You are on page 1of 35

1

1. ในการตรวจสอบสมมติฐานทําได้หลายวิธี เช่น การเฝ้าสังเกต การสํารวจ และการทดลอง จงพิจารณา


สมมติฐานและการตรวจสอบในตารางด้านล่างนี้
สมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน
ก. ถ้าพืชกลุ่มฝางในประเทศไทยมีลักษณะทางกาย ศึกษาลักษณะ ปากใบ ไทรโคม ต่อมและขนของพืช
วิภาคของใบแตกต่างกัน ดังนั้นพืชกลุ่มฝางควรมี ในกลุ่มฝาง ชนิดละ 5 ซํ้า
ปากใบหลายรูปแบบ รวมทั้งมี ไทรโคม ต่อมขนชนิด
ต่าง ๆ
ข. ถ้ า ความเค็ ม มี ผ ลต่ อ การเจริ ญ ของต้ น พริ ก ทดลองปลูกพริกในดินเค็มจํานวน 10 กระถาง เป็น
ดังนั้นต้นพริกที่ปลูกในดินเค็มจะมีขนาดลําต้นเล็ก เวลา 1 เดือนและวัดขนาดเส้นรอบวงและความสูง
และต้นเตี้ย ของต้นทุกสัปดาห์
ค. ถ้าต้นทุเรียนต้องอาศัยค้างคาวช่วยถ่ายเรณูใน ตั ้ ง กล้ อ งวี ด ี โ อ เพื ่ อ บั น ทึ ก ชนิ ด จํ า นวน และ
เวลากลางคื น ดั งนั ้ น เมื ่ อดอกทุ เรี ยนบานในเวลา พฤติกรรมของค้างคาวหรือสัตว์อื่น ๆ ที่บินมาตอม
กลางคืนจะมีค้างความบินมาตอมดอกทุเรียน ดอกทุเรียนระยะดอกบานเวลากลางคืน
การตรวจสอบสมมติฐานทางชีววิทยาข้อใด มีวิธีตรวจสอบที่ไม่เหมาะสม
1. สมมติฐาน ก 2. สมมติฐาน ข 3. สมมติฐาน ค
4. การตรวจสอบไม่เหมาะสม 2 ข้อ 5. การตรวจสอบไม่เหมาะสมทั้ง 3 ข้อ

2. นักชีววิทยาจัดจําแนกหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต โดยพิจารณาข้อมูลต่าง ๆ ข้อมูลในด้านใดที่นํามาใช้เป็นเกณฑ์หลักใน


การจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มโดเมน (domain)
1. ความคล้ายคลึงในทางโครงสร้างและออแกเนลล์
2. สายวิวัฒนาการที่มีสารพันธุกรรมที่คล้ายคลึงกัน
3. จํานวนชุดและขนาดโครโมโซมของเซลล์สืบพันธุ์
4. พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
5. แบบแผนการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายตามภูมิศาสตร์

3. จงบอกขาดจริงของสาหร่ายเซลล์เดียวที่วัดขนาดภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ 100 ไมโครเมตรโดยใช้


เลนส์ใกล้วัตถุ 10X และเลนส์ใกล้ตา 10X
1. 1 ไมโครเมตร 2. 10 ไมโครเมตร
3. 100 ไมโครเมตร 4. 1,000 ไมโครเมตร
2

4. ในการติดตามการพัฒนาของดอกข้าวในระยะต่าง ๆ ตั้งแต่ดอกอ่อนจนกระทั่งดอกข้าวบานเต็มที่และ
บันทึกภาพดอกข้าวโดยการวาดภาพ ควรเลือกใช้เครื่องมือใดในการศึกษาจึงจะเหมาะสมที่สุด
1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงธรรมดา เนื่องจากมีกําลังขยายสูงและมีความเหมาะสมในการใช้ศึกษาดอก
ข้าวซึ่งเป็นวัตถุทึบแสง
2. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ เนื่องจากได้ภาพ 3 มิติที่มีความชัดลึกมาก ทําให้เห็น
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของดอกไม้อย่างชัดเจน
3. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน เนื่องจากมีกําลังขยายสูงมากสามารถเห็นภาพภายนอก
ของดอกข้าวที่คมชัดมาก
4. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน เนื่องจากสามารถศึกษาองค์ประกอบของดอกข้าวได้ทั้ง
ภายนอกและภายในอย่างละเอียด
5. ไม่จําเป็นต้องใช้เครื่องมือใด เนื่องจากสามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า

5. ตาม fluid mosaic model เยื่อหุ้มเซลล์มีลักษณะเป็นของไหล (fluid) ความคงตัว (integrity) ของเยื่อหุ้มเซลล์


จะมากขึ้นอยู่กับองค์ประกอบใดเป็นหลัก
1. Protein 2. Phospholipid
3. Cholesterol 4. Glycoprotein

6. ข้อใดต่อไปนี้เรียงลําดับได้ถูกต้องจากโครงสร้างใหญ่ไปโครงสร้างขนาดเล็ก
1. Photosystem, mesophyll, thylakoid, chloroplast, chlorophyll
2. Mesophyll cell, chloroplast, thylakoid, photosystem, chlorophyll
3. Photosystem, mesophyll cell, chloroplast, chlorophyll, thylakoid
4. Chloroplast, mesophyll cell, thylakoid, chlorophyll, photosystem

7. ข้อใดเป็นสารที่ประกอบด้วย มอโนแซ็กคาไรด์มากกว่า 1 ชนิด


1. Glycogen 2. Cellulose
3. Lactose 4. Moltose

8. สารชีวโมเลกุลในข้อใดที่ไม่เป็น polymer
1. Protein 2. Carbohydrate
3. Lipid 4. Nucleic acid
9. เซลล์กล้ามเนื้อลายเก็บคาร์โบไฮเดรตในรูปแบบใด
1. Glucose 2. Glucagon
3. Glycogen 4. Glucan
10. โครงสร้างใดต่อไปนี้ที่สามารถพบกรดนิวคลิอิกชนิด DNA
ก. Nucleus ข. Mitochondria ค. Chloroplast ง. Golgi body
1. ก 2. ก และ ข 3. ก ข และ ค 4. ก ข ค และ ง
3

11. การทดลองลักษณะใดเป็นการทดลองที่เหมาะสมที่สุดในกระบวนการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์
ข้อ จํานวนตัวอย่าง ตัวแปรต้น ชุดควบคุม
ก มาก หลายตัว ไม่มี
ข มาก หนึ่งตัว มี
ค มาก หลายตัว มี
ง น้อย หนึ่งตัว ไม่มี
จ น้อย หลายตัว มี

12. ในการย่อยซูโครสด้วยเอนไซม์ซูเครสในช่วงเวลาหนึ่ง ข้อใดแสดงปริมาณของสารต่างๆได้อย่างถูกต้อง

3
4

13. จากการทดลองผสมสารต่าง ๆ ดังแสดงในตาราง แล้วบ่มที่ pH 7.0 อุณหภูมิ 30 oC เป็นเวลา 1 ชั่วโมง


จากนั้นนํามาทดสอบด้วยสารละลาย Benedict’s
หลอดที่ สาร 1 สาร 2
1 อะไมเลส แป้ง
2 อะไมเลส เซลลูโลส
3 อะไมเลส กลูโคส
4 ทริปซิน แป้ง
5 ทริปซิน เซลลูโลส
หลอดเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
1. หลอดที่ 3 เท่านั้น 2. หลอดที่ 1 และ 3 เท่านั้น
3. หลอดที่ 4 และ 5 เท่านั้น 4. หลอดที่ 1 2 และ 3 เท่านั้น
5. หลอดที่ 3 4 และ 5 เท่านั้น
5

14. จากการทดลองเพื่อศึกษาการทํางานของเอนไซม์ที่ได้จากเซลล์ของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง
โดยบ่มสารชนิดต่าง ๆ ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที ได้ผลดังตาราง
ปริมาณสารที่ใช้ (ml) ผลการทดลอง
หลอด สารที่พบใน อัตราการ
สาร A สาร B สาร C สาร D
หลอด เกิดปฏิกิริยา
ก 0 0 10 10 D และ E 100
ข 0 10 10 0 B และ C 0
ค 0 10 10 10 B C และ D 0
ง 10 0 10 0 A และ F 100

ข้อใดเป็นข้อสรุปที่ได้จากข้อมูลข้างต้น
1. A คือ เอนไซม์
2. B คือ สารตั้งต้น
3. C คือ ตัวยับยั้งเอนไซม์
4. D คือ สารผลิตภัณฑ์
5. E คือ ตัวยับยั้งเอนไซม์

15 เลี้ยงเซลล์ 3 ชนิดที่พบบริเวณปอด ได้แก่ เซลล์ A เซลล์ B และเซลล์ C ร่วมกับเชื้อไวรัสโควิด-19


ในห้องปฏิบัติการเป็นเวลา 24ชั่วโมง แล้ววัดปริมาณเชื้อไวรัสที่พบในอาหารเลี้ยงเชื้อ ได้ผลดังตาราง
ชนิดของเซลล์ที่เลี้ยงร่วมกับ เชื้อไวรัส
ชุดการทดลองที่ ปริมาณเชื้อไวรัสที่ใส่ ปริมาณเชื้อไวรัสที่พบในชั่วโมงที่ 24
โควิด-19
1 เซลล์ A + ตรวจไม่พบ
2 เซลล์ B + +++++
3 เซลล์ C + ตรวจไม่พบ
4 เซลล์ A และ B + +++++
5 เซลล์ A และ C + ตรวจไม่พบ
6 เซลล์ B และ C + ++

กําหนดให้ เครื่องหมาย + แสดงระดับของเชื้อไวรัสที่ตรวจพบ


จากข้อมูล ข้อใดเป็นเซลล์ที่ไวรัสสามารถเข้าไปทําลาย และเซลล์ที่สามารถทําลายไวรัสได้ ตามลําดับ
1. เซลล์ A และ B
2. เซลล์ A และ C
3. เซลล์ B และ A
4. เซลล์ B และ C
5. เซลล์ C และ B
6

16. ข้อใดถูก
1. ในเซลล์หนึ่ง ๆ ของคน ถ้าเป็นเซลล์ร่างกายจะมีโครโมโซม 44 แท่ง ขาดโครโมโซมเพศ 2 แท่ง
2. ในการแบ่งเซลล์ การแบ่งนิวเคลียสจะใช้ระยะเวลานานกว่าไซโทพลาสซึมมาก
3. ในเซลล์ที่กําลังแบ่งเซลล์จะพบทั้งโครโมโซมและโครมาติน ส่วนเซลล์ที่ไม่แบ่งเซลล์จะพบเฉพาะโครโมโซมเท่านั้น
4. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซีสเท่านั้นที่มีบทบาทต่อการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
5. ในเซลล์หนึ่ง ๆ ทุกระยะของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซีสจะมีความแตกต่างจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส

17. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับเซลล์
ก. เซลล์ทุกชนิดต้องมีผนังเซลล์เพื่อให้ความแข็งแรงแก่เซลล์
ข. สิ่งมีชีวิตประเภทยูคาริโอตมีสารพันธุกรรมเป็น DNA สายคู่
ค. สิ่งมีชีวิตประเภทโพรคาริโอตมีสารพันธุกรรมเป็น DNA สายเดี่ยว
ง. เซลล์ทุกชนิดต้องมีเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อรักษาสมดุลของสารภายในเซลล์
1. ก และ ค 2. ก และ ง 3. ข และ ง 4. ก, ข และ ง 5. ข, 8 และ ง

18. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ Anaphase และ Anaphase I


ข้อ Anaphase Anaphase I
1 มีการแยก homologous chromosome มีการแยก sister chromatid
2 โครโมโซมมี 1 โครมาทิด โครโมโซมมี 1 โครมาทิด
3 จํานวนโครโมโซมภายในเซลล์เป็น 1 เท่า จํานวนโครโมโซมภายในเซลล์เป็น 2 เท่า
4 มีการแยก sister chromatid มีการแยก homologous chromosome
5 เป็นการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการแบ่งเซลล์ร่างกายของมนุษย์

19. จากภาพ จงเรียงลําดับระยะ (phase) ของการแบ่งเซลล์ได้ถูกต้อง

1. B D C A E 2. E B D A C 3. B D A C E
4. B D E A C 5. B D A E C
7

20. เซลล์ภายในอวัยวะที่มีหน้าที่จําเพาะในการหลั่งสารจพวกลิพิด ฟอสโฟลิพิด และสเตียรอยด์ เช่น อัณฑะ รังไข่ จะมีออร์


แกเนลล์ชนิดใดมาก

1. A 2. B 3. C 4. D 5. E

21. ยาชนิ ด หนึ ่ ง ใช้ ร ั ก ษาการติ ด เชื ้ อ จุ ล ิ น ทรี ย์ ด้ ว ยกลไกขั ด ขวางกระบวนการทํ า งานของ tRNA ภายในเซลล์ ข อง
เชื้อจุลินทรีย์นี้ จากข้อมูล ยาชนิดนี้น่าจะส่งผลต่อการทํางานของออร์แกเนลล์ใดของเชื้อจุลินทรีย์นี้มากที่สุด
1. ไลโซโซม
2. ไรโบโซม
3. ไมโทคอนเดรีย
4. กอลจิคอมเพล็กซ์
5. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ
22. การศึกษาสิ่งมีชีวิตใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ โดยใช้เลนส์ใกล้ตากําลังขยาย 10x
ได้ผลดังตาราง
สิ่งมีชีวิต ขนาดของสิ่งมีชีวิต (µm) ขนาดของภาพที่วัดได้ (mm)
A 10 4
B 50 50
C 50 20

จากข้อมูล ข้อใดถูกต้อง
1. กําลังขยายของภาพสิ่งมีชีวิต 4 เท่ากับ 2.5 เท่า
2. กําลังขยายของภาพสิ่งมีชีวิต B เท่ากับ 100 เท่า
3. การศึกษาสิ่งมีชีวิต A มีการใช้นํ้ามัน (immersion oil) กับเลนส์ใกล้วัตถุ
4. การศึกษาสิ่งมีชีวิต B มีการใช้เลนส์ใกล้วัตถุกําลังขยาย 10x
5. การศึกษาสิ่งมีชีวิต C มีการใช้เลนส์ใกล้วัตถุกําลังขยาย 40x
8

23. กําหนดให้ ก - ฉ เป็นระยะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการแบ่งเซลล์


ก. มีการเกิดครอสซิงโอเวอร์
ข. มีการแยกซิสเตอร์โครมาทิดออกจากกัน
ค. มีการจําลองตัวของ DNA เพิ่มขึ้นอีก 1 ชุด
ง. มีการสร้างแผ่นกั้นเซลล์ขึ้นมาแบ่งจนได้ 4 เซลล์
จ. มีการแยกฮอมอโลกัสโครโมโซมออกจากกัน
ฉ. มีการคอดเข้าหากันของเยื่อหุ้มเซลล์จนได้ 4เซลล์
จากข้อมูล ข้อใดเรียงลําดับระยะในการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสในกระบวนการสร้างเซลล์อสุจิ ของลิงได้ถูกต้อง
1. ก → ค → ข → จ → ง
2. ก → ค → จ → ข → ฉ
3. ค → ก → ข → จ → ฉ
4. ค → ก → จ → ข → ง
5. ค → ก → จ → ข → ฉ
24. นักวิทยาศาสตร์นําปลายรากหอมมาตัดและย้อมด้วยสี เพื่อศึกษารูปร่างนิวเคลียสภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
ได้ผลการทดลองดังตาราง
ประเภทของเซลล์ จํานวนเซลล์ (เซลล์)
เซลล์ที่มีนิวเคลียส 1 นิวเคลียส ไม่เห็นแท่งโครโมโซม 150
เซลล์ที่มีนิวเคลียส 2 นิวเคลียส ไม่เห็นแท่งโครโมโซม 6
เซลล์ที่มีโครโมโซมเป็นแท่ง เรียงตัวที่แนวกึ่งกลางเซลล์ 15
เซลล์ที่มีโครโมโซมเป็นเส้นสาย เรียงตัวไม่เป็นระเบียบ 21
เซลล์ที่มีโครโมโซมเริ่มแยกออกไปที่ขั้วของเซลล์ 2 ด้าน 8
รวมทั้งหมด 200
จากข้อมูล พบเซลล์ในระยะแอนาเฟสร้อยละเท่าใด
1. ร้อยละ 3.0
2. ร้อยละ 4.0
3. ร้อยละ 7.5
4. ร้อยละ 10.5
5. ร้อยละ 75.0
25. เหตุการณ์ในข้อใดไม่ได้เกิดในวัฏจักรคัลวินหลังจากเสร็จสิ้นการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรใน
ปฏิกิริยาแสง
1. การสังเคราะห์ ATP โดย ATP synthase ในสโตรมาของคลอโรพลาสต์
2. การทําปฏิกิริยาของ CO2 กับ RuBP โดยมีเอนไซม์ rubisco เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
3. การใช้ ATP และ NADPH ในปฏิกิริยาขั้นตอนที่ 2 คือ รีดักชัน ในวัฎจักรคาลวิน
4. การสร้าง RuBP ขึ้นมาใหม่ในขั้นตอนรีเจเนอเรชันเพื่อที่จะกลับไปรับ CO2 อีกครั้งหนึ่ง
5. การนําพลังงานเคมีที่ได้จากปฏิกิริยาแสงมาใช้ในการสร้างโมเลกุลของสารอินทรีย์ซึ่งเกิดขึ้นในสโตร
มาของคลอโรพลาสต์
9

25. จากการศึกษาโครงสร้างของปลายรากถั่วเขียวบริเวณหนึ่งโดยการตัดตามยาวผ่านกลางให้เป็นชิ้นบางด้วย
เครื่องมือตัด แล้วศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ พบเซลล์พาเรงคิมาเรียงต่อกันอย่างหลวมๆเซลล์ส่วนใหญ่มีรูปร่าง
ค่อนข้างกลมหรือยาว ผนังเซลล์ปฐมภูมิบาง มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ ภายในมีเม็ดแป้ง เซลล์มีการขับเมือกออกมา
จากลักษณะโครงสร้างของรากถั่วเขียวที่ศึกษาควรเป็นโครงสร้างปลายรากบริเวณใดและมีความสําคัญต่อพืช
อย่างไร
1. บริเวณการยึดตามยาวของเซลล์ โดยเซลล์จะยืดตามยาวทําให้ความยาวของรากเพิ่มขึ้น
2. หมวกรากซึ่งมีเซลล์ที่สามารถผลิตเมือกออกมาทําให้สะดวกต่อการชอนไชของรากลงไปในดิน
3. บริเวณการเจริญเต็มที่ของเซลล์ เซลล์บริเวณนี้เจริญเต็มที่ ทําให้รากทําหน้าที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การดูดนํ้าและลําเลียงนํ้าได้อย่างสมบูรณ์
4. บริเวณการแบ่งเซลล์ โดยเซลล์ที่เรียงกันอย่างหลวมมีการแบ่งเซลล์แบบบไมโทซีส และเจริญ
เปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนประกอบต่าง ๆ ของโครงสร้างราก
5. บริเวณการเปลี่ยนสภาพเป็นบริเวณที่เซลล์มีการเปลี่ยนสภาพไปเป็นเซลล์ชนิดต่าง ๆ เช่น มีเซลล์ใน
โฟลเอ็มทําหน้าที่ลําเลียงอาหารและเซลล์ในไซเล็มทําหน้าที่ลําเลียงนํ้า

26. ข้อใดเปรียบเทียบกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3 และ C4 ไม่ถูกต้อง


1. ปฏิริยาแสงของพืช C3 และ C4 ไม่แตกต่างกัน
2. การตรึง CO2 ในพืช C3 และ C4 เกิดในเวลากลางวันเหมือนกัน
3. สารเสถียรชนิดแรกที่เกิดจากการตรึง CO2 ในพืช C3 และ C4 เป็นคนละชนิดกัน
4. พืช C3 มีกลไกเพิ่มความเข้มข้นของ CO2 ในเซลล์มีโซฟิลล์ ส่วนพืช C4 ไม่มีกลไกดังกล่าว
5. พืช C3 มีการตรึง CO2 ด้วยวัฏจักรคัลวินเพียงครั้งเดียวและเกิดที่มีโซฟิลล์เป็นหลัก ส่วนพืช C4 มีการ
ตรึง CO2 ครั้งแรกที่เซลล์มีโซฟิลและครั้งที่สองในเซลล์บันเดิลชีท

27. นักนักพฤกษศาสตร์สกัดสารชนิดหนึ่งจากบริเวณปลายยอดพืช เมื่อนําสารชนิดนี้ไปละลายนํ้า แลใช้แช่กิ่งตัด


ของพืช พบว่ามีรากจํานวนมากจากบริเวณกิ่งตัด สารชนิดนี้น่าจะเป็นสารชนิดใดมากที่สุด
1. ออกซิน 2. ไซโทไคนิน 3. จิบเบอเรลลิน
4. ไฟโคไซยานิน 5. แอนโธไซยานิน

28. การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเป็นปฏิกิริยาที่จําเป็นต้องใช้แสงหรือไม่
1. จําเป็น เนื่องจากแสงมีอิทธิพลต่อการลําเลียงนํ้าตาลเข้ามายังคลอโรพลาสต์
2. จําเป็น เนื่องจากแสงทําให้เกิดการเปิดของปากใบ พืชจึงสามารถเคลื่อนย้าย ATP ได้
3. จําเป็น เนื่องจากแสงกระตุ้นการทํางานของเอนไซม์หลายชนิดในวัฏจักรคัลวิน เช่น รูบิสโก
4. ไม่จําเป็น เนื่องจากแสงอาจจะทําให้ใบพืชมีอุณหภูมิสูงขึ้นและมีผลต่อการทํางานของเอนไซม์ต่างๆ
ในวัฏจักรคัลวิน
5. ไม่จําเป็น เนื่องจากการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสงแต่เป็นการนําเอา ATP และ
NADPH มาใช้ในการสร้างสารอินทรีย์
10

29. แหล่งพลังงานที่นํามาสร้าง ATP จาก ADP + Pi ในปฏิกิริยาแสง (light reaction) ของพืช เกิดจากข้อใด
1. พลังงานที่รงควัตถุดูดจับไว้
2. พลังงานที่เกิดขึ้นระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
3. ความแตกต่างของความเข้มข้นของโปรตอนระหว่างภายนอกและภายในของไทลาคอยด์
4. ความแตกต่างของความเข้มข้นของอิเล็กตรอนระหว่างภายนอกและภายในของไทลาคอยด์

30. ในปฏิกิริยาแสงของการสังเคราะห์ด้วยแสง การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบวัฏจักร แตกต่างจากการถ่ายทอด


อิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรอย่างไร
1. แบบแรกให้เฉพาะ NADPH ส่วนแบบหลังให้ NADPH และ ATP
2. แบบแรกให้เฉพาะ ATP ส่วนแบบหลัง NADPH และ ATP
3. แบบแรกให้ NADPH และ ATP ส่วนแบบหลังให้เฉพาะ ATP
4. แบบแรกให้ NADPH และ ATP ส่วนแบบหลังให้เฉพาะ NADPH

31. กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร อิเล็กตรอนตัวที่หลุดออกจากระบบแสง I จะถูกแทนที่ด้วย


อิเล็กตรอนจากสารใด
1. จากการแตกตัวของนํ้า 2. จากระบบแสง II
3. จากระบบแสง I คืนสู่ที่เดิม 4. จากรงควัตถุที่อยู่ข้างเคียง

32. ข้อใดคือเอนไซม์ที่พบในสิ่งมีชีวิตที่สังเคราะห์แสงทุกชนิด มีปริมาณมากและควบคุมอัตราเร็วของปฏิกิริยาใน


calvin cycle
1. PEP carboxylase 2. α- amykase
3. ACC oxidase 4. Rubisco

33. ขั้นตอนใดในวัฏจักรคาลวินที่มีการใช้ ATP จากปฏิกิริยาแสง


1. carboxylation phase 2. Reduction phase
3. carboxylation + reduction phase 4. Reduction + regeneration phase

34. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของพืช CAM


1. มีกิจกรรมของเอนไซม์ rubisco ในเวลากลางคืน
2. มีการสะสมกรอดมาลิกในเวลากลางคืน
3. เปิดปากใบในเวลากลางคืน
4. คาร์บอนไดออกไซด์ทําปฏิกิริยากับ PEP ในเวลากลางคืน
11

35. ข้อใดถูก สําหรับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง


1. ผลผลิตสุดท้ายของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงคือ แก๊สออกซิเจน และ G3P (PGAL)
2. ในวัฏจักรคัลวิน RuBP สามารถตรึงได้ทั้งคาร์บอนไดออกไซด์ และ ออกซิเจน
3. Rubisco เป็นโปรตีนที่พบมากที่สุดในพืช และพบในทุกเซลล์ที่มีชีวิตของพืช
4. เซลล์บันเดิลซีทของพืช C4 มี PEP carboxylase และ Rubisco ช่วยตรึงคาร์บอนไดออกไซด์

36. ในช่วงเวลากลางวัน หลังจากฝนตกหนัก ท้องฟ้าปลอดโปร่งแต่ความชื้นในอากาศสูง ข้อใดคือลักษณะของ


ปากใบและอัตราการคายนํ้าของต้นมะม่วงในช่วงดังกล่าว
ข้อ ความดันเต่งในเซลล์ การเปิด/ปิดของปาก อัตราการคาย
คุม ใบ นํ้า
1 สูง เปิด สูง
2 ตํ่า ปิด ตํ่า
3 สูง เปิด ตํ่า
4 ตํ่า ปิด สูง
5 ตํ่า เปิด ตํ่า

37. สาร Diuron เป็นสารเคมีที่ยับยั้งการถ่ายทอดอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาแสง (light reaction) ดังภาพ

เมื่อพืชได้รับ Diuron จะเกิดลักษณะใดมากที่สุด


1. เติบโตลดลงและตาย เพราะสร้าง NADPH ได้น้อยลง
2. เติบโตดีขึ้น เพราะมีนํ้าไปใช้ในกระบวนการอื่นมากขึ้น
3. เติบโตได้ดีเพราะเกิด non-cyclic electron transfer มากขึ้น
4. ใบไหม้และตาย เพราะ photosystem ถูกทําลายจาก excited electron
5. เติบโตได้ดีขึ้น เพราะมีอิเล็กตรอนเหลือนําไปใช้ในกระบวนการหายใจมากขึ้น
12

38. ข้อมดถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนการ photorespiration


1. การเกิด photorespiration ของต้นขิงทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืน
2. การปล่อย CO2 จาก photorespiration ของต้นข้าวเกิดขึ้นในคลอโรพลาสต์
3. การใช้ ATP ใน photorespiration ของต้นเข็มเกิดใน mitochondria
4. เมื่ออยู่ในสภาวะแล้ง ต้นเงาะมี photorespiration เพิ่มขึ้น
5. เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ต้นอ้อยมี photorespiration เพิ่มขึ้น

39. ข้อใดถูกต้อง
ข้อ Photosystem I Photosystem II
1 อยู่ที่ stroma อยู่ที่ thylakoid membrane
2 มีเอนไซม์ทํางานในการแตกตัวของนํ้า มีตัวรับอิเล็กตรอน
3 มีสมบัติ hydrophilic มีสมบัติ hydrophobic
4 มีหน้าที่ใน light reaction มีหน้าที่ใน calvin cycle
5 ได้ NADPH เป็นผลิตภัณฑ์ ได้ O2 เป็นผลิตภัณฑ์

40 ในภาวะที่พืชขาดนํ้า ปากใบเปิดน้อยลงเพื่อรักษานํ้า มีผลทําให้ได้รับ CO2 น้อยลง เกิด calvin cycle ในอัตราที่


ลดลง เพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างอัตราการทํางานใน right reaction และ Calvin cycle การเปลี่ยนแปลงของพืช
ข้อใดเหมาะสมที่สุดในภาวะขาดนํ้า
1. ลดการสร้าง NADPH 2. ลด photorespiration
3. เพิ่มอัตราการสร้างแป้ง 4. ลดกิจกรรมของ rubisco
5. เพิ่มจํานวน antenna complex

41. พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยเหมาะสมที่จะปลูกข้าวหอมมะลิคุณภาพสูง เนื่องจากดินในพื้นที่มีความ


เค็ม กระตุ้นให้ต้นข้าวสร้างสาร 2-acetyl-1-pyrroline (2AP) ซึ่งทําให้ข้าวมีกลิ่นหอมน่ารับประทาน แต่ผล
ของความเค็มทําให้ข้าวเจริญเติบโตและ ให้ผลผลิตลดลง โดยเมื่อได้รับความเค็ม ต้นข้าวจะมีการปรับตัวโดย
สะสมโพแทสเซียมไอออน โพรลีน (proline) และกรดอินทรีย์ ต่าง ๆ ในปริมาณที่สูงขึ้น
จากข้อมูล เพราะเหตุใดต้นข้าวจึงสะสม โพแทสเซียมไอออน โพรลีน และกรดอินทรีย์ต่าง ๆ ในปริมาณที่
สูงขึ้น เมื่อต้นข้าวได้รับความเค็ม
1. เพื่อลดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
2. เพื่อลดการสะสมเกลือส่วนเกินในเซลล์
3. เพื่อรักษาความสามารถในการดูดนํ้าของรากพืช
4. เพื่อนําโพรลีนไปใช้เป็นแหล่งพลังงานในการเจริญเติบโต
5. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดเกลือส่วนเกินออกไปภายนอกเซลล์
13

42. นักวิทยาศาสตร์ตรวจสอบปริมาณกรดมาลิก และกรดออกซาโลแอซิติก ในพืช CAM, ชนิดหนึ่ง


ที่เวลาต่าง ๆ ได้ผลดังตาราง
เวลาที่ตรวจสอบ
สารที่ตรวจสอบ
07.00 น. 15.00 น. 23.00 น.

กรดมาลิก +++++ + +++

กรดออกซาโลแอซิติก ++ ++ +++

กําหนดให้ เครื่องหมาย + แสดงระดับปริมาณสารที่ตรวจพบ


จากข้อมูล ถ้ามีการตรวจสอบปริมาณสาร G3P ที่พืชนี้สร้างขึ้นในเวลาต่าง ๆ ควรจะได้ผลดังข้อใด

เวลาที่ตรวจสอบ

07.00 น. 15.00 น. 23.00 น.

1. ++ ++++ +

2. ++ ++++++ ++++++

3. +++ ++ +++

4. ++ ++ +++

5. + ++++ ++++++

43. สกัดคลอโรพลาสต์จากพืชชนิดหนึ่งแล้วทดลองตามที่ออกแบบไว้เพื่อสังเกต
การสังเคราะห์ด้วยแสงดังตาราง
ชุดการทดลอง สารที่เติมลงในหลอดทดลอง การให้แสง
+
A ADP และ NADP ให้แสง
B ATP และ NADPH ให้แสง
C CO2 ATP และ NADPH ให้แสง
D CO2 ATP และ NADPH ไม่ให้แสง
14

จากข้อมูล ชุดการทดลองใดจะเกิดแก๊สออกซิเจนขึ้น
1. ชุดการทดลอง A เท่านั้น
2. ชุดการทดลอง B เท่านั้น
3. ชุดการทดลอง A และ C
4. ชุดการทดลอง C และ D
5. ชุดการทดลอง A B และ C

44. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการสลายสารอาหารระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจน (cellular aerobic respiration)


ก. ในการสลายกลูโคส 1 โมเลกุล จะต้องผ่านวัฎจักรเครปส์ 2 รอบ
ข. ในขั้นตอนไกลโคลิซีส (glycolysis) มีการสร้าง ATP สุทธิ 4 โมเลกุล
ค. ตัวรับไฮโดรเจนตัวสุดท้ายของกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนคือ FAD
ง. ในแต่ละโมเลกุลของไพรูเวตที่เปลี่ยนเป็น acetyl co A จะสร้าง NADH 1 โมเลกุล
1. ก ข 2. ก ง 3. ข ค 4. ก ง

45. ข้อใดคือ ขั้นตอนการหายใจที่ไม่ให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์


1. การเปลี่ยน glucose ไปเป็น ethanol 2. การเปลี่ยน glucose ไปเป็น lactic acid
3. การเปลี่ยน glucose ไปเป็น acetyl co A 4. การเปลี่ยน glucose ไปเป็น citric acid

46. ในปฏิกิริยา C6H12O6 + O2 6CO2 + 6H2O ก๊าซ CO2 เกิดขึ้นในขั้นตอนใด


1. Glycolysis + Krebs cycle 2. Krebs cycle
3. Pyruvate oxidation + Krebs cycle 4. Krebs cycle + electron transport chain

47. ข้อใดเป็นผลที่เกิดจากปฏิกิริยา glycolysis และ alcoholic fermentation โดยใช้ glucose เป็นสารตั้งต้น


1. ATP, ethanol, CO2 2. Ethanol, CO2
3. ATP, NADH, ethanol, CO2 4. ATP, NAD+, ethanol, CO2

48. การหายใจระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจน ATP ส่วนใหญ่สังเคราะห์ขึ้นที่ขั้นตอนใด


1. Glycolysis 2. ขั้นตอนการสร้าง acetyl co A
3. Krebs cycle 4. Electron transport chain
49. การสลายกลูโคส 1 โมเลกุล จะได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้นกี่โมเลกุล
1. 1โมเลกุล 2. 2 โมเลกุล
3. 4 โมเลกุล 4. 6 โมเลกุล
15

50. ปฏิกิริยาไกลโคลิซิส วัฏจักรเครบส์ และกระบวนการการถ่ายทอดอิเล็กตรอนเกิดขึ้นที่ตําแหน่งใดในเซลล์


ตามลําดับ
1. ไซโทซอล เมทริกซ์ของไมโทคอนเดรีย และเยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรีย
2. ไซโทซอล เยื่อหุ้มชั้นนอกของไมโทคอนเดรีย และเยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรีย
3. นิวเคลียส เมทริกซ์ของไมโทคอนเดรีย และช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มไมโทคอนเดรีย
4. นิวเคลียส เยื่อหุ้มชั้นนอกของไมโทคอนเดรีย และช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มไมโทคอนเดรีย

51. แผนภาพปฏิกิริยา

สาร ก และ ข ผลิตจากบริเวณใดของทางเดินอาหารคนตามลําดับ


1. ตับ และ ตับอ่อน
2. ตับอ่อน และ ลําไส้เล็ก
3. ลําไส้เล็ก และ ตับอ่อน
4. ถุงนํ้าดี และ ลําไส้เล็ก

52. เมื่อกลูโคสผ่านกระบวนการ glycolysis แล้วได้ผลผลิตเป็นไพรูเวต 2 โมเลกุล จํานวนโมเลกุล ATP และ


NADH ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาจะเป็นดังข้อใด
ข้อ จํานวนโมเลกุล
ATP ที่ใช้ไป ATP ที่สร้างขึ้น NADH ที่สร้างขึ้น
1 2 2 2
2 2 4 2
3 4 2 2
4 4 2 4
5 4 8 4

53. ปฏิกิริยาภายในเซลล์ข้อใดที่สามารถเกิดได้ทั้งในสภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน
1. glycolysis 2. Krebs cycle 3. Electron transport
4. Oxidative phosphorylation 5. glycolysis และ Krebs cycle
16

54. ในเซลล์ที่มีการหายใจระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจน pyruvate จะถูกสร้างและถูกใช้ที่บริเวณใดของเซลล์


ข้อ สร้าง ใช้
1 Cytosol Cytosol
2 Mitochondria Cytosol
3 Cytosol Mitochondria
4 Chloroplast Mitochondria
5 Chloroplast Cytosol

55. ข้อใดจับคู่สารที่สังเคราะห์ในกระบวนการสลายสารอาหารระดับเซลล์กับตําแหน่งที่เกิดได้ถูกต้อง
1. ATP – chloroplast 2. FADH2 – cytoplasm 3. Acetyl CoA – cytoplasm
4. Citric acid – mitochondria 5. Pyruvic acid – mitochondria
56. เมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมักกลูโคส 1 โมเลกุลจะได้ผลผลิตข้อใด
ข้อ กรดไพรูวิก กรดแลกติก (โมเลกุล) ATP (โมเกลุล)
(โมเลกุล)
1 0 1 1
2 0 2 2
3 1 1 1
4 2 0 2
5 2 2 2
NETSAT 1

1. ข้าว (Oryza sativa) มีจํานวนโครโมโซมดิพลอยด์ (diploid) เท่ากับ 24 แท่งในเอ็นโดสเปิร์ม (endosperm)


ของข้าวจะมีจํานวนโครโมโซมเท่าใด
1. 12 แท่ง 2. 24 แท่ง
3. 36 แท่ง 4. 48 แท่ง

2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction)


1. เป็นการสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องอาศัยเซลล์สืบพันธุ์ (gamete)
2. เป็นการสืบพันธุ์ที่สร้างหน่วยใหม่ขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิตเดิม
3. หน่วยใหม่ที่เกิดขึ้นมาจะมีลักษณะได้หลายลักษณะ
4. เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส (mitosis)

3. ข้อใดเรียงตําแหน่งทางเดินของตัวอสุจิ (Spermatozoa) ได้ถูกต้อง


1. Testis, epididymis, vas deferens, ejaculatory duct
2. Testis, vas deferens, ejaculatory duct, epididymis
3. Testis, epididymis, ejaculatory duct, vas deferens
4. Testis, vas deferens, epididymis, ejaculatory duct

4. เพศชายที่มีกลุ่มอาการไคล์นีฟิวเทอร์ (Klinefelter’s syndrome; 47,XXY) เราสามารถที่จะตรวจพบเซ็กโครมา


ติน (sex-chromatin) หรือบาร์บอดี (Barr body) ได้จํานวนกี่ชุด
1. ตรวนไม่พบ 2. 1 จุด
3. 2 จุด 4. 3 จุด

5. ในการทดลองของเมนเดลได้คัดเลือกถั่วลันเตาที่มียีนควบคุมลักษณะต้นสูง (T) เป็นลักษณะเด่นต่อต้นเตี้ย (t)


เมล็ ดสี เ หลื อง (Y) เป็ นลั กษณะเด่ นต่ อเมล็ ดสี เ ขี ยว (y) โดยมี การควบคุ มของยี นแบบข่ มสมบู รณ์ (complete
dominant) ในการผสมพันธุ์ระหว่างพ่อต้นสูงเมล็ดสีเหลืองกับแม่ต้นเตี้ยเมล็ดสีเขียว พบว่า ได้รุ่นลูกที่มีลักษณะ
แตกต่างกัน 4 แบบ เป็นถั่วลันเตาต้นสูงเมล็ดสีเหลือง ต้นสูงเมล็ดสีเขียว ต้นเตี้ยเมล็ดสีเหลือง และต้นเตี้ยเมล็ดสี
เขียว ข้อใด คือ คําตอบที่ถูกต้องสําหรับการผสมพันธุน
์ ี้
1. พ่อ TtYy ผสมกับแม่ ttyy จะได้อัตราส่วนในรุ่นลูก 1:1:1:1
2. พ่อ TtYy ผสมกับแม่ ttyy จะได้อัตราส่วนในรุ่นลูก 9: 3: 3: 1
3. พ่อ TTYY ผสมกับแม่ ttyy จะได้อัตราส่วนในรุ่นลูก 1: 1: 1: 1
4. พ่อ TtYy ผสมกับแม่ TtYy จะได้อัตราส่วนในรุ่นลูก 9: 3: 3: 1

6. สัตว์ในอันดับไพรเมท (Order primates) ที่มีวิวัฒนาการใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด คือ ข้อใดต่อไปนี้


1. ลิง ค่าง ชะนี และลิงลม 2. กอริลล่า ชิมแพนซี ลิงลม และลีเมอร์
3. ชะนี อุรังอุตัง กอริลล่า และซิมแพนซี 4. ชะนี อุรังอุตัง ลิง และค่าง
NETSAT 2

7 ลักษณะสีเมล็ดของข้าวสาลีถูกควบคุมด้วยพันธุศาสตร์เชิงปริมาณ ในกรณีที่มียีนควบคุม 3 คู่ ยืน A B C


ควบคุมลักษณะเมล็ดสีแดง (สัญญาลักษณ์ p) และยีน a b c (สัญลักษณ์q) ควบคุมลักษณะสีขาว ใน การผสม
พันธุ์ระหว่าง AaBbCc และ AaBbCc โอกาสที่จะได้ต้นข้าวสาลีที่มีสีแดงปานกลาง และประกอบ ไปด้วยสภาพของ
ยีนเด่น 3 สภาพ และยีนด้อย 3 สภาพ มีโอกาสเกิดเท่าใด
1. 1/64 2. 15/64
3. 6/64 4. 20/64

8. การนําโมเลกุลของ AcetylCoA เข้าสู่วัฏจักรเครบส์ 2 รอบ จะได้พลังงานในรูปแบบสารใด และมีจํานวน


เป็นเท่าไร
1. 4ATP, 4NADH, 2FADH2 2. 2ATP, 4NADH, 4FADH2
3. 2ATP, 6NADH, 2FADH2 4. 4ATP, 6NADH, 2FADH2

9. สัญญาลักษณ์ 47,XY,+14p+ มีความหมายตรงกับข้อใด


1. เพศชายมีโครโมโซม 47 แห่ง มีโครโมโซมเพศ XY โครโมโซมคู่ที่ 14 เกินมา 2 แท่ง โครโมโซมที่เกินมานี้
มีแขนข้างสั้นยาวมากกว่าปกติ
2. เพศชายมีโครโมโซม 47 แห่ง มีโครโมโซมเพศ XY โครโมโซมคู่ที่ 14 เกินมา 1 แท่ง โครโมโซมที่เกินมานี้
มีแขนข้างสั้นยาวมากกว่าปกติ
3. เพศหญิงมีโครโมโซม 47 แห่ง มีโครโมโซมเพศ XY โครโมโซมคู่ที่ 14 เกินมา 1 แท่ง โครโมโซมที่เกินมานี้
มีแขนข้างสั้นยาวมากกว่าปกติ
4. เพศชายมีโครโมโซม 47 แห่ง มีโครโมโซมเพศ XY โครโมโซมคู่ที่ 14 เกินมา 1 แท่ง โครโมโซมที่เกินมานี้
มีแขนข้างยาวสั้นมากกว่าปกติ

10. พืชชนิดใดต่อไปนี้ที่ไม่ได้จัดอยู่ในดิวิชันแอนโทไฟตา (Division Anthophyta)


1. จอก แหน และไข่นํ้า 2. แหน แหนแดง และผักแว่น และไข่นํ้า
3. แหนแดง จอกหูหนู และผักแว่น 4. แหน จอกหูหนู และไข่นํ้า

11. กระบวนการใดต่อไปนี้ส่งผลทําให้เกิดการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
1. การแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนของโครโมโซม (Crossing over)
2. การทําโคลนนิ่ง (cloning)
3. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (tissue culture)
4. การตัดต่อยืน หรือพันธุวิศวกรรม (genetic engineering)
5. การกลาย (mutation)
1. 1, 4 และ 5 2. 2, 3 และ 5
3. 2, 3 และ 4 4. 1,2 และ 4
NETSAT 3

12. ในสภาวะสมดุ ล ของกฎฮาร์ ดี - ไวน์ เ บิ ร ์ ก (Hardy Weinberg equilibrium) ในกรณี ท ี ่ ม ี ป ระชากรที ่ เ ป็ น


Homozygous recessive จํานวน 20 เปอร์เซ็นต์ สูญหายไปจากประชากร (ไม่สามารถสืบพันธุ์ได้) ในรุ่น ต่อไปจะมี
จํานวนของ Homozygous recessive เป็นเช่นไร
1. เท่าเดิม 2. น้อยกว่าเดิม
3. เท่าเดิม หรือมากกว่าเดิม 4. เท่าเดิม หรือน้อยกว่าเดิม

13. คลอโรฟิลล์บี (chlorophyll b) จะพบได้ในสิ่งมีชีวิตในข้อใดต่อไปนี้


1. พืช และสาหร่ายสีเขียว
2. พืช และสาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงิน
3. สาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงิน และแบคทีเรียที่สังเคราะห์แสงได้
4. สาหร่ายทุกชนิด และแบคทีเรียที่สังเคราะห์แสงได้

14. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในข้อใดต่อไปนี้ ที่จะส่งผลทําให้เกิดการวิวัฒนาการร่วมกัน (Coevolution)


1. ภาวะพึ่งพาอาศัยกัน (mutualism)
2. ภาวะปรสิต (parasitism)
3. ภาวะอิงอาศัย หรือภาวะเกื้อกูล (commensalism)
4. การแก่งแย่งระหว่างชนิดพันธุ์ (competition between species)
1. 1, 3 และ 4 2. 3 และ 4
3. 1, 2 และ 3 4. 1 และ 2

15. ออร์แกเนลล์ (organelles) ในข้อใดที่มีสารพันธุกรรมเป็นของตัวเอง และสามารถเพิ่มจํานวนตัวเองได้ โดยไม่


ต้องอาศัยคําสั่งจากสารพันธุกรรมในนิวเคลียส
1. ไลโซโซม และไรโบโซม 2. ไลโซโซม และไมโทคอนเดรีย
3. ไรโบโซม และไมโทคอนเดรีย 4. คลอโรพลาสต์ และไมโทคอนเดรีย

16. สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีความผันแปรทางพันธุกรรมเกิดได้จากกระบวนการในข้อใด
1. การแตกหน่อของต้นกล้วย 2. การผสมเทียมในโคและกระบือ
3. การทําโคลนนิ่งในแกะดอลลี่ 4. การขาดออก (fragmentation) ของหนอนตัวแบน
1. 1, 2 และ 3 2. 3 และ 4
3. 2, และ 3 4. 1, 3 และ 4

17. ระบบนิเวศแบบใดที่จะมีผู้ผลิตที่มีจํานวนมวลชีวภาพมากที่สุด
1. ป่าเขาใหญ่ในเขตร้อนชื้น 2. ป่าสนในเขตอบอุ่น
3. ทุ่งหญ้าที่ใช้เลี้ยงสัตว์ 4. สวนผลไม้แบบผสมผสาน
NETSAT 4

18. พืชชนิดใดมีประสิทธิภาพในการสังเคราะห์ด้วยแสงมากที่สุด
1. ข้าวเหนียว 2. ข้าวสาลี
3. ข้าวจ้าว 4. ข้าวฟ่าง

19. สัตว์ในข้อใดจัดอยู่ในชั้น (Class) เดียวกันทั้งหมด


1. ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาช่อน 2. แมลงวัน แมลงปอ และแมงดาทะเล
3. กุ้งนํ้าจืด ปู และกั้ง 4. ปลิงทะเล หมึกกล้วย และหมึกกระดอง

20. มนุษย์มีชื่อวิทยาศาสตร์ Homo sapiens Linnaeus, 1758 คํากล่าวในข้อใดถูกต้อง


1. ระบบการเรียกชื่อที่ใช้เรียกชื่อ คือ แบบทวินาม (binomial nomenclature)
2. ส่วนที่ 1 (Homo) เรียกว่า Generic name
3. ส่วนที่ 2 (sapiens) เรียกว่า Specific epithet.
4. ส่วนที่ 3 (Linnaeus, 1758) เป็นชื่อผู้ค้นพบมนุษย์เป็นครั้งแรก
1. 1, 2 2. 1,3
3. 2,3 4. 2,4

21. จากรายชื่อสิ่งมีชีวิตด้านล่าง ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง


1. หญ้า 2. ตั๊กแตน กินหญ้าเป็นอาหาร
3. นกกระจิบ กินตั๊กแตนเป็นอาหาร 4. เหยี่ยว กินนกกระจิบเป็นอาหาร
1. หญ้าจัดอยู่ในลําดับขั้นการกินที่ 1 (First Trophic Level)
2. ตกแตนเป็นผู้บริโภคลําดับที่ 2 (Secondary consumer)
3. นกกระจิบจัดเป็นสัตว์กินแมลง (Insectivore)
4. เหยี่ยวเป็นสัตว์กินเนื้อ (Carnivore)

22. คําว่า ประชากร (Population) น่าจะตรงกับคํากล่าวในข้อใดมากที่สุด


1. ในช่วงฤดูหนาวเรามักจะเห็นฝูงนกเป็ดนํ้าบินอพยพมาอยู่ตามหนองนํ้าชักช่วงเวลาหนึ่ง จากนั้นก็จะ
อพยพไปยังที่อื่นต่อไป
2. ทุ่งกะมั่ง เป็นที่ราบทุ่งหญ้ากว้างใหญ่กลางเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว ที่แห่งนี้มักพบฝูงนกนานา
ชนิด กวาง เหี้ย หรือหมูป่าออกมาหากินร่วมกันเป็นจํานวนมาก
3. หนองนํ้าบางแห่งเราอาจพบนกเป็ดนํ้า ห่าน รวมถึงนกนํ้าอื่นๆ อาศัยอยู่ร่วมกัน
4. ลําธารในป่ามักพบกับหลากหลายชนิดอาศัยอยู่ร่วมกันได้

23. สัตว์ในไฟลัม (Phylum) ใดที่มีสมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry)


1. Annelida 2. Ctenophora
3. Echinodermata 4. Nematoda
NETSAT 5

24. จากกราฟแสดงการรอดตาย (Survivorship Curve) ด้านล่าง กลุ่มสิ่งมีชีวิตในตัวเลือกใดที่ถูกจัดอยู่ใน


ประเภท Type I

1. ช้าง 2. มนุษย์ 3. ปลาแซลมอน 4. นกกระจอกบ้าน 5. ปลาวาฬ

1. 1, 2, 3 2. 1, 2, 4
3. 1, 2, 5 4. 2, 3, 4

25. แม่ไก่บางสายพันธุ์จะมีพฤติกรรมการฟักไข่ และการเลี้ยงลูกจนโตถึงระยะที่ลูกไก่มีการผลัดขนใหม่มาทดแทน


คําตอบในข้อใดตรงกับพฤติกรรมนี้
1. Habituation 2. Defensive behavior
3. Courtship behavior 4. Parental care

26. สปิคูล (spicule) หรือขวาก (sponging) ทําหน้าที่คํ้าจุนโครงร่างให้คงรูป สัตว์ในข้อใดที่พบโครงสร้างนี้


1. Arthropoda 2. Ctenophora
3. Echinodermata 4. Porifera

27. นักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่งศึกษาเกี่ยวกับการจําแนกชนิด การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ เราเรียก


นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาด้านนี้ว่าอะไร
1. Biologist 2. Evolutionist
3. Taxonomist 4. Herpetologist

28. เมื่อกล่าวถึงเส้นเลือด เส้นเลือดใดที่นําเลือดที่มี O2 สูงกลับเข้าสู่หัวใจ


1. Pulmonary artery 2. Pulmonary vein
3. Anterior vena cava 4. Subclavian vein
NETSAT 6

29. เมื่อกล่าวถึงระบบย่อยอาหาร (Digestive system) ของไก่ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง


1. ไก่จะมีถุงพัก (Crop) ที่มีผนังบาง ทําหน้าที่เก็บอาหารไว้ชั่วคราว
2. กระเพาะแท้ (Proventriculus, fundus หรือ glandular stomach) ทําหน้าที่คลุกเคล้าอาหาร
3. กระเพาะบด (Gizzard) มีกล้ามเนื้อหนา หนังหนาแข็งแรง ทําหน้าที่ย่อยอาหาร
4. ลําไส้เล็กทําหน้าที่ย่อยและดูดซึมสารอาหาร

30. เกษตรกรใช้หลอดไฟเพื่อล่อแมลงเม่าให้บินเข้ามาตอมหลอดไฟ พฤติกรรมของแมลงเท่านี้จัดเป็น


พฤติกรรมแบบใด
1. Negative phototaxis 2. Positive phototaxis
3. Positive phototaxis 4. Negative geotaxis

31. สัตว์ในข้อใดน่าจะมีสมองส่วน Olfactory bulb ไม่ค่อยพัฒนา


1. ปลา 2. กบ 3. งู 4. คน

32. ไฟลัม Chordata มีลักษณะร่วมกันดังคําตอบในข้อใด


1. แท่ ง โนโทคอร์ ด (notochord) เส้ น ประสาทเป็ น แท่ ง อยู ่ ด ้ า นหลั ง (dorsal tubular nerve cord) และ
ช่องเหงือกที่ผนังของฟาริงซ์ (pharyngeal gill stits)
2. แท่ ง โนโทคอร์ ด (notochord) เส้ น ประสาทเป็ น แท่ ง อยู ่ ด ้ า นหลั ง (dorsal tubular nerve cord) และ
กระดูกสันหลัง
3. แท่งโนโทคอร์ด (notochord) เส้นประสาทเป็นแท่งอยู่ด้านหลัง (dorsal tubular nerve cord) ช่อง
เหงือกที่ผนังของฟาริงซ์ (pharyngeal gill stits) กระดูกสันหลัง และการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
4. แท่งโนโทคอร์ด (notochord) เส้นประสาทเป็นแท่งอยู่ด้านหลัง (dorsal tubular nerve cord) เคลื่อนที่
ได้ กระดูกสันหลัง และการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ

34. ระบบเส้นข้างตัว (Lateral line) ทําหน้าที่อะไร


1. การรับฟังเสียง 2. การทรงตัว
3. ตรวจจับการเคลื่อนไหว แรงสั่นสะเทือน 4. การมองเห็นในที่มืด

35. สัตว์ในไฟลัม (Phylum) ใดมีรูปร่าง 2 แบบ ได้แก่ โพลิป (polyp) และเมดูซา (medusa)
1. Phylum Annelida 2. Phylum Cnidaria
3. Phylum Echinodermata 4. Phylum Porifera

36. ระบบนิเวศนํ้าจืดที่สาหร่ายมีการเติบโตอย่างรวดเร็วเกิดจากสาเหตุใด
1. มีธาตุไนโตรเจนสะสมในแหล่งนํ้ามากจนเกินไป
2. มีธาตุฟอสฟอรัสสะสมในแหล่งนํ้ามากจนเกินไป
3. มีธาตุซัลเฟอร์สะสมในแหล่งนํ้ามากจนเกินไป
4. อุณหภูมิของแหล่งนํ้าสูงขึ้นกว่าปกติ
NETSAT 7

37. ข้อไม่ถูกต้องเกี่ยวกับฝนกรด (Acid rain)


1. ฝนที่มีค่า pH ตํ่าซึ่งเกิดจากคาร์บอนไดออกไซด์ผสมกันกับไอนํ้าในชั้นบรรยากาศ
2. ฝนกรดมีค่า pH ตํ่าทําให้ไข่ของปลาไม่พัฒนา และทําให้ปลาตาย
3. ฝนกรดทําให้ทําลายและทําให้พื้นที่แหล่งนํ้าเสื่อมโทรมลง
4. ฝนกรดมีค่า pH ตํ่าทําให้ปลาที่อยู่ในแหล่งนํ้านั้นตาย

38. คนที่ชอบกินเนื้อดิบ ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหมู เนื้อวัว อาจมีความเสี่ยงต่อการได้รับพยาธิตัวตืด ถามว่าพยาธิ


ตัวตืดเกี่ยวข้องกับข้อใดต่อไปนี้
1. Phylum Annelida 2. Phylum Mollusca
3. Phylum Nematoda 4. Phylum Platyhelminthes

39. สิ่งมีชีวิตในข้อใดที่มีจํานวนห้องของหัวใจเหมือนกัน
1. กบ ตุ๊กแก นก 2. กบ ตุ๊กแก จระเข้
3. ไก่ วัว คน 4. ตุ๊กแก จระเข้ ไก่
40. ตะพาบนํ้าแตกต่างจากเต่าอย่างไร
1. ตะพาบนํ้ามีกระดองหลังเป็นแผ่นหนังนิ่มส่วนเต่ามีกระดองหลังเป็นแผ่นเกล็ดขนาดใหญ่หลายเกล็ด
ปกคลุม
2. ตะพาบนํ้ามีไข่ที่เป็นเปลือกแข็ง เต่ามีไข่ที่เป็นเปลือกหนังและนิ่ม
3. ตะพาบมีขาหน้าและหลังที่ปรับเปลี่ยนไปเป็นใบพายเพื่อประโยชน์ในการว่ายนํ้า เต่ามีขาหน้าและหลังเป็น
ทรงกระบอกสําหรับการเดินบนบก
4. ตะพาบนํ้าหายใจผ่านปอดและผิวหนัง เต่าหายใจผ่านปอด

41. ลักษณะสีเมล็ดของข้าวสาลีถูกควบคุมด้วยพันธุศาสตร์เชิงปริมาณ ในกรณีที่มียีนควบคุม 3 คู่ ยืน A B C


ควบคุมลักษณะเมล็ดสีแดง (สัญญาลักษณ์ p) และยืน a b c (สัญญาลักษณ์ q) ควบคุมลักษณะสีขาว ใน การ
ผสมพันธุ์ระหว่าง AaBbCC และ AaBbcc ให้นักศึกษาทําการคํานวณโอกาสของการเกิดต่อไปนี้ โอกาสที่จะได้ต้น
ข้าวสาลีที่มีสีแดงเข้มมาก และประกอบไปด้วยสภาพของยีนที่เป็นยีนเด่นทั้งหมด มีโอกาสเกิดเท่าใด
1. 1/64 2. 15/64
3. 6/64 4. 20/64

42. กระบวนการทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสลายไขมันที่สะสมในร่างกาย ทําให้ได้พลังงานในรูปของ ATP


ต้องเกิดจากกระบวนการในข้อใด
1. Bata-oxidation 2. Oxidation of pyruvate
3. Tricarboxylic acid cycle 4. Electron transport chain
5. Glycolysis
1. 1, 2, 3 2. 1, 2, 3, 4
3. 1, 2, 3, 4, 5 4. 2, 3, 4, 5
NETSAT 8

43. ข้อใด คือ ลักษณะที่สําคัญของการเกิดกระบวนการ non-disjunction ในการแบ่งเซลล์ไมโอซิส


1. ส่งผลทําให้ได้ลูกที่มีจํานวนโครโมโซมเพิ่มมากขึ้น
2. ส่งผลทําให้ได้ลูกที่มีจํานวนโครโมโซมลดน้อยลง
3. ส่งผลทําให้การทํางานของยีนผิดปกติไป
4. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง

44. ข้อใด คือ พฤติกรรมไม่ใช่ที่มีมาแต่กําเนิด (innate behavior) เป็นพฤติกรรมการแสดงออกที่เป็นผลจาก


พันธุกรรม และเป็นลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง
1. ลูกจิงโจ้ที่เกิดสามารถเดินทางไปสู่ถุงหน้าท้องของแม่ได้
2. ลูกกวางสามารถหาเต้านมแม่เพื่อนนํ้านมได้เมื่อแรกเกิด
3. กบใช้ลิ้นตวัดแมลงที่เกาะกิ่งไม้กินเป็นอาหาร
4. จิ้งจกวิ่งหนีอย่างรวดเร็วเมื่อร่างกายสัมผัสกับของแข็ง

45. โรค Cat-cry syndrome หรือ Chi du chat syndrome ที่ทารกร้องเสียงคล้ายแมว และมีลักษณะ ปัญญา
อ่อน เกิดจากสาเหตุใดต่อไปนี้
1. โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง 2. โครโมโซมเอ็กซ์เกินมา 1 แท่ง
3. โครโมโซมเอ็กซ์ขาดหายไป 1 แท่ง 4. ปลายแขนสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหาย

46. ข้อใดกล่าวถึงพืชจําพวกเฟิน (fern) ได้ไม่ถูกต้อง


1. เป็นพืชที่มีท่อลําเลียงที่ไม่มีเมล็ด
2. เป็นพืชที่มีใบที่แท้จริง
3. วงจรชีวิตแบบสลับระยะสปอโรไฟต์ และแกมีโทไฟต์
4. ต้นแกมีโทไฟต์มีการแบ่งเซลล์ไมโอซิสเพื่อสร้างสปอร์

47. สัญญาลักษณ์ 47, XY, +14p+ มีความหมายตรงกับข้อใด


1. เพศชายมีโครโมโซม 47 แห่ง มีโครโมโซมเพศ XY โครโมโซมคู่ที่ 14 เกินมา 2 แท่ง โครโมโซมที่เกินมานี้
มีแขนข้างสั้นยาวมากกว่าปกติ
2. เพศหญิงมีโครโมโซม 47 แห่ง มีโครโมโซมเพศ XY โครโมโซมคู่ที่ 14 เกินมา 1 แท่ง โครโมโซมที่เกินมานี้
มีแขนข้างสั้นยาวมากกว่าปกติ
3. เพศชายมีโครโมโซม 47 แห่ง มีโครโมโซมเพศ XY โครโมโซมคู่ที่ 14 เกินมา 1 แท่ง โครโมโซมที่เกินมานี้
มีแขนข้างยาวสั้นมากกว่าปกติ
4. เพศชายมีโครโมโซม 47 แห่ง มีโครโมโซมเพศ XY โครโมโซมคู่ที่ 14 เกินมา 1 แท่ง โครโมโซมที่เกินมานี้
มีแขนข้างสั้นยาวมากกว่าปกติ

48. การเปลี่ยน Pyruvate จํานวน 4 โมเลกุล ในกระบวนการ Lactic acid fermentation ข้อใดถูกต้อง
1. ใช้ 4 NADH 2. ได้ 4 NADH
3. ได้ 4 NADH + Co2 4. ใช้ 4 NADH + Co2
NETSAT 9

49. ในพื้นที่ป่าเขาใหญ่เมื่อเสือที่เป็นสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่เกิดโรคระบาดขึ้น ทําให้ลดจํานวนประชาการลงอย่าง


รวดเร็ว ต่อมาพบว่าพืชหลายชนิดลดจํานวนประชากรลงอย่างมาก ข้อใดคือสาเหตุของเหตุการณ์นี้
1. การตายของเสือทําให้ลดการถ่ายเทปุ๋ย (การย่อยสลาย) ในธรรมชาติ
2. พืชลดการผสมพันธุ์ (เกสร) น้อยลง
3. กวางเพิ่มจํานวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
1. 1, 4 2. 2, 3
3. 3 4. ไม่มีข้อถูก

50. หากเราต้องการหาประชากรกระรอกที่อาศัยอยู่บนเกาะแห่งหนึ่ง โดยใช้วิธีการทําเครื่องหมายแล้วปล่อย กลับ


จับใหม่ ครั้งแรกทําการดักกระรอกได้มา 120 ตัว แล้วทําการตัดปลายหาง แล้วปล่อยกลับไป และทํา การสุ่มจับมา
อีกครั้ง จํานวน 40 ตัว ในจํานวนนี้ได้กระรอกที่ถูกตัดปลายหาง จํานวน 10 ตัว ถามว่า ประชากรกระรอกบนเกาะ
นี้มีประมาณที่ตัว
1. 300 ตัว 2. 600 ตัว
3. 200 ตัว 4. 480 ตัว

51. ถ้าเรานําเอาสารอะซิติลโคเอนไซม์ เอ (acetyl CoA) จํานวนเท่ากับ 10 โมเลกุล เข้าไปสร้างพลังงานในไมโท


คอนเดรียจะเกิด ATP ได้จํานวนเท่าใด
1. 150 โมเลกุล 2. 180 โมเลกุล
3. 120 โมเลกุล 4. 200 โมเลกุล

52. จากข้อมูลต่อไปนี้ให้ตอบคําถาม
DNA สายแรก 5’ ATGCCTGAATTCTAA 3’
DNA สายที่สอง 3’…………………………………5’
ในการสร้างสาน polypeptide (โปรตีน) จากสาย DNA ได้เป็นสาย m-RNA ถามว่าได้กรดอะมิโน (amino
acid) ทั้งหมดกี่ตัว
1. 2 ตัว 2. 3 ตัว
4. 4 ตัว 4. 5 ตัว

53. ในต้นถั่วเขียวที่กําลังงอก ถ้าเราทําการตัดเอาหมวกราก (root cap) ออก จากนั้นนําเอาต้นถั่วเขียวไปวางใน


แนวราบ ถามว่าต้นถั่วเขียวจะมีการเจริญเติบโตต่อไปอย่างไร
1. รากจะเจริญเติบโตโค้งลง 2. รากจะเจริญเติบโตต่อไปในแนวราบ
3. รากจะเจริญเติบโตโค้งขึ้น 4. รากจะหยุดการเจริญเติบโต
NETSAT 10

54. ข้อใดที่แสดงให้เห็นว่า แสง มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม (behavior) ของสิ่งมีชีวิต


1. ต้นไม้มีการผลัดใบในฤดูแล้ง และผลิตใบในฤดูฝน
2. การอพยพย้ายถิ่นของนกเป็ดนํ้าเพื่อหนีหนาว
3. ค้างคาวออกหากินแมลงและผลไม้ในเวลากลางคืน
4. กบจําศีลในฤดูหนาว และออกหากินเวลาฝนตก

55. ในกระบวนการเมแทบอลิซึม (metabolism) ของสัตว์ชั้นสูง ธาตุใดที่ทําให้เกิดพลังงาน


1. ออกซิเจน 2. ไฮโดรเจน
3. คาร์บอน 4. ไนโตรเจน

56. ในสภาพที่พืชถูกสิ่งเร้า (Stimulation) มากระตุ้น พืชจะแสดงออกมาในลักษณะใด


1. มีการตอบโต้ในทิศทางตรงข้ามกับสิ่งเร้า 2. มีการเคลื่อนที่ตรงข้ามกับสิ่งเร้า
3. มีการตอบสนองโดยการเคลื่อนไหว 4. ไม่มีการตอบสนองโดยตรงต่อสิ่งเร้า

57. การที่เรามีพี่น้องที่มีกําเนิดมาจากพ่อแม่เดียวกัน เราจะพบว่าจะมีนํ้าหนัก ส่วนสูง หมู่เลือด สีผิวที่แตกต่างกัน


ถามว่าที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากอิทธิพลในข้อใด
1. ความแปรผัน 2. พันธุกรรม
3. สิ่งแวดล้อม 4. การเปลี่ยนแปลงของยีน
1. 1, 2 2. 2, 3
3. 3, 4 4. 1, 4
58. ผนังเซลล์ของแบคทีเรียประกอบขึ้นด้วยสารชนิดใด
1. Peptidoglycan 2. Phospholipid
3. Cellulose 4. Glycolipid

59. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนํ้านม (mammal) ชนิดหนึ่งมีรูปร่างเป็นรูปทรงกระสวย ตาเล็กมาก ๆ หูสั้น ขนที่ปก คลุม


ลําตัวหนาและสั้น ใบหูเล็ก รยางค์หน้าใหญ่และแข็งแรง รวมทั้งมีกรงเล็บ (Claw) ที่แข็งแรง สัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนม
ชนิดนี้น่าจะอาศัยอยู่ในถิ่นที่อยู่ (habitat) แบบใด
1. บนยอดไม้ 2. บนต้นไม้
3. บนพื้นดิน 4. ใต้ดิน

60. นักเรียนจะสามารถรู้ได้อย่างไรว่าสัตว์ตัวไหนเป็นตะขาบ (ชั้น Chilopoda) หรือว่ากิ้งกือ (ชั้น Diplopoda)


1. ตะขาบมีขา 1 คู่ต่อปล้อง ส่วนกิ้งกือมีขา 2 คู่ต่อปล้อง
2. ตะขาบมีขา 2 คู่ต่อปล้อง ส่วนกิ้งกือมีขา 1 คู่ต่อปล้อง
3. ตะขาบมีหนวด 1 คู่ ส่วนกิ้งกือมีขา 2 คู่
4. ตะขาบมีหนวด 2 คู่ ส่วนกิ้งกือมีขา 1 คู่
NETSAT 11

61. จากรายชื่อไฟลัม (Phylum) ในข้อ ก ถึง ณ ด้านล่าง ไฟลัมใดมีระบไหลเวียน (Circulatory System) แบบปิด
(closed circulatory system)
ก. ไฟลัมพอริเฟอรา (Phytum Porifera)
ข. ไฟลัมซีเลนเดอราตา (Phylum Coelenterata)
ค. ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes)
ง. ไฟลัมนีมาโตดา (Phylum Nematoda)
จ. ไฟลัมแอลิดา (Phylum Annelida)
ฉ. ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda)
ช. ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca)
ซ. ไฟลัมเอไดโนเดอมาตา (Phylum Echinodermata)
ฌ. ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)
1. ก และ ค 2. ฃ และ ง
3. ฉ และ ช 4. จ และ ฌ

62. เวลานักเรียนไปตลาดสดกับคุณแม่ นักเรียนจะเห็นมีปลามากมายหลากหลายชนิดมาวางขาย นักเรียนจะ


สังเกตได้อย่างไรว่าปลาตัวไหนเป็นปลากระดูกอ่อน (ชั้น Chondrichthyes) หรือปลากระดูกแข็ง (ชั้น
Osteichthyes)
1. ปลากระดูกอ่อนไม่มีกระดูกปิดเหงือก (Operculum) ส่วนปลากระดูกแข็งมีกระดูกปิดเหงือก
2. ปลากระดูกอ่อนไม่มีกระเพาะลม ส่วนปลากระดูกแข็งมีกระเพาะลม
3. ปลากระดูกอ่อนออกลูกเป็นตัว ส่วนปลากระดูกแข็งจะวางไข่
4. ปลากระดู ก อ่ อ นมั ก มี ก ารปฏิ ส นธิ ภ ายในร่ า งกาย ส่ ว นปลากระดู ก แข็ ง มั ก มี ก ารปฏิ ส นธิ ภ ายนอก
ร่างกาย

63. จากรายชื ่ อ ไฟลั ม (Phylum) ในข้ อ ก ถึ ง ฌ ด้ า นล่ า ง ไฟลั ม ใดมี ม ี ส มมาตรแบบด้ า นข้ า ง (Bilateral
symmetry)
ก. ไฟลัมมอริเฟอรา (Phylum Porifera)
ข. ไฟลัมซีเลนเตอราตา (Phylum Coelenterata)
ค. ไฟลัมแพลตเฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes)
ง. ไฟลัมนีมาโตดา (Phylum Nematoda)
จ. ไฟลัมแอนลิดา (Phylum Annelida)
ฉ. ไฟลัมอาร์โทโพดา (Phylum Arthropoda)
ช. ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca)
ซ. ไฟลัมเอไดโนเดอมาตา (Phylum Echinodermata)
ฌ. ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)
1. ก, ค, จ, และ ช 2. ข, ง, ฉ และ ซ
3. ก, ค, ง และ ซ 4. ค. จ, ฉ และ ฌ
NETSAT 12

64. ส่วนใดของระบบทางเดินอาหารสัตว์ชั้นสูงที่มีการดูดซึมสารอาหารมากที่สุด
1. ปาก 2. กระเพาะอาหาร
3. ลําไส้เล็ก 4. ลําไส้ใหญ่

65. รายชื่อสัตว์ในตัวเลือกใดที่เป็นกลุ่มสัตว์เคี้ยวเอื้อง
1. ช้าง ม้า วัว ควาย 2. วัว ควาย แพะ แกะ
3. หมู วัว ไก่ ช้าง 4. คน กระรอก กวาง อูฐ

66. ตัวเลือกใดคือลักษณะของหมู่เลือด AB
1. สามารถถ่ายให้คนที่มีเลือดทุกหมู่ได้ 2. หมู่เลือดที่พบมากในประชากรชาวไทย
3. สามารถรับเลือดจากคนที่มีเลือดทุกหมู่ได้ 4. ไม่มีแอนติเจน A และ B

67. ตัวเลือกใดไม่ใช่หน้าที่ของต่อมนํ้าเหลือง
1. ทําหน้าที่กรองนํ้าเหลืองให้สะอาด 2. ทําหน้าที่สร้างเม็ดเลือดขาว
3. ทําหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดงในทารกก่อนการคลอด 4. ทําหน้าที่ทําลายเม็ดเลือดแดง

68. นกทะเลมีกลไกใดในการรักษาสมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย
1. มีเกล็ดหุ้มผิวหนังเพื่อป้องกันนํ้าซึมเข้า
2. มีต่อมบริเวณจมูก (nasal gland) หรือต่อมเกลือ (salt gland) ทําหน้าที่ในการขับเกลือส่วนเกินออก
จากร่างกาย
3. มีการขับปัสสาวะที่มีเข้มข้นออก
4. ไม่ต้องมีกลไกใดช่วยเนื่องจากมีแรงดันออสโมติกของของเหลวในร่างกายใกล้เคียงกับนํ้าทะเล ดังนั้น
จึงไม่จําเป็นต้องมีการขับเคลื่อออกจากร่างกายแต่อย่างใด

69. สัตว์ในตัวเลือกใดที่น่าจะมีสมองส่วนออแฟกทอรี บัลบ์ (olfactory bulb) เจริญดีและมีขนาดใหญ่


1. งู 2. นก
3. สุนัข 4. คน

70. ปั จ จุ บ ั น โลกกํ า ลั ง เผชิ ญ กั บ ภาวะโลกร้ อ น การปฏิ บ ั ต ิ ต ามการกระทํ า ในข้ อ ใดบ้ า ง (ข้ อ ก ถึ ง ญ (global
warming) และเราสามารถช่วยลดภาวะดังกล่าวโดย
ก. การช่วยประหยัดพลังงานที่บ้าน
ข. การเดิน การปั่นจักรยาน หรือการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ
ค. การรับประทานผักให้มากขึ้น
ง. การเลือกวิธีการเดินทางให้เหมาะสม
จ. การรับประทานอาหารให้หมด
ฉ. การลดการใช้ การใช้ซํ้า การซ่อมแซม และการรีไซเคิล
ช. การเปลี่ยนแหล่งพลังงานในบ้าน
NETSAT 13

ซ. การเปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า
ฌ. การเลือกผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ญ. การเป็นกระบอกเสียง
1. ข้อ ก ข ค ง 2. ข้อ ฉ ช ซ ฌ
3. ข้อ ก, ข, ฉ ฌ 4. ถูกทุกข้อ

71. การอยู่ร่วมกันของสัตว์สองชนิด โดยสัตว์ชนิดหนึ่งได้รับประโยชน์ในขณะที่สัตว์อีกชนิดเสียประโยชน์หรือ


ได้รับความเสียหาย การอยู่ร่วมกันในรูปแบบดังกล่าวเรียกว่าอะไร
1. ความสัมพันธ์แบบอยู่ร่วมกัน (Symbiotic relationship)
2. ภาวะการแย่งชิงทรัพยากร (resource competition)
3. ภาวะพึ่งพา (mutualism)
4. ภาวะปรสิต (parasitism)

72. การทดแทนขั้นทุติยภูมิ (secondary succession) ตรงกับตัวเลือกใดมากที่สุด


1. ภายหลังจากการเกิดภูเขาไฟระเบิดจะเกิดพื้นที่โล่งที่ปกคลุมด้วยลาวาหรือฝุ่นเป็นพื้นที่กว้าง เมื่อเวลา
ผ่านไปจะเริ่มมีการเข้ามาตั้งรกรากของสิ่งมีชีวิต
2. ประเทศไทยประสบปัญหาการตัดไม้ทําลายป่า จนเกิดเป็นป่าเสื่อมโทรม พื้นที่ดังกล่าวหากปล่อยทิ้งไว้
เมื่อเวลาผ่านไปก็จะเกิดการเข้ามาตั้งรกรากของสิ่งมีชีวิตมาตั้งรกรากของสิ่งมีชีวิต
3. ภาวะโลกร้อนในปัจจุบันทําให้ธารนํ้าแข็งละลายเกิดเป็นร่องนํ้าที่แห้ง เมื่อเวลาผ่านไปร่องนํ้าดังกล่าวก็
จะมีสิ่งมีชีวิตเข้าม ามาตรก ตั้งรกราก
4. เกาะตามมหาสมุทรที่เกิดขึ้นใหม่จะยังไม่มีสิ่งมีชีวิตเข้ามาอาศัยอยู่ แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะเริ่มมีการเข้า

73. ตัวเลือกใดไม่ตรงกับความหมายของการอนุรักษ์ (conservation)


1. ช่วงต้นฤดูฝนจะมีอึ่งถูกจับมาขายตามตลาดเป็นปริมาณมาก เนื่องจากเป็นช่วงที่วิ่งออกมาส่งเสียง
ร้องเพื่อจับคู่ผสมพันธุ์เป็นจํานวนมาก ดังนั้นจึงถูกจับได้ง่ายนั่นเอง
2. ประเทศไทยมีการกําหนดรายชื่อสัตว์ป่าที่สามารถอนุญาตให้เพาะเลี้ยงได้เพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรสัตว์ป่า ดังนั้นเกษตรกรที่สนใจสามารถดําเนินการขออนุญาตในกาเพาะเลี้ยง
สัตว์ป่าในรายชื่อดังกล่าวได้
3. องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ทําหน้าที่ในการปลูกสร้างสวนป่า พอถึงรอบปีที่จะตัดไม้ออกมาใช้ประโยชน์
ก็จะดําเนินการตัดออกมาทั้งแปลง แล้วดําเนินการปลูกป่ารอบใหม่แทน
4. ชาวบ้านบางหมู่บ้านมีการกําหนดข้อตกลงร่วมกันในการกําหนดบางพื้นที่ของลําธารเพื่อเป็นเขตห้าม
จับสัตว์นํ้า
NETSAT 14

74. ตัวเลือกใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระบบนิเวศ
1. การหมุนเวียนของสารในระบบนิเวศมีการหมุนเวียนเป็นวัฏจักร
2.การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศจะไม่หมุนเวียนเป็นวัฏจักร
3. ทุกระบบนิเวศจะมีการหมุนเวียนของสารและการถ่ายทอดพลังงาน
4. จุดเริ่มต้นของพลังงานในระบบนิเวศคือผู้ผลิต (producer)

75. จากทุ่งนาแห่งหนึ่งมีสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ อาศัยอยู่ ประกอบด้วย ข้าว หญ้า หอย หนู นกกินพืช ตั๊กแตน ปู ปลา
กุ้ง กบ นกกินแมลง งู เหยี่ยว และชาวนา หากมีการใช้สารกําจัดแมลงและศัตรูพืชในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตใน
ตัวเลือกใดจะมีการสะสมของยากําจัดแมลงและศัตรูพืชมากที่สุด
1. ข้าว หญ้า 2. เหยี่ยว ชาวนา
3. นกกินพืช นกกินแมลง 4. กบ

76. ข้อความในตัวเลือกใดที่ตรงกับความหมายของคําว่า “ประชากร” มากที่สุด


1. บริเวณโป่งดินที่พบอยู่ในป่ามักจะมีสัตว์กินพืชหลากหลายชนิดมากินดินโป่งเพื่อให้ได้รับแร่ธาตุที่
จําเป็นต่อร่างกาย ขณะเดียวกันก็จะพบสัตว์ล่าเหยื่อเข้ามายังพื้นที่โป่งเพื่อล่าเหยื่อด้วยเช่นเดียวกัน
2. ช่วงฤดูหนาว เรามักพบฝูงนกเป็ดแดงจํานวนมากบินอพยพมาแวะพักอยู่บึงสีฐานซึ่งเป็นบึงนํ้าขนาด
ใหญ่ภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
3. เกษตรกรบางคนนิยมปลูกพืชแบบผสม เพื่อให้มีความหลากหลายของชนิดพืชมาก
4. กลุ่มของคนไทยที่มีอายุมากว่า 60 ปี

77. การตั้งสมมติฐาน (hypothesis) นั้น เราสามารถตั้งได้จากสิ่งใด


1. การสังเกต 2. การตั้งปัญหา
3. การทดลอง 4. การสรุปผล

You might also like