You are on page 1of 6

แบบทดสอบเก็บคะแนนเรื่อง ยีนและโครโมโซม

คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด แล้วX ลงในกระดาษคาตอบ


1. ข้อใดกล่าวถึงสารพันธุกรรมได้ถูกต้อง การทดลองนี้มีสมมติฐานอย่างไร
ก. เป็นสารอินทรีย์ที่พบทั้งในนิวเคลียสและไซโทพลาสซึม ก. แคปซูลจาเป็นต่อการขยายพันธุ์ของแบคทีเรีย
ของเซลล์ ข. อาหารที่เลี้ยงแบคทีเรียนี้เหมาะกับแบคทีเรียชนิด
ข. เป็นสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน B มากกว่า
และออกซิเจนเช่นเดียวกับคาร์โบไฮเดรต ค. แบคทีเรียชนิด B น่าจะรับสารบางอย่างจากชนิด
ค. เป็นสารอินทรีย์ที่มีสมบัติเป็นกรดและสามารถจาลอง C ที่มีผลต่อการสร้างแคปซูล
ตัวเองได้
ง. ในอาหารเลี้ยงแบคทีเรียมีสารที่ทาให้แบคทีเรีย B
ง. ถูกทุกข้อ
สร้างแคปซูลได้
2. เซลล์ในระยะใดเหมาะต่อการศึกษารูปร่าง ลักษณะ ของ
5. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของนิวคลีโอโซม
โครโมโซมมากที่สุด
1. ฮิสโตน 2. DNA 3. ไรโบโซม
ก. ระยะปกติที่ยังไม่มีการแบ่งเซลล์
ก. 1 และ 3 ข. 1 และ 2
ข. ระยะอินเตอร์เฟสซึ่งมีการสะสมสารต่าง ๆ สาหรับการ
ค. 2 และ 3 ง. 1 , 2 และ 3
แบ่งเซลล์
6. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของ DNA
ค. ระยะโพรเฟสซึ่งกาลังเกิดกระบวนการ ครอสซิงโอเวอร์
1. พิวรีน 2. ไพริมิดีน
ง. ระยะเมทาเฟสซึ่งโครโมโซมเรียงอยู่ตรงกลางเซลล์
3. น้าตาลไรโบส 4. หมู่ฟอสเฟต
3. ผลการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ท่านใดที่ถือว่าเป็น
ก. 1 , 2 และ 3
จุดเริ่มต้นที่นาไปสู่ข้อสรุปว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม
ข. 1 , 2 และ 4
ก. กริฟฟิท ,แอเวอรี่ และคณะ
ค. 2 , 3 และ 4
ข. เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล
ง. 1 , 2 , 3 . 4
ค. วี เอ็ม อินแกรม
7. ข้อใด ผิด
ง. โรซาลินด์ แฟรงคลิน
ก. เบสคู่สม คือ A กับ T และ C กับ G
4. เมื่อนาแบคทีเรียนิวโมคอคคัสชนิด C ซึ่งสามารถสร้างแคปซูล
ข. nucleotide กลายเป็น polynucleotide ด้วยพันธะ
ได้ และชนิด B ซึ่งไม่สร้างแคปซูลมาเลี้ยงในอาหารเลี้ยง
ไฮโดรเจน
แบคทีเรีย ซึ่งทาให้ปราศจากเชื้อแล้ว ปรากฏผลจากการ
ค. phosphodiester bond เชื่อมระหว่างหมู่ฟอสเฟต
ทดลองในเวลาต่อมาดังนี้
I ชนิด C ที่ตายแล้ว ไม่มีการเจริญเติบโต ของ C ที่ 5ของน้าตาลในนิวคลีโอไทด์หนึ่งกับ
หมู่ไฮดรอกซิลของ C ที่ 3ของน้าตาลอีก
II ชนิด B ที่ยังมีชีวิตอยู่ เจริญขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว นิวคลีโอไทด์หนึ่ง
ง. สาย DNA จะมีปลายด้านหนึ่งเป็น 3และอีกด้าน
III ชนิด B ที่ยังมีชีวิตอยู่ ชนิด B สร้างแคปซูลได้
กับชนิด C ที่ตายแล้ว หนึ่งเป็น 5 เสมอ
8. ข้อใดกล่าวถึงโมเลกุลของ DNA ได้ถูกต้อง 13. ข้อใดเปรียบเทียบการทางานของ DNA polymerase และ
ก. ประกอบด้วยพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย เรียง RNA polymerase ได้ถูกต้อง
ตัวในทิศทาง 5 ไป 3 เหมือนกัน ก. ผลิตภัณฑ์ที่ได้เกิดจากปลาย 5’ ไป 3’ เหมือนกัน
ข. แต่ละคู่เบสจับกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเตอร์ ข. ต้องการ nucleotide 4 ชนิดเหมือนกัน
ค. สายพอลินิวคลีโอไทด์บิดเป็นเกลียวคู่และหมุนตามเข็ม ค. สร้างสาร polynucleotide ได้จานวนเท่ากัน
นาฬิกา ง. เกิดขึ้นเมื่อเซลล์จะสร้างโปรตีนเหมือนกัน
ง. ถูกทุกข้อ 14. ข้อใดสนับสนุน DNA รุ่นใหม่จาลองมาจาก DNA รุ่นพ่อแม่
9. ข้อใดจับคู่นักวิทยาศาสตร์กับความรู้ที่ค้นพบได้ถูกต้อง
แบบกึ่งอนุรักษ์(semiconservative)
ก. เฟรดริช มิเชอร์ – กรดนิวคลีอิก
ก. DNA รุ่นใหม่มีจานวนเท่ากับรุ่นพ่อแม่
ข. แอเวอรี ,แมคลอยด์และแมคคาร์ที – DNA เป็น
ข. ก่อนมีการสร้าง DNA รุ่นใหม่ DNA รุ่นพ่อแม่มีการ
สารพันธุกรรม
แยกตัวแล้ว
ค. โรเบิร์ต ฟอยล์เกน – โครโมโซมอยู่บน DNA
ค. โครงสร้างของ DNA ในรุ่นลูกเหมือนพ่อหรือแม่ทุก
ง. เฟรเดอริก กริฟฟิท – โรคปอดบวม
ประการ
10. กฎของชาร์กาฟฟ์ (Chargaff’s rule) ข้อใดผิด
ง. DNA ในรุ่นใหม่มีองค์ประกอบของ DNA รุ่นก่อนปะปน
ก. ( A+G) / C = ( C+T) / G เสมอ
อยู่ครึ่งหนึ่ง และ ปะปนอยู่ 1 ใน 4 ในรุ่นที่ 2
ข. A + G = C + T
15. การสังเคราะห์ DNA ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นเมื่อใด
ค. A + T ≠ C + G
ก. เมื่อเริ่มมีการแบ่งเซลล์
ง. A + T = C + G
ข. เมื่อเซลล์เริ่มสังเคราะห์ RNA
11. ข้อใดคือสมบัติของรหัสพันธุกรรม(genetic code)
ค. เมื่อเซลล์เริ่มสังเคราะห์โปรตีน
a) ใช้ได้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลก
ง. เซลล์สังเคราะห์ DNA ได้ตลอดเวลา
b) อ่านเรียงตัวไม่มีการอ่านทับซ้อน
16. หน้าที่โดยตรงของ mRNA คือข้อใด
c) กรดอะมิโนทุกชนิดมีรหัสมากกว่า 1 รหัส
ก. เป็นองค์ประกอบของไรโบโซม
เป็นของตัวเองเสมอ
ข. กาหนดลาดับของกรดอะมิโนในโปรตีน
ก. a ข. b
ค. กาหนดลักษณะของพันธุกรรม
ค. a , b ง. a , b , c
ง. กาหนดชนิดของโปรตีนที่สร้างขึ้น
12. ข้อใดคือบทบาทหน้าที่ของ RNA ในสิ่งมีชีวิต
17. ข้อใดแสดงลาดับการทางานได้ดีที่สุด
a) เป็นองค์ประกอบของ organelle ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม
ก. RNA DNA โปรตีน
b) สังเคราะห์ polymer บางชนิด
ข. โปรตีน DNA RNA
c) เป็นรหัสพันธุกรรม
ค. DNA โปรตีน RNA
ก. a ข. b
ง. DNA RNA โปรตีน
ค. a , b ง. a , b , c
18. ฮอร์โมนอินซูลิน( insulin)ประกอบด้วยกรดอะมิโน 51 23. RNA ชนิดใดทาหน้าที่เสมือนผู้รับคาสั่งจาก DNA ให้มา
โมเลกุล DNA ที่ควบคุมการสร้างอิซูลิน จะประกอบด้วย สังเคราะห์โปรตีน
นิวคลีโอไทด์น้อยที่สุดจานวนเท่าไร ก. tRNA
ก. 51 ข. rRNA
ข. 102 ค. mRNA
ค. 153 ง. rRNA และ mRNA
ง. 204 24. RNA ชนิดใดทาหน้าที่นากรดอะมิโนที่มีอยู่ในไซโทพลาซึม
19. การจาลองตัวเองของ DNA 1 โมเลกุล จะได้ DNA ใหม่ 2 ไปยังบริเวณที่มีไรโบโซมเกาะอยู่เพื่อสังเคราะห์สาย
โมเลกุล ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่ามาจาก โพลีเพปไทด์
ก. เส้นโพลีนิวคลีโอไทด์เก่า 1 เส้น รวมกับใหม่ 1 เส้น ก. tRNA
ข. เส้นโพลีนิวคลีโอไทด์เก่าทั้งคู่ และใหม่ทั้งคู่ ข. rRNA
ค. เส้นโพลีนิวคลีโอไทด์ เก่าครึ่งท่อน ใหม่ครึ่งท่อน ค. mRNA
ง. เส้นโพลีนิวคลีโอไทด์เก่า 2เส้นและใหม่ 2 เส้น ง. rRNA และ mRNA
20. จากประจักษ์พยานหลายอย่างยืนยันว่า DNA อยู่ใน 25. ถ้ากาหนดให้อักษรต่างๆต่อไปนี้แทนขั้นต่างๆของการ
นิวเคลียส และ DNA ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน แต่ สังเคราะห์โปรตีน
การศึกษาต่อมาเราทราบว่า การสังเคราะห์โปรตีนทุกชนิดพบ A. = mRNA เคลื่อนที่ออกจากนิวเคลียส
อยู่ที่ตาแหน่งใดของเซลล์ B. = ไรโบโซมเคลื่อนที่ไปตาม mRNA
ก. ภายในนิวเคลียส C. = DNA ในนิวเคลียสสร้าง mRNA
ข. ภายในไซโทพลาซึม D. = กรดอะมิโนเชื่อมกันเป็นสายยาว
ค. บริเวณผิวของร่างแหเอนโดพลาซึม E. = tRNA นากรดอะมิโนมายัง mRNA
ง. บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์ ลาดับขั้นตอนที่ถูกต้องของการสังเคราะห์โปรตีนเป็นไปตามข้อใด
21. สิ่งใดเกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีน น้อยที่สุด ก. A B C D E
ก. DNA และ RNA ข. A C B E D
ข. RNA และไรโบโซม ค. C A B E D
ค. ร่างแหเอนโดพลาซึมและไลโซโซม ง. D E B A C
ง. ไรโบโซมและกรดอะมิโน 26. ลาดับเบส ในโมเลกุล DNA ทาหน้าที่ควบคุมการ
22. DNA แตกต่างจาก RNA เด่นชัดที่ลักษณะใด สังเคราะห์สิ่งใดโดยตรง
ก. จานวนหมู่ฟอสเฟต ก. โปรตีน
ข. ชนิดของน้าตาล ข. RNA
ค. ชนิดของเบสพิวรีน ค. เอนไซม์
ง. ถูกทั้ง ข. และ ค. ง. ไรโบโซม
27. กลุ่มอาการดาวน์( Down’s syndrome ) เป็นโรคทาง 31. จากภาพกระบวนการ I, II เกิดขึ้นที่ส่วนใดจองเซลล์
พันธุกรรมชนิดหนึ่งในคน มีสาเหตุจากปรากฎการณ์ใด ยูคาริโอต และผลผลิตที่ได้คืออะไร
ก. ยีนมิวเทชัน( gene mutation)
ข. ครอสซิงโอเวอร์ ( crossing over )
ค. ยูพลอยดี ( euploidy)
ง. นอนดิสจังชัน( nondisjunction )
28. ตามทฤษฎีรหัสพันธุกรรม(genetic code) ถ้ายีนหนึ่งมี I II
นิวคลีโอไทด์ 5,100 คู่ จะมีรหัส(codon)อยู่เท่าใด บริเวณที่พบ ผลผลิต บริเวณที่พบ ผลผลิต
ก. 1,020 ข. 1,700 ก. ไซโทพลาซึม RNA ไซโทพลาซึม RNA
ค. 5,100 ง. 15,300 ข. นิวเคลียส DNA นิวเคลียส RNA
29. rRNA ทาหน้าที่สาคัญในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน ค. ไซโทพลาซึม RNA นิวเคลียส DNA
คือ ง. นิวเคลียส RNA นิวเคลียส DNA
ก. ช่วยเป็นแหล่งยึดของ mRNA ในกระบวนการแปลรหัส 32. การสร้างโปรตีนทุกชนิดเกิดใน cytoplasm ของเซลล์ ซึ่ง
ข. ช่วยให้ tRNA นากรดอะมิโนมาใช้สังเคราะห์โปรตีนได้ มี DNA ในนิวเคลียสเป็นแม่แบบโดยจะมีหลายขั้นตอน
เร็วขึ้น ยกเว้น ข้อใด
ค. รับข่าวสารทางพันธุกรรมจาก DNA เพื่อช่วยในการ ก. mRNA เคลื่อนที่ไปยังกรดอะมิโน
แปลรหัสของ tRNA ข. DNA ในนิวเคลียสสร้าง mRNA
ง. ถูกเฉพาะ ข. และ ค. ค. mRNA เคลื่อนออกจากนิวเคลียส
30. ข้อใดไม่เป็นจริงเกี่ยวกับมิวเทชัน (mutation ) ง. ไรโบโซมเคลื่อนไปตาม mRNA
ก. ถ้าเกิดการเปลี่ยนแปลงกับออโทโซมจะไม่สามารถ 33. การอ่านรหัสพันธุกรรม(genetic code) จากตารางรหัส
ถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้ จะต้องอ่านจากลาดับเบสของอะไร
ข. ยีนที่เกิดมิวเทชันแล้ว เมื่อเป็นเฮเทอโรไซกัสส่วนใหญ่ ก. DNA
จะไม่แสดงฟีโนไทป์ ข. mRNA
ค. ยีนที่เกิดมิวเทชันมักจะเป็นยีนด้อย ค. tRNA
ง. เซลล์ร่างกายของคนที่เกิดมิวเทชันมักไม่ถ่ายทอดไปยัง ง. rRNA
ลูกหลานเลย 34. ถ้า codon ใน mRNA มีรหัสส่วนหนึ่งเป็น….AAG CCA…
anticodon ใน tRNA ที่จาเพาะกับรหัสนี้เรียงตามลาดับ
จากซ้ายไปขวา คือ
ก. TTC , GGT
ข. AAG , CCA
ค. CTC , TGG
ง. UUC , GGU
35. ยีนมิวเทชัน เมื่อเกิดแล้วจะมีผลต่อมาเป็นอย่างไร 40. ลาดับเบสแบบใดใน mRNA ที่ไม่เป็นรหัสพันธุกรรมสาหรับ
ก. ส่วนใหญ่ทาให้ยีนมีลักษณะดีขึ้น กรดอะมิโนใดๆ
ข. เกิดแล้วไม่สามารถถ่ายทอดไปสู่เซลล์อื่น แม้จะเกิดกับ ก. UAA , AUG , UAG
เซลล์สืบพันธุ์ก็ตาม ข. AUG , AAA , UAA
ค. เมื่อเกิดแล้วจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสปีชีส์ได้ในบาง ค. UAG , UGA , UAA
โอกาส ง. AAU , CAA , UAU
ง. เมื่อเกิดแล้วจะไม่มีผลต่อลักษณะทางพันธุกรรม 41. DNA ที่เป็นต้นแบบให้เกิด mRNA ดังต่อไปนี้ จะมีพันธะ
36. เด็กที่มีอาการปัญญาอ่อน เสียงร้องเหมือนแมวในขณะ ไฮโดรเจนกี่พันธะ
โกรธ บางคนหัวใจพิการตั้งแต่เกิด ความผิดปกตินี้เกิดจาก 5' AUGACGUUUCGAGUCAAGAAAUGCACC 3'
ก. โครโมโซมคู่ที่ 5 เส้นหนึ่งมีบางส่วนขาดหายไป ก. 54 พันธะ ข. 66 พันธะ
ข. โครโมโซมคู่ที่ 5 เกินมาหนึ่งเส้น ค. 69 พันธะ ง. 79 พันธะ
ค. โครโมโซมคู่ที่ 21 เส้นหนึ่งมีบางส่วนขาดหายไป 42. ลาดับเบสของ DNA เส้นหนึ่งเป็นดังนี้
ง. โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมาหนึ่งเส้น 3' TACAAGTACTTGTTTATTATC 5'
37. ถ้าฉายรังสีเอ็กซ์ทาให้เบสใน DNA เปลี่ยนแปลงไปดังภาพ เมื่อมีการสังเคราะห์โปรตีน กรดอะมิโนที่ควบคุมโดย DNA
X-ray เส้นนี้จะมีจานวนเท่าใด
A T C G A T A A C G A T ก. 4 ข. 5
สิ่งสาคัญที่น่าจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวคือ ค. 6 ง. 7
ก. ส่งผลกระทบต่อโครโมโซมอื่นๆทันทีทันใด 43. คู่เบสในข้อใดพบทั้งใน RNA และ DNA
ข. ฟีโนไทป์ของสิ่งมีชีวิตจะไม่เปลี่ยนแปลง ก. G กับ C ข. A กับ U
ค. จีโนไทป์ของสิ่งมีชีวิตจะไม่เปลี่ยนแปลง ค. T กับ A ง. T กับ U
ง. อาจถูกถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกต่อไป 44. ถ้ารหัสพันธุกรรมประกอบด้วย 3 นิวคลีโอไทด์ จะมีจานวน
38. ถ้ารหัสพันธุกรรมบนสาย DNA เป็น GCT จะพบ รหัสพันธุกรรมเท่าใดจึงจะเพียงพอกับชนิดของกรดอะมิโน
anticodon บน tRNA เป็นชนิดใด ก. 20 รหัส
ก. GCT ข. GCU ข. 24 รหัส
ค. CGA ง. UGC ค. 44 รหัส
ง. 64 รหัส
39. Transcription ของ DNA สาย 5 ATCGTGTACC 3
45. นิวคลีโอไทด์ของ DNA ประกอบด้วยสารใดต่อไปนี้
จะให้กาเนิดสาย mRNA ลักษณะใด
ก. น้าตาลไรโบส , N-เบส และหมู่ฟอสเฟต
ก. 5 GGUACACGAU 3
ข. น้าตาลกลูโคส , N-เบส และหมู่ฟอสเฟต
ข. 5 AUCGUGUACC 3
ค. น้าตาลดีออกซีไรโบส , N-เบส และหมู่ฟอสเฟต
ค. 5 UAGCACAUGG 3 ง. น้าตาลดีออกซีไรโบส , N-เบส และไตรกลีเซอไรด์
ง. 5 TAGCACATGG 3
46. โรคทางพันธุกรรมใดต่อไปนี้เป็นโรคที่เกิดจากความผิดพลาด 49. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่สารประเภทโปรตีน
ของโครโมโซมเพศ ก. ใยแมงมุม ข. เขาสัตว์
ก. กลุ่มอาการดาวน์ ค. คอเลสเทอรอล ง. ฮีโมโกลบิน
ข. กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ 50. เบสตัวใดบน mRNAที่ให้มานี้ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเพียง
ค. กลุ่มอาการคริดูชาต์ ตัวเดียว อาจทาให้ไม่เกิดการสังเคราะห์โปรตีน
ง. กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด a b c d
47. โครโมโซมคู่ใดของเซลล์ร่างกายมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
5 CAGCGGCUGAAG 3
ก. คู่ที่ 1
ข. คู่ที่ 2
ก. a ข. b ค. c , d ง. a , c , d
ค. คู่ที่ 11
ง. คู่ที่ 22
-------------------------------------------
48.
^^^^^UUC^^^^^ATCCG^^^^^^^^^^^GGCAAT^^^^^^^^
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร ผู้ออกข้อสอบ

mRNA โมเลกุลหนึ่งมีเบสเรียงลาดับดังต่อไปนี้
5' AUGACGUUUUGCACC 3'
ถ้าเบสตัวที่ 4 นับจากปลาย 3' เปลี่ยนไปเป็น A จะมีผลอย่างไร
ต่อพอลิเพปไทด์ที่สังเคราะห์จาก mRNA ที่เปลี่ยนไป
ก. มีกรดอะมิโนน้อยกว่าเดิม 1 ชนิด
ข. มีกรดอะมิโนน้อยกว่าเดิม 2 ชนิด
ค. มี tryptophan แทน cysteione
ง. มี cysteine แทน tryptophan

You might also like