You are on page 1of 10

ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1

ตามมาตรฐานตัวชี้วดั วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


ชุ ดที่ 1
ตารางวิเคราะห์ มาตรฐานตัวชี้วดั ตารางวิเคราะห์ ระดับพฤติกรรมการคิด
ข้
ว 2.1 ความรู้ ความ การ การ การ การสร้ าง

ความจำ เข้ าใจ ประยุกต์ ใช้ วิเคราะห์ ประเมินค่ า สรรค์
1 2 3 4 5 6 7
1  
2  
3  
4  
5  
6  
7  
8  
9  
10  
11  
12  
13  
14  
15  
16  
17  
18  
19  
20  

ข้ อสอบหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)


กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ข้อสอบ ปลายภาค ภาคเรียนที่
1 ชุดที่ 1
วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 3

ชื่อ ...................................................... นามสกุล..................................................................


เลขประจำตัว ...................................... โรงเรี ยน .................................................................
วันที่ ........................................ เดือน ...................................................... พ.ศ. ...................
คำชี้แจง 1. ข้อสอบมีท้ งั หมด 20 ข้อ 20 คะแนน คะแนนที่ได้
2. ให้นกั เรี ยนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว คะแนนเต็ม 20

1. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพอลิเมอร์
ก. เกิดจากมอนอเมอร์ชนิดเดียวกันหรื อต่างชนิดกัน
ข. มีความหนาแน่นสูง
ค. เกิดจากการสังเคราะห์ข้ ึนโดยมนุษย์
ง. มอนอเมอร์จะรวมตัวกันด้วยพันธะโลหะ

2. ต้องการนำพอลิเมอร์มาใส่ ของร้อน ควรเลือกใช้พอลิเมอร์ประเภทใด


ก. พอลิไวนิลคลอไรด์ ข. พอลิเมลามีนฟอร์มาลดิไฮด์
ค. พอลิเอทิลีน ง. พอลิสไตรี น

3. ผลิตภัณฑ์ในข้อใดทำมาจากยางทั้งหมด
ก. ยางล้อรถยนต์ พื้นรองเท้า ถุงยางอนามัย
ข. สายพานรถ ผ้าปูที่นอน ยางลบ
ค. ฟองน้ำ ฝอยขัดหม้อ แปรงสี ฟัน
ง. ถุงมือทางการแพทย์ ขวดพลาสติก กระเบื้อง

4. ข้อใดจัดเป็ นเส้นใยที่แตกต่างจากพวกมากที่สุด
ก. ลินิน ข. ฝ้ าย
ค. ไนลอน ง. ป่ าน

5. สมบัติของเซรามิกขึ้นอยูก่ บั ข้อใด
ก. การเผา ความหนาแน่น ส่ วนผสม
ข. การขึ้นรู ป การเผา อายุของวัตถุดิบ
ค. วัตถุดิบ โครงสร้าง อุณหภูมิในการผลิต
ง. วัตถุดิบ การขึ้นรู ป การเผาและเคลือบผลิตภัณฑ์

วิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) 1


6. ข้อใดเป็ นวัตถุประสงค์ของการทำวัสดุผสม
ก. ลดต้นทุนการผลิต ข. ทำให้ได้วสั ดุที่มีสมบัติตามต้องการ
ค. เพิ่มปริ มาณวัสดุ ง. ลดการใช้วสั ดุจากธรรมชาติ

7. หากต้องการวัสดุที่มีความแข็งแรงและเหนียว ควรใช้วสั ดุผสมในข้อใด


ก. ไฟเบอร์กลาสส์ ข. พอลิเมอร์และเส้นใย
ค. คอนกรี ตเสริ มเหล็ก ง. เซรามิกและเส้นใย

8. บุคคลใดปฏิบตั ิตนไม่ เหมาะสม


ก. อายเลือกซื้ ออาหารจากร้านที่ใส่ กล่องโฟมแทนถุงพลาสติก
ข. อ้อมใช้กระดาษให้ครบทั้ง 2 หน้าก่อนทิ้ง
ค. อิ๋วแยกขยะก่อนทิ้งตามประเภทของขยะทุกครั้ง
ง. แอมป์ ใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก

9. พิจารณาแบบจำลองปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้

+ +
แบบจำลองดังกล่าวแทนปฏิกิริยาเคมีในข้อใด
ก. Mg (s) + 2HCl (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g)
ข. 2H2 (g) + O2(g) H2O (l) + O2(g)
ค. CH4 (g) + 2O2 (g) CO2(g) + 2H2O (l)
ง. HCl (aq) + NaOH (aq) NaCl (aq) + H2O (l)

10. ข้อใดแสดงสมการเคมีได้ถูกต้อง
ก. Zn (s) + 2HCl (aq) ZnH (aq) + Cl2 (g)
ข. HCl (aq) + NH4OH (aq) NH4Cl (aq) + H2O (l)
ค. Fe (s) + O2 (g) + H2O (l) Fe2O3 3H2O (s)
ง. 2SO3 (g) + H2O (l) H2SO4 (aq)

วิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) 2


11. ปฏิกิริยาเคมีหนึ่งเกิดจากสารตั้งต้น A และ B ซึ่ งมีมวลเท่ากัน เมื่อผสม A และ B ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์เป็ น
สาร C และ แก๊ส D ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
ก. สาร C มีมวลน้อยกว่าสาร A และสาร B
ข. แก๊ส D มีมวลเท่ากับสาร A และสาร B
ค. สาร C มีมวลมากกว่ามวลของสาร A รวมกับสาร B
ง. สาร C และ แก๊ส D มีมวลรวมกันเท่ากับมวลรวมของสาร A และ B

12.

ชัง่ มวลของบีกเกอร์ที่บรรจุหลอดทดลอง 2 อัน ซึ่ งบรรจุสาร A และ B ดังภาพ ถ้านำสาร A เทใส่ สาร B
จากนั้นวางหลอดทดลองที่บรรจุสาร A ไว้ที่เดิม พบว่า เครื่ องชัง่ ดิจิทลั ยังอ่านค่ามวลได้เท่าเดิม สาร A
และ B คือข้อใด
ก. สาร A คือ กรดไฮโดรคลอริ ก สาร B คือ หินปูน
ข. สาร A คือ กรดซัลฟิ วริ ก สาร B คือ หิ นปูน
ค. สาร A คือ น้ำ สาร B คือ โซเดียมคลอไรด์
ง. สาร A คือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ สาร B คือ สังกะสี

13. บิ๊กนำสาร 2 ชนิดมาผสมกันในบีกเกอร์ เมื่อลองสัมผัสบีกเกอร์หลังสารผสมกัน พบว่าบีกเกอร์เย็นกว่า


ตอนก่อนผสมสาร ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
ก. สารทั้ง 2 ชนิดมีการเปลี่ยนสถานะ
ข. มวลหลังเกิดปฏิกิริยาน้อยกว่ามวลก่อนเกิดปฏิกิริยา
วิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) 3
ค. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ง. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน

14. พิจารณากราฟ
พลังงาน

สารตั้งต้น
ผลิตภัณฑ์

การดำเนินไปของปฏิกิริยา
ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
ก. ระบบดูดพลังงานความร้อนเพื่อสลายพันธะน้อยกว่าคายพลังงานความร้อนเพื่อสร้างพันธะ
ข. ระบบดูดพลังงานความร้อนเพื่อสลายพันธะมากกว่าคายพลังงานความร้อนเพื่อสร้างพันธะ
ค. เป็ นปฏิกิริยาเคมีที่ท ำให้เกิดผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊สและมีพลังงานความร้อนออกมา
ง. เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน

15. ปฏิกิริยาเคมีในข้อใดได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊สที่แตกต่างจากข้ออื่น


ก. ใส่ สงั กะสี ลงในกรดไฮโดรคลอริ ก
ข. ใส่ อะลูมิเนียมลงในโซเดียมไฮดรอกไซด์
ค. ใส่ แมกนีเซียมลงในกรดไฮโดรคลอริ ก
ง. ใส่ แคลเซียมคาร์บอเนตลงในกรดซัลฟิ วริ ก

16. ข้อใดกล่าวถึงการเผาไหม้ของเครื่ องยนต์ที่เป็ นสาเหตุให้เกิดปัญหาฝุ่ น PM 2.5 ได้ถูกต้อง


ก. เป็ นการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์
ข. เกิดแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์เป็ นผลิตภัณฑ์
ค. เกิดขึ้นเมื่อมีปริ มาณแก๊สออกซิเจนมากเพียงพอในการทำปฏิกิริยา

วิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) 4


ง. เกิดจากการเผาไหม้ของแก๊สมีเทนเท่านั้น

17. พิจารณาปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้
HCl (aq) + NH4OH (aq) NH4Cl (aq) + A
จากปฏิกิริยาเคมีที่ก ำหนด A คือสารใด
ก. H2O ข. H2 ค. CO2 ง. NH3

18. ข้อใดไม่ ใช่ ปัจจัยที่จะทำให้เหล็กเกิดสนิม


ก. ความชื้น
ข. อากาศ
ค. เหล็ก
ง. อุณหภูมิ

19. ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในข้อใดเกิดจากผลของปฏิกิริยาเคมีนอ้ ยที่สุด


ก. ปัญหาดินเปรี้ ยว
ข. ฝนกรด
ค. น้ำท่วม
ง. ปรากฏการณ์เรื อนกระจก

20. นักเรี ยนไม่ ควรนำภาชนะที่ท ำจากอะลูมิเนียมมาใส่ อาหารประเภทใด


ก. แกงจืดเต้าหู้
ข. แกงส้ม
ค. ข้าวสวย
ง. หมูทอด

วิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) 5


เฉลย ข้อสอบชุ ดที่ 1

ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1.  11. 
2.  12. 
3.  13. 
4.  14. 
5.  15. 
6.  16. 
7.  17. 
8.  18. 
9.  19. 
10.  20. 

เฉลยคำตอบอย่ างละเอียด
ข้อสอบ ปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ชุดที่ 1 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 3
1. ก. เกิดจากมอนอเมอร์ ชนิดเดียวกันหรือต่ างชนิดกัน

วิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) 6


 พอลิเมอร์ เกิดจากสารโมเลกุลเล็กที่เรี ยกว่า มอนอเมอร์มารวมตัวกันด้วยการสร้างพันธะโคเวเลนส์
ต่อกัน ซึ่ งอาจจะเกิดจากมอนอเมอร์ชนิดเดียวกันหรื อต่างชนิดกัน พอลิเมอร์สามารถเกิดขึ้นได้เองตาม
ธรรมชาติ และเกิดจากมนุษย์สงั เคราะห์ข้ ึนมาจากผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลัน่ ปิ โตรเลียม
2. ข. พอลิเมลามีนฟอร์ มาลดิไฮด์
 พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิเอทิลีน และพอลิสไตรี น เป็ นพอลิเมอร์ที่ไม่ทนความร้อน ส่ วนพอลิเมลามีน
ฟอร์มาลดิไฮด์ สามารถทนความร้อนได้ดี
3. ก. ยางล้ อรถยนต์ พืน้ รองเท้ า ถุงยางอนามัย
 ยางเป็ นพอลิเมอร์ที่มีความยืดหยุน่ สูง แบ่งเป็ นยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห์ ใช้ท ำผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
เช่น ยางล้อรถยนต์ ลูกบอล พื้นรองเท้า ถุงยางอนามัย ถุงมือทางการแพทย์ ยางลบ
4. ค. ไนลอน
 ลินิน ฝ้ าย ป่ าน จัดเป็ นเส้นใยธรรมชาติ ส่ วนไนลอนเป็ นเส้นใยสังเคราะห์
5. ง. วัตถุดบิ การขึน้ รู ป การเผาและเคลือบผลิตภัณฑ์
 สมบัติของผลิตภัณฑ์เซรามิก จะขึ้นอยูก่ บั วัตถุดิบที่ใช้ การขึ้นรู ปผลิตภัณฑ์ และการเผาและเคลือบ
ผลิตภัณฑ์
6. ข. ทำให้ ได้ วสั ดุที่มีสมบัติตามต้ องการ
วัสดุผสม คือ วัสดุที่ประกอบด้วยวัสดุต้ งั แต่ 2 ชนิดขึ้นไป ที่มีองค์ประกอบทางเคมีแตกต่างกัน
สามารถมองเห็นองค์ประกอบได้ ซึ่ งวัสดุผสมที่เกิดขึ้นจะมีสมบัติแตกต่างไปจากวัสดุเดิม โดยที่องค์
ประกอบนั้นจะไม่ละลายเข้าด้วยกัน เพื่อทำให้ได้วสั ดุที่มีสมบัติเฉพาะตามที่ตอ้ งการ
7. ค. คอนกรีตเสริมเหล็ก
 คอนกรี ตเสริ มเหล็ก เป็ นวัสดุผสมที่ให้ความแข็งแรง ซึ่ งได้จากสมบัติของคอนกรี ตที่เป็ นเซรามิก และ
ความเหนียวของเหล็ก

8. ก. อายเลือกซื้ออาหารจากร้ านที่ใส่ กล่องโฟมแทนถุงพลาสติก


 การใช้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ซึ่ งได้จากพอลิเมอร์สงั เคราะห์ และวัสดุผสมที่ได้จากการสังเคราะห์ ซึ่ งไม่
สามารถย่อยสลายได้ดว้ ยวิธีทางชีววิทยา จึงเกิดการสะสมของขยะตกค้างในสิ่ งแวดล้อม ยากต่อการกำจัด ดัง
นั้นจึงมีการรณรงค์เกี่ยวกับแนวทางการใช้วสั ดุต่าง ๆ อย่างคุม้ ค่า และส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมน้อยที่สุด
เช่น การใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก การใช้กระดาษให้ครบทั้ง 2 หน้า รวมทั้งการแยกขยะก่อนทิ้ง
9. ก. Mg (s) + 2HCI (aq) MgCI2 (aq) + H2 (g)
 พิจารณาจำนวนอะตอมของสารแต่ละชนิดในแบบจำลองปฏิกิริยา

+ +
โดย = Mg = CI = H ดังนั้น Mg (s) + 2HCI (aq) MgCI2 + H2 (g)
10. ข. HCI (aq) + NH4OH (aq) NH4CI (aq) + H2O (l)
 การเขียนสมการเคมี อะตอมของธาตุในสารตั้งต้นมีการจัดเรี ยงตัวใหม่เป็ นผลิตภัณฑ์ โดยอะตอมของ
ธาตุแต่ละธาตุก่อน และหลังการเกิดปฏิกิริยาจะต้องมีจ ำนวนเท่ากัน
วิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) 7
11. ง. สาร C และ แก๊ส D มีมวลรวมกันเท่ ากับมวลรวมของสาร A และ B
 มวลรวมของสารตั้งต้นก่อนเกิดปฏิกิริยาเคมีและมวลรวมของผลิตภัณฑ์หลังเกิดปฏิกิริยาเคมีจะต้องมี
ค่าเท่ากัน ซึ่ งเป็ นไปตามกฎทรงมวล
12. ค. สาร A คือ น้ำ สาร B คือ โซเดียมคลอไรด์
 จากรู ปเป็ นระบบเปิ ด เมื่อผสมสาร A และสาร B ทำให้มวลรวมมีค่าคงที่ แสดงว่าไม่เกิดแก๊สขึ้น
เมื่อพิจารณาตัวเลือกจะพบว่า ตัวเลือก ข้อ ก. และ ข้อ ข. จะเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และตัวเลือกข้อ ง.
จะเกิดแก๊สไฮโดรเจน ส่ วนตัวเลือกข้อ ค. จะไม่เกิดแก๊ส ดังนั้น สาร A ควรเป็ นน้ำ และสาร B ควรเป็ น
โซเดียมคลอไรด์
13. ค. ปฏิกริ ิยาที่เกิดขึน้ เป็ นปฏิกริ ิยาดูดความร้ อน
 ปฏิกิริยาดูดความร้อน เป็ นปฏิกิริยาที่ระบบดูดพลังงานความร้อนเข้าไปสลายพันธะมากกว่าคาย
พลังงานความร้อนออกมาเพื่อสร้างพันธะ สารตั้งต้นมีพลังงานต่ำกว่าผลิตภัณฑ์ท ำให้สิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิ
ลดลง
14. ก. ระบบดูดพลังงานความร้ อนเพือ่ สลายพันธะน้ อยกว่ าคายพลังงานความร้ อนเพือ่ สร้ างพันธะ
 จากกราฟ เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน เป็ นปฏิกิริยาที่ระบบดูดพลังงานความร้อนเข้าไปสลายพันธะ
น้อยกว่าคายพลังงานความร้อนออกมาเพื่อสร้างพันธะ สารตั้งต้นมีพลังงานสู งกว่าผลิตภัณฑ์จึงปล่อย
พลังงานความร้อนออกสู่ สิ่งแวดล้อม ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น

15. ง. ใส่ แคลเซียมคาร์ บอเนตลงในกรดซัลฟิ วริก


 เมื่อใส่ สงั กะสี ลงในกรดไฮโดรคลอริ ก ใส่ อะลูมิเนียมลงในโซเดียมไฮดรอกไซด์ และใส่ แมกนีเซี ยม
ลงในกรดไฮโดรคลอริ ก จะเกิดแก๊สไฮโดรเจน ส่ วนเมื่อใส่ แคลเซี ยมคาร์บอเนตลงในกรดซัลฟิ วริ ก จะเกิด
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้น ใส่ แคลเซียมคาร์บอเนตลงในกรดซัลฟิ วริ กจึงเกิดแก๊สแตกต่างจากข้ออื่น
16. ข. เกิดแก๊ สคาร์ บอนมอนอกไซด์ เป็ นผลิตภัณฑ์
 การเกิดปัญหาฝุ่ น PM 2.5 ส่ วนหนึ่งเกิดจากการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์ของเครื่ องยนต์ เนื่องจากมี
ปริ มาณแก๊สออกซิเจนที่ท ำปฏิกิริยาไม่เพียงพอ ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ น้ำ
พลังงาน และเกิดเขม่าควัน
17. ก. H2O
 จากปฏิกิริยาที่ก ำหนด เป็ นปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ เกลือของโลหะ และน้ำ
ดังนั้น A คือ H2O
18. ง. อุณหภูมิ
 การเกิดสนิมของเหล็ก เป็ นปฏิกิริยาเคมีระหว่าง เหล็ก น้ำ และแก๊สออกซิ เจน
19. ค. น้ำท่ วม
 ปัญหาดินเปรี้ ยว ฝนกรด และปรากฏการณ์เรื อนกระจก เป็ นโทษของปฏิกิริยาเคมี ส่ วนน้ำท่วม เป็ น
ผลจากปฏิกิริยาเคมีนอ้ ยที่สุด
20. ข. แกงส้ ม

วิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) 8


 ภาชนะที่ท ำจากอะลูมิเนียมหรื อโลหะ ไม่ควรนำมาใส่ อาหารที่มีสารปรุ งรสที่มีสมบัติเป็ นกรด เช่น
น้ำมะนาว น้ำส้มสายชู เพราะกรดจะทำปฏิกิริยากับโลหะ ทำให้มีการปนเปื้ อนโลหะในอาหารได้

วิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) 9

You might also like