You are on page 1of 45

ปริมาณสารสัมพันธ์ (1)

มวลอะตอม โมล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พร้ อมพงศ์ เพียรพินิจธรรม
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
มวลอะตอม (1)
มวลอะตอม (atomic mass) คือ มวของหนึ่งอะตอม
- มวลหนึง่ อะตอมเบามาก ไม่สะดวกระบุในหน่วยกรัม (g) 2

- มีหน่วยเป็ น unified atomic mass unit (u) หรื อ dalton (Da)


มวลอะตอม (2)
ตัวอย่ าง ธาตุแมกนีเซียมมีมวลอะตอม 24.31 ธาตุแมกนีเซียม 1 อะตอมมีมวลเท่าใด
3
มวลอะตอม (3)
ตัวอย่ าง ธาตุโซเดียม 10 อะตอม มีมวล 3.82  10-22 กรัม มวลอะตอมของธาตุ
โซเดียมมีคา่ เท่าใด
4
มวลอะตอมเฉลี่ย
5
มวลโมเลกุล (1)
6

ถ้ าทราบสูตรโมเลกุล สามารถหามวลโมเลกุลได้ จากผลบวกของมวลอะตอมของธาตุ


ที่เป็ นองค์ ประกอบ
มวลโมเลกุล (2)
ตัวอย่ าง น ้าตาลทรายมีสตู รโมเลกุล C12H22O11 น ้าตาลทรายมีมวลโมเลกุลเท่าใด
7

มวลโมเลกุลของน ้าตาลทราย = (12 x 12) + (1 x 22) + (16 x 11)


= 144 + 22 + 176
= 342
โมล (1)
โมล หมายถึง ปริ มาณสารที่มีจานวนอนุภาคเท่ากับเลขอาโวกาโดร หรื อ 6.02  1023
8

เช่น
สาร 1 โมล มี 6.02  1023 อนุภาค
สาร 2 โมล มี 2  6.02  1023 อนุภาค
สาร 0.5โมล มี 0.5  6.02  1023 อนุภาค

อนุภาคของสารอาจเป็ นอะตอม โมเลกุล ไอออน หรื ออื่น ๆ ขึน้ อยู่กับประเภท


ของสาร
โมล (2)
9
โมล (3)
10

ลูกบอลสีแดง 12 ลูก หนักลูกละ 7 กรัม = 84 กรัม 55.85 g Fe = 6.022 x 1023 atoms Fe


ลูกบอลสีเหลือง 12 ลูก หนักลูกละ 4 กรัม = 48 กรัม 32.07 g S = 6.022 x 1023 atoms S
โมล (4)
Oxygen
32.00 g 11

Water
CaSO4·2H2O
18.02 g
172.19 g
Copper
63.55 g
ปริมาณสารสัมพันธ์ (2)
โมล สารละลาย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พร้ อมพงศ์ เพียรพินิจธรรม
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
จานวนโมลกับมวลของสาร (1)
2
จานวนโมลกับมวลของสาร (2)
ตัวอย่ าง 1 กำมะถัน 1 mol มีมวล 32.01 g กำมะถัน 160.05 g มีจำนวนโมลเท่ำใด
3

ตัวอย่ าง 2 NaOH 3 mol มีมวลกี่กรัม


ปริมาตรต่ อโมลของแก๊ ส
ภาวะมาตรฐาน (Standard Temperature and Pressure เรียกย่ อว่ า STP) คือภำวะที่มี
อุณหภูมิ 0 C และความดัน 1 บรรยากาศ 4

มวลของแก๊ สบำงชนิด ปริ มำตร 1 ลูกบำศก์เดซิเมตรที่ STP

“แก๊ สใด ๆ 1 โมล มี ป ริ ม าตร


22.4 ลู ก บาศก์ เดซิ เ มตร หรื อ
22.4 ลิตรที่ STP”
ตัวอย่ าง แก๊ สไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) จำนวน 1.51  1023 molecules มีมวล
และปริ มำตรที่ STP เท่ำใด
5

= 5.62 dm3
สารละลาย (1)
- ของผสมเนือ้ เดียว ประกอบด้ วยตัวทาละลายและตัวละลาย
- ปริ มำณตัวละลำยในสำรละลำยระบุได้ ด้วย “ความเข้ มข้ น” 6

1. ร้ อยละ
- โดยมวล

- โดยปริ มำตร

- โดยมวลต่อปริ มำตร
สารละลาย (2)
ตัวอย่ าง สำรละลำยซึง่ ประกอบด้ วยกลูโคส (C6H12O6) จำนวน 100 g ในน ้ำ 200 g มี
ควำมเข้ มข้ นในหน่วยร้ อยละโดยมวลเป็ นเท่ำใด
7

100 𝑔
ควำมเข้ มข้ นในหน่วยร้ อยละ = 100 𝑔 + 200 𝑔
× 100

= 33.3
สารละลาย (3)
ตัวอย่ าง จงหำปริ มำตรของสำรละลำย Fe(NO3)3 เข้ มข้ นร้ อยละ 15 โดยมวล ซึง่ มี
Fe(NO3)3 ละลำยอยู่ 30 g โดยสำรละลำยมีควำมหนำแน่น 1.16 g/cm3
8
ปริมาณสารสัมพันธ์ (3)
สารละลาย สูตรเคมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พร้ อมพงศ์ เพียรพินิจธรรม
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
สารละลาย (4)
2. ส่วนในล้ านส่วน (ppm) และ ส่วนในพันล้ านส่วน (ppb)
ส่วนในล้ านส่วนเป็ นหน่วยที่บอกมวลของตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในสารละลาย 1 2

ล้ านหน่วยมวลเดียวกัน (อาจเป็ นหน่วยปริ มาตรในสารละลาย 1 ล้ านหน่วยปริ มาตรก็ได้ )


𝑔 ตัวละลาย
ppm = × 106
𝑔 สารละลาย
𝑔 ตัวละลาย
ppb = × 109
𝑔 สารละลาย
𝑔 ตัวละลาย
ppt = × 103
𝑔 สารละลาย
ในกรณีที่สารละลายเจือจางมาก ๆ มวลของตัวละลายมีค่าน้ อยมากเมื่อเทียบกับมวลของตัวทา
ละลาย ทาให้ มวลของสารละลายมีคา่ ใกล้ เคียงกันมากกับมวลของตัวทาละลายจนถือว่าเท่ากันได้
สารละลาย (5)
ตัวอย่ าง ถ้ าในอากาศ 100 cm3 มี N2O 3.30  10-5 cm3 ความเข้ มข้ นของ N2O ใน
หน่วย ppb มีคา่ เป็ นเท่าใด 3
สารละลาย (6)
3. โมลาริ ตี (M)
4
สารละลาย (7)
ตัวอย่ าง สารละลายที่ได้ จากการละลาย NaOH จานวน 15 g ในน ้า จนสารละลายมี
ปริ มาตร 250 cm3 จะมีความเข้ มข้ นกี่โมลาร์ 5
สารละลาย (2)
4. โมแลลิตี (m)
6

!!!
สารละลาย (5)
ตัวอย่ าง เมื่อละลายน ้าตาลทราย 34.2 g ในน ้า 500 g สารละลายจะมีความเข้ มข้ น
เท่าใดในหน่วยโมลต่อกิโลกรัม 7

𝑤ตัวละลาย × 1000
𝑚=
𝑤ตัวทาละลาย × 𝑀. 𝑊.
สารละลาย (1)
5. เศษส่วนโมล ()
8
𝑛𝐴
𝜒𝐴 =
𝑛𝐴 + 𝑛𝐵
𝑛𝐵
𝜒𝐵 =
𝑛𝐴 + 𝑛𝐵
𝑛𝐴 +𝑛𝐵
𝜒𝐴 + 𝜒𝐵 = =1
𝑛𝐴 +𝑛𝐵
สารละลาย (2)
ตัวอย่ าง จงคานวณหาเศษส่วนโมลของสาร A ในสารละลายที่ประกอบด้ วย สาร A
1.5 mol สาร B 2.0 mol และ H2O 5.0 mol 9
การเจือจางสารละลาย
C1V1 = C2V2
ตัวอย่ าง ต้ องเติมน ้าปริ มาตรเท่าไหร่ เพื่อเจือจางสารละลาย A ความเข้ มข้ น 3.0 M
10

ปริ มาตร 500 mL ให้ เป็ นสารละลายที่มีความเข้ มข้ น 1.0 M


(3.0 M)(500 mL) = (1.0 M) x V2
V2 = 1500 mL

*** ต้ องเติมนา้ 1500 – 500 = 1000 mL***


การผสมสารละลาย
CรวมVรวม = C1V1 + C2V2 + C3V3 + …
ตัวอย่ าง ผสมสารละลาย NaCl ความเข้ มข้ น 3.00 M ปริ มาตร 750 mL กับ
11

สารละลาย NaCl ความเข้ มข้ น 2.00 M ปริ มาตร 250 mL จะได้ สารละลายที่
มีความเท่าใด
Cรวม(750 mL + 250 mL) = (3.00 M)(750 mL) + (2.00 M)(250 mL)
Cรวม(1000 mL) = (2250 M·mL) + (500 M·mL)
Cรวม(1000 mL) = (2750 M·mL)
Cรวม = 2.75 M
สูตรเคมี (1)
- สูตรโมเลกุล
- สูตรเอมพิริคลั หรื อสูตรอย่างง่าย
12

- สูตรโครงสร้ าง
- การหามวลโมเลกุล โดยพิจารณามวลเป็ นร้ อยละจากสูตร
สูตรเคมี (2)
ตัวอย่ าง จากการวิเคราะห์สารประกอบชนิดหนึง่ พบว่าประกอบด้ วย S 50.1 %
และ O 49.9 % โดยมวล จงหาสูตรเอมพิริคลั ของสารนี ้ 13

อัตราส่วนโดยมวล = 50.1 : 49.9


อัตราส่วนโดยโมล = 50.1/32 : 49.9/16
= 1.566 : 3.119
= 1.566/1.566 : 3.119/1.566
= 1 : 1.992
ดังนัน้ สูตรเอมพิริคัลของสารนีค้ ือ SO2
สูตรเคมี (3)
ตัวอย่ าง จากการวิเคราะห์สารประกอบชนิดหนึ่ง พบว่าประกอบด้ วย C 0.0135 กรัม
และ H 0.0027 กรัม ถ้ ามวลโมเลกุลของสารประกอบนี ้เท่ากับ 58 จงหาสูตร 14

โมเลกุลของสารนี ้
อัตราส่วนโดยมวล = 0.0135 : 0.0027
อัตราส่วนโดยโมล = 0.0135 /12 : 0.0027/1
= 0.001125 : 0.0027
= 0.001125/0.001125 : 0.0027/0.001125
= 1 : 2.4
= 2 : 4.8
สูตรเคมี (3)
ตัวอย่ าง จากการวิเคราะห์สารประกอบชนิดหนึ่ง พบว่าประกอบด้ วย C 0.0135 กรัม
และ H 0.0027 กรัม ถ้ ามวลโมเลกุลของสารประกอบนี ้เท่ากับ 58 จงหาสูตร 15

โมเลกุลของสารนี ้
ดังนัน้ สูตรเอมพิริคัลของสารนีค้ ือ C2H5
สูตรโมเลกุลของสาร อยูใ่ นรูป (C2H5)n
มวลโมเลกุลของสาร เท่ากับ n x มวลตามสูตรเอมพิริคลั
จะได้ 58 = n x {(12 x 2) + (1 x 5)} = n x 29
n = 2
ดังนัน้ สูตรโมเลกุลของสารนีค้ ือ (C2H5)n หรือ C4H10
ปริมาณสารสัมพันธ์ (4)
สมการเคมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พร้ อมพงศ์ เพียรพินิจธรรม
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
สมการเคมี (1)
- สมการแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมี
- อาจระบุสัดส่ วนของสารตังต้
้ นและสารผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาเคมี 2

- อาจระบุสถานะของสารในปฏิกิริยาเคมี
2KI(aq) + Pb(NO3)2(aq)  PbI2(s) + 2KNO3(aq)
CH4(g) + 2O2(g)  CO2(g) + 2H2O(g)
Cu(s) + 2AgNO3(aq)  Cu(NO3)2(aq) + 2Ag(s)
สมการเคมี (2)
ตัวอย่ าง ดุลสมการต่อไปนี ้
NH3(g) + O2(g)  NO(g) + H2O(l) 3

NH3(g) + O2(g)  NO(g) + H2O(l)


NH3(g) + O2(g)  NO(g) + 3/2H2O(l)
NH3(g) + O2(g)  NO(g) + 3/2H2O(l)
NH3(g) + 5/4O2(g)  NO(g) + 3/2H2O(l)
4NH3(g) + 5O2(g)  4NO(g) + 6H2O(l)
สมการเคมี (3)
ตัวอย่ าง ดุลสมการต่อไปนี ้
(NH4)3PO4(aq) + AgNO3(aq)  Ag3PO4(s) + NH4NO3(aq) 4

(NH4)3PO4(aq) + AgNO3(aq)  Ag3PO4(s) + NH4NO3(aq)


(NH4)3PO4(aq) + AgNO3(aq)  Ag3PO4(s) + 3NH4NO3(aq)
(NH4)3PO4(aq) + AgNO3(aq)  Ag3PO4(s) + 3NH4NO3(aq)
(NH4)3PO4(aq) + 3AgNO3(aq)  Ag3PO4(s) + 3NH4NO3(aq)
(NH4)3PO4(aq) + 3AgNO3(aq)  Ag3PO4(s) + 3NH4NO3(aq)
สมการเคมี (4)
ตัวอย่ าง ดุลสมการต่อไปนี ้
CxHy(g) + O2(g)  CO2(g) + H2O(l) 5

CxHy(g) + O2(g)  CO2(g) + H2O(l)


CxHy(g) + O2(g)  xCO2(g) + y/2H2O(l)
CxHy(g) + O2(g)  xCO2(g) + y/2H2O(l)
CxHy(g) + (x + y/4)O2(g)  xCO2(g) + y/2H2O(l)
สมการเคมี (5)
ตัวอย่ าง ปฏิกิริยาการเผาไหม้ แก๊ ส CH4 เกิดขึ ้นดังสมการ
CH4(g) + 2O2(g)  CO2(g) + 2H2O(g) 6

1. คานวณหามวลของ O2 ที่ทาปฏิกิริยาพอดีกบั CH4 24 g

1 𝑚𝑜𝑙𝐶𝐻4 2 𝑚𝑜𝑙𝑂2 32 𝑔𝑂2


มวล O2 ที่ทำปฏิกิริยำพอดี = 24 𝑔𝐶𝐻4 × 16 𝑔𝐶𝐻4
×
1 𝑚𝑜𝑙𝐶𝐻4
×
1 𝑚𝑜𝑙𝑂2

= 96 g
สมการเคมี (6)
ตัวอย่ าง ปฏิกิริยาการเผาไหม้ แก๊ ส CH4 เกิดขึ ้นดังสมการ
CH4(g) + 2O2(g)  CO2(g) + 2H2O(g) 7

2. จะต้ องใช้ มวลของ CH4 เท่าใด ทาปฏิกิริยากับแก๊ ส O2 ที่มากเกินพอ เพื่อให้ เกิด H2O
จานวน 3.011023 โมเลกุล
1 𝑚𝑜𝑙𝐻2 𝑂 1 𝑚𝑜𝑙𝐶𝐻4 16 𝑔𝐶𝐻4
มวล CH4 ที่ใช้ = 3.01 × 1023 โมเลกุล𝐻2𝑂 ×
6.02 ×1023 โมเลกุล𝐻2𝑂
×
2 𝑚𝑜𝑙𝐻2 𝑂
×
1 𝑚𝑜𝑙𝐶𝐻4

=4g
สารกาหนดปริมาณ (1)
- สารตังต้
้ นที่ทาปฏิกิริยาหมดก่อนสารอื่นเรี ยกว่า สารกาหนดปริมาณ
- เป็ นตัวกาหนดว่าจะเกิดผลิตภัณฑ์ ตามปฏิกิริยาเคมีนนได้
ั ้ มากที่สุดเท่าใด 8

ตัวอย่ าง ถ้ าให้ CH4 จานวน 8 g เผาไหม้ ในบรรยากาศของ O2 จานวน 48 g


1. สารใดเป็ นสารกาหนดปริ มาณ สารใดเหลือและเหลืออยูก่ ี่กรัม
CH4(g) + 2O2(g)  CO2(g) + 2H2O(g)
CH4 8 g เท่ำกับ 0.5 โมล  ดังนั้น CH4 เป็นสำรกำหนดปริมำณ ถูกใช้จนหมด
O2 48 g เท่ำกับ 1.5 โมล และเหลือ O2 0.5 โมล หรือ 16 g
สารกาหนดปริมาณ (2)
ตัวอย่ าง ถ้ าให้ CH4 จานวน 8 g เผาไหม้ ในบรรยากาศของ O2 จานวน 48 g
2. จงคานวณหามวลของ CO2 ที่เกิดขึ ้น 9

CH4(g) + 2O2(g)  CO2(g) + 2H2O(g

1 𝑚𝑜𝑙𝐶𝑂2 44 𝑔𝐶𝑂2
มวล CO2 ที่เกิดขึ้น = 0.5 𝑚𝑜𝑙𝐶𝐻4 × 1 𝑚𝑜𝑙 ×
1 𝑚𝑜𝑙𝐶𝑂2
𝐶𝐻4

= 22 g
ผลได้ ร้อยละ (1)
- ปริ มาณของผลิตภัณฑ์ที่คานวณได้ จากสมการที่ดลุ แล้ วเมื่อสารกาหนดปริ มาณทา
ปฏิกิริยาหมดไปเรี ยกว่า ผลได้ ตามทฤษฎี 10

- ในทางปฏิบตั ิปริ มาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดจริ งซึ่งเรี ยกว่า ผลได้ จริ ง จะได้ ผลน้ อย


กว่าผลที่คานวณได้ จากสมการเคมีหรื อผลได้ ตามทฤษฎี
- นิยมเปรี ยบเทียบผลได้ จริ งกับผลได้ ตามทฤษฎีเป็ นร้ อยละซึง่ เรี ยกว่า ผลได้ ร้อยละ
ผลได้ ร้อยละ (2)
ตัวอย่ าง ถ้ านา C6H6 จานวน 15.6 g มาทาปฏิกิริยากับกรด HNO3 จานวนมากเกิน
พอ พบว่าเกิด C6H5NO2 18 g จงหาผลได้ ร้อยละ 11

C6H6 + HNO3  C6H5NO2 + H2O

You might also like