ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนน้อย (EN ตํา)

1.5 สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน

 สมบัติของอะตอมอีกประการหนึง คือ อะตอมของธาตุส่วนใหญ่สามารถรับอิเล็กตรอนเพิ มได้อย่างน้อย 1 อิเล็กตรอน


 ความสามารถในการับอิเล็กตรอนแสดงได้ดว้ ย ค่าสั มพรรคภาพอิเล็กตรอน เขียนย่อเป็ น EA
 ซึ งเป็ นพลังงานทีเปลียนแปลงเมืออะตอมในสถานะแก๊สได้รับอิเล็กตรอน 1 อิเล็กตรอน
 เขียนสมการแสดงการเปลียนแปลงได้ดงั นี

A (g) + e- A- (g) + พลังงาน

 เนืองจากมีการคายพลังงานออกมา EA จึงมีค่าเป็ นลบ


 และถ้ า EA มีค่าเป็ นลบมากแสดงว่ า อะตอมของธาตุนันมีแนวโน้ มทีจะรับอิเล็กตรอนเข้ ามา ได้ ดี
 ความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของแต่ ละธาตุมีความแตกต่ างกัน ดังตัวอย่างต่ อไปนี

F (g) + e- F- (g) มีค่า EA = -333 kJ/mol


O (g) + e- O- (g) มีค่า EA = -142 kJ/mol
P (g) + e- P- (g) มีค่า EA = -74 kJ/mol

จากตัวอย่ างแสดงว่ า
อะตอม F มีแนวโน้มทีจะรับอิเล็กตรอนสู งกว่า O และ P ตามลําดับ
เมืออะตอมของธาตุรับ 1 อิเล็กตรอนแล้ว การับอิเล็กตรอนเพิ มขึนอีก 1 อิเล็กตรอนจึงรับได้ยากขึน
ดังนัน EA จึงมีค่าสู งขึน จนเป็ นค่าบวกได้ เช่น

O- (g) + e- O2- (g) มีค่า EA = +780 kJ/mol

เนืองจากธาตุโลหะ มีแนวโน้มสู งมากทีจะเสี ยอิเล็กตรอน ขณะทีธาตุอโลหะมีแนวโน้มจะรับอิเล็กตรอน


ดังนันค่า EA ของธาตุโลหะ จึงมีค่าเป็ นลบน้อยๆ ถึงค่าบวกน้อยๆ
ตัวอย่างค่ า EA ของธาตุบางธาตุแสดงดังรูปต่ อไปนี
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 43

รูปแสดงค่าสั มพรรคภาพอิเล็กตรอนของธาตุในตารางธาตุ

จากรูป สามารถสรุปแนวโน้ มค่าสั มพรรคภาพอิเล็กตรอนได้ ดังนี


 ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (EA) ของธาตุในหมู่ IA IIA และ IIIA มีค่าเป็ นลบน้อยกว่าธาตุ
ทีอยูท่ างขวามือ
 ซึ งแปลความหมายได้ว่า ธาตุในหมู่ดงั กล่าวมีแนวโน้มทีจะรับอิเล็กตรอนน้อย มาก โดยเฉพาะธาตุในหมู่
IIA ซึ งมีค่านีสู งทีสุ ด แสดงว่ารับอิเล็กตรอนยากทีสุ ด
 ส่ วนธาตุหมู่ IVA VA VIA และ VIIA มีแนวโน้มสู งทีจะรับอิเล็กตรอน โดยเฉพาะหมู่ VIIA ซึ งชอบรับ
อิเล็กตรอนสู งทีสุ ด
 การรับ 1 อิเล็กตรอนของธาตุในหมู่ VIIA นี จะทําให้อะตอมมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนเหมือนแก๊ส เฉื อยที
อยูห่ มู่ถดั ไปซึ งมีความเสถียรมาก EA จึงมีค่าเป็ นลบมาก

1.6 จุดหลอมเหลวและจุดเดือด

 อนุภาคของสารทีอยูร่ วมกันจะมีแรงยึดเหนียวระหว่างกัน
 การแยกอนุภาคของสารออกจากกันอาจใช้วิธีให้ความร้อนแก่สารจนมีอุณหภูมิสูงถึง จุดหลอมเหลวหรื อจุดเดือด
 พลังงานความร้อนทีใช้จะมากหรื อน้อยขึนอยูก่ บั ขนาด (หรื อความแข็งแรง) ของแรงยึดเหนียวระหว่างอนุภาคในสารนัน
 สารทีมีแรงยึดเหนียวระหว่างอนุภาคมากจะมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสู งด้วย
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 44
 ตัวอย่ างจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของธาตุหมู่ IA-VIIA แสดงดังต่ อไปนี

รูปแสดง จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของธาตุในตารางธาตุ

 จากรูป สามารถสรุปแนวโน้ มจุดเดือดและจุดหลอมเหลวได้ ดังนี


1) แนวโน้ มตามคาบของจุดเดือดและจุดหลอมเหลว
ธาตุในหมู่ IA IIA IIIA และ IVA มีแนวโน้มสู งขึนตามลําดับ โดยเฉพาะหมู่ IVA จะมีจุดหลอมเหลวและ
จุดเดือดสู งทีสุ ด สามารถอธิบายได้ว่า
 อธิบายได้ ว่า เมือเลขอะตอมเพิ มขึนอะตอมจะมีจาํ นวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากขึน รวมทังมีแรงยึดเหนียว
ระหว่างนิวเคลียสกับเวเลนซ์อิเล็กตรอนทีเคลือนที อิสระแข็งแรงขึน จุดเดือดจุดหลอมเหลวจึงสู ง
 ส่ วนธาตุหมู่ IVA บางธาตุมีโครงสร้างเป็ นโครงผลึกร่ างตาข่ายจึงทําให้จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีค่า
สู งขึน
ส่ วนหมู่ VA VIA VIIA และ VIIIA มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดตํา และมีค่าใกล้เคียงกัน
 อธิบายได้ ว่า แรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลของธาตุกลุ่มนีมีค่าตํามาก จุดหลอมเหลวและจุดเดือดจึงตํา

2) แนวโน้ มตามหมู่ของจุดเดือดและจุดหลอมเหลว
ธาตุหมู่ IA IIA และ IIIA ส่ วนใหญ่มีค่าลดลงเมือเลขอะตอมเพิ มขึน
ธาตุหมู่ VA VIA VIIA และ VIIIA มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดเพิ มขึนตามเลขอะตอม
สําหรับจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของธาตุหมู่ IVA มีแนวโน้มทีไม่ชดั เจน เนืองจากธาตุในหมู่นีมีโครงสร้างและ
แรงยึดเหนียวระหว่างอะตอมแตกต่างกัน จึงไม่สามารถสรุ ปเป็ นแนวโน้มได้
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 45

1.7 เลขออกซิเดชัน

 นักเรี ยนได้ศึกษามาแล้วว่า สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุตงแต่ ั 2 ธาตุขึนไป


 สําหรับธาตุทีมีพลังงานไอออไนเซชันแตกต่างกันมาก อะตอมของธาตุจะมีการให้และ รับอิเล็กตรอนกลายเป็ นไอออน
บวกกับลบยึดเหนียวกันไว้ ใน
 กรณี ทีธาตุทงคู
ั ่มีค่าพลังงานไอออไนเซชันสู งมาก และธาตุหนึงมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่าอีกธาตุหนึง อะตอมของ
ธาตุทงสองจะใช้
ั อิเล็กตรอนร่ วมกันและเกิดอํานาจไฟฟ้ าบวกกับลบได้
 นักเคมีได้กาํ หนดเลขออกซิ เดชันขึนเพือแสดงถึงค่าประจุไฟฟ้ าหรื อประจุไฟฟ้ าสมมติของไอออนหรื ออะตอมของธาตุขึน
ดังนัน ค่าออกซิเดชัน คือ ค่าประจุไฟฟ้ าหรื อประจุไฟฟ้ าสมมติของไอออนหรืออะตอมของธาตุ

ตัวอย่ างเช่ น
โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ประกอบด้วยโซเดียมไอออน (Na+) ทีมีประจุไฟฟ้ า +1 และคลอไรด์ไอออน (Cl-) ทีมีประจุ
ไฟฟ้ า -1 จึงกําหนดให้โซเดียมมีเลขออกซิ เดชัน +1 และคลอรี นมีเลขออกซิ เดชัน -1
แก๊ สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCI) ประกอบด้วยไฮโดรเจน 1 อะตอมกับคลอรี น 1 อะตอมใช้อิเล็กตรอนร่ วมกัน 1 คู่
แต่เนืองจากคลอรี นมีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่าไฮโดรเจน อิเล็กตรอนคู่ทีใช้ร่วมกันจึงถูกดึงดูดเข้าใกล้นิวเคลียสของ
คลอรี นทําให้ คลอรี นแสดงอํานาจไฟฟ้ าลบ ส่ วนไฮโดรเจนแสดงอํานาจไฟฟ้ าบวก จึงกําหนดเลขออกซิ เดชันของคลอรี น
ให้มีค่าเท่ากับ -1 และไฮโดรเจนเท่ากับ +1

 การกําหนดว่ าธาตุต่างๆ จะมีเลขออกซิเดชันเป็ นเท่ าใด ให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ การกําหนดเลขออกซิเดชันของธาตุดังนี


1) ธาตุอิสระทุกชนิดทีอยู่ในรูปอะตอมหรื อโมเลกุล มีเลขออกซิเดชันเท่ ากับศูนย์ เช่น Ca Na Zn He O2 P4
และ S8 เป็ นต้น
2) ออกซิ เจนในสารประกอบทัวไปมีเลขออกซิเดชัน -2 ยกเว้น
สารประกอบเปอร์ ออกไซด์ เช่น H2O2 , BaO2 ออกซิ เจนมีเลขออกซิ เดชัน -1
สารประกอบซูเปอร์ ออกไซด์ เช่น KO2 ออกซิ เจนมีเลขออกซิ เดชัน -1/2
สารประกอบ OF2 ออกซิ เจนมีเลขออกซิ เดชัน +2
3) ไฮโดรเจนในสารประกอบทัวไปมีเลขออกซิเดชัน +1 ยกเว้น
สารประกอบไฮโดรด์ของโลหะ เช่น NaH หรื อ CaH2 ไฮโดรเจนมีเลขออกซิ เดชัน -1
4) ไอออนของธาตุมีเลขออกซิเดชันเท่ ากับประจุของไอออนนัน ตัวอย่างเช่น
H+ มีเลขออกซิ เดชัน +1
Mg2+ มีเลขออกซิ เดชัน +2
Cl- มีเลขออกซิ เดชัน -1
5) ไอออนทีประกอบด้ วยอะตอมมากกว่ าหนึงชนิด ผลรวมของเลขออกซิเดชันของทุกอะตอมจะเท่ ากับประจุของไอออน
นัน ตัวอย่างเช่น
SO42- มีประจุ -2 ผลรวมของเลขออกซิ เดชัน ของ จึงเท่ากับ -2
MnO4- มีประจุ -1 ผลรวมของเลขออกซิ เดชัน ของ จึงเท่ากับ -1
6) สารประกอบใดๆ ผลรวมของเลขออกซิเดชัน จะเท่ ากับศูนย์ ตัวอย่างเช่น
สารประกอบ MgO เลขออกซิ เดชันของแมกนีเซี ยมเท่ากับ +2 และออกซิ เจน เท่ากับ -2 ผลรวมของเลข
ออกซิ เดชันจึงมีค่าเท่ากับศูนย์
H2SO4 ผลรวมของเลขออกซิ เดชันมีค่าเท่ากับศูนย์
K2SO4 ผลรวมของเลขออกซิ เดชันมีค่าเท่ากับศูนย์
SO4 ผลรวมของเลขออกซิ เดชันมีค่าเท่ากับศูนย์
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 46

ตัวอย่างเลขออกซิเดชันต่ าง ๆ ของธาตุ

 จากตารางดังกล่ าว จะพบว่ า
ธาตุหมู่ IA IIA และ IIIA มีเลขออกซิ เดชันเพียงค่าเดียวคือ +1 +2 และ +3 ตามลําดับ
ส่ วนธาตุหมู่ IVA VA VIA และ VIIA บางชนิดมีเลขออกซิ เดชันหลายค่า เช่น คาร์ บอนมีเลขออกซิ เดชัน
-4 +2 และ +4 ไนโตรเจนมีเลขออกซิ เดชัน -3 +1 +2 +3 +4 และ +5 คลอรี นมีเลขออกซิ เดชัน
-1 +1 +3 +5 และ +7
อย่างไรก็ตามมีสิ งเหมือนกันประการหนึงคือ ธาตุเหล่านัน (ยกเว้นฟลูออรี น) มีเลขออกซิ เดชันค่าสู งสุ ดได้เท่ากับ
เลขหมู่หรื อเท่ากับจํานวนเวเลนซ์ อิเล็กตรอน
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 47

 จากตารางและเกณฑ์ ทีกําหนด สามารถนํามาใช้ ในการคํานวณหาเลขออกซิเดชันของธาตุได้ ดังตัวอย่างต่ อไปนี

ตัวอย่ าง 1 จงหาเลขออกซิ เดชันของ Mn ในเปอร์ แมงกาเนตไอออน (MnO4- )


สมมติให้เลขออกซิ เดชันของ Mn = Mn
เลขออกซิ เดชันของ O (จากเกณฑ์) = -2
-
ผลรวมของเลขออกซิ เดชันของอะตอมทังหมดใน MnO4 = ประจุของไอออน
ดังนัน Mn + (-2 x 4) = -1
Mn - 8 = -1
Mn = -1 + 8 = +7
ตอบ เลขออกซิ เดชันของ Mn ใน มีค่า +7

ตัวอย่ าง 2 จงหาเลขออกซิ เดชันของ S ในสารประกอบ K2SO4 SO2 และ H2S


สารประกอบ K2SO4 ประกอบด้วย K 2 อะตอ ม S 1 อะตอม และ O 4 อะตอม
สมมติให้เลขออกซิ เดชันของ S = S
เลขออกซิ เดชันของ K (หมู่ IA) = +1
เลขออกซิ เดชันของ O (จากเกณฑ์) = -2
ผลรวมของเลขออกซิ เดชันของ K2SO4 = 0
ดังนัน (+1 x 2) + S + (-2 x 4) = 0
2+S- 8 = 0
S -6 = 0
S = +6 (ตอบ เลขออกซิ เดชันของ S ใน K2SO4 คือ +6)

สารประกอบ SO2 ประกอบด้วย S 1 อะตอม และ O 2 อะตอม


สมมติให้เลขออกซิ เดชันของ S = S
เลขออกซิ เดชันของ O (จากเกณฑ์) = -2
ผลรวมของเลขออกซิ เดชันของ SO2 = 0
ดังนัน S + (-2 x 2) = 0
S - 4 = 0
S = +4 (ตอบ เลขออกซิ เดชันของ S ใน SO2 คือ +4)

สารประกอบ H2S ประกอบด้วย H 2 อะตอม และ S 1 อะตอม


สมมติให้เลขออกซิ เดชันของ S = S
เลขออกซิ เดชันของ H (จากเกณฑ์) = +1
ผลรวมของเลขออกซิ เดชันของ H2S = 0
ดังนัน (+1 x 2) + S = 0
+2 + S = 0
S = - 2 (ตอบ เลขออกซิ เดชันของ S ใน H2S คือ -2)

 จากตัวอย่าง นักเรี ยนจะพบว่าธาตุกาํ มะถัน (S) ในสารประกอบต่างชนิดกันอาจมีเลขออกซิ เดนชันแตกต่างกันได้


 แสดงว่าธาตุกาํ มะถันมีเลขออกซิ เดชันได้หลายค่า
 นักเรี ยนจะเห็นว่ายังมีธาตุอืนอีก ทีมีเลขออกซิ เดชันได้หลายค่า ดังตารางทีได้ศึกษามาแล้ว
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 48

ตัวอย่าง 3 จงหาเลขออกซิเดชันของ Cr ในสารประกอบ Cr2O72-


สมมติให้เลขออกซิ เดชันของ Cr = Cr
เลขออกซิ เดชันของ O (จากเกณฑ์) = -2
ผลรวมของเลขออกซิ เดชันของ Cr2O72- = -2
ดังนัน (Cr x 2) + (-2 x 7) = -2
2Cr - 14 = -2
2Cr = -2 + 14 = +12
Cr = +12/2 = +6
ตอบ เลขออกซิ เดชันของ Cr ในสารประกอบ Cr2O72- คือ +6

ตัวอย่าง 4 จงหาเลขออกซิเดชันของ Mn ในสารประกอบ KMnO4-


สมมติให้เลขออกซิ เดชันของ Mn = Mn
เลขออกซิ เดชันของ K (หมู่ IA) = +1
เลขออกซิ เดชันของ O (จากเกณฑ์) = -2
ผลรวมของเลขออกซิ เดชันของ KMnO4- = -1
ดังนัน (+1 x 1) + Mn + (-2 x 4) = -1
+1 + Mn - 8 = -1
Mn - 7 = -1
Mn = -1 + 7 = +6
ตอบ เลขออกซิ เดชันของ Mn ในสารประกอบ KMnO4- คือ +6

ตัวอย่าง 5 จงหาเลขออกซิเดชันของ C ในสารประกอบ Ca(CO3)


สมมติให้เลขออกซิ เดชันของ C = C
เลขออกซิ เดชันของ Ca (หมู่ IIA) = +2
เลขออกซิ เดชันของ O (จากเกณฑ์) = -2
ผลรวมของเลขออกซิ เดชันของ Ca(CO3) = 0
ดังนัน (+2 x 1) + [ (C x 1) + (-2 x 3)] = 0
+2 + [ C - 6 ] = 0
+2 + C - 6 = 0
C - 4 = 0
C = +4
ตอบ เลขออกซิ เดชันของ Ca ในสารประกอบ Ca(CO3) คือ +4

หมายเหตุ : เลขออกซิเดชันของธาตุ สามารถดูได้ จากตารางและหลักเกณฑ์ ดังกล่ าวข้ างต้ น

 สมบัติต่างๆ ของธาตุในตารางธาตุทีได้ศึกษามาแล้ว จะพบว่าส่ วนใหญ่มีการเปลียนแปลงค่อนข้างสมําเสมอ


 ทําให้สามารถทํานายแนวโน้มสมบัติของธาตุในตารางธาตุได้นอกจากนี ยังมีสมบัติอืนๆ ของธาตุอีกหลายประการซึ งต้อง
พิจารณาจากการเกิดสารประกอบ สมบัติดงั กล่าวนันจะได้ศึกษารายละเอียดในบทต่อไป
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 49

แบบฝึ กหัด เรือง การหาเลขออกซิเดชัน

จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบต่ อไปนี
1. C ใน C2O42-
2. S ใน CaS2
3. S ใน BaSO3
4. P ใน PH4+
5. O ใน O2F2
6. Sb ใน NaSbO2
7. N ใน Al(NO3)3
8. P ใน K2HPO3

You might also like