You are on page 1of 31

สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.

com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส


5.1 พลังงานกับการเปลีย่ นแปลงสถานะ
ดูดความร้ อน
การระเหิด

การ การกลายเป็ นไอ แก๊ ส


ของแข็ง ของเหลว
หลอมเหลว
การแข็งตัว การควบแน่น
คายความร้ อน
โดยทัว่ ไปแล้วโมเลกุลของของแข็งจะเกาะตัวกันอยูอ่ ย่างหนาแน่นและมีแรงยึดเหนี่ ยว
ระหว่างโมเลกุลมากกว่าของเหลว ส่ วนของเหลวจะอยู่กนั อย่างหนาแน่ น และมีแรงยึดเหนี่ ยว
ระหว่างโมเลกุลมากกว่าแก๊ส
การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งไปเป็ นของเหลวเรี ยกเป็ นการหลอมเหลว อุณหภูมิขณะ
หลอมเหลว ( วัดที่ความดัน 1 บรรยากาศ ) เรี ยกเป็ นจุดหลอมเหลว
การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็ นแก๊สหรื อไอเรี ยกเป็ นการกลายเป็ นไอ อุณหภูมิ
ขณะเดือดกลายเป็ นไอ ( วัดที่ความดัน 1 บรรยากาศ ) เรี ยกเป็ นจุดเดือด
การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งไปเป็ นแก๊สหรื อไอเรี ยกเป็ นการระเหิด
ทั้งการหลอมเหลว และการกลายเป็ นไอ จะเป็ น การเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อน
การเปลี่ยนแปลงสถานะจากแก๊สกลายเป็ นของเหลวเรี ยกเป็ นการควบแน่ น
การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็ นของแข็งเรี ยกเป็ นการแข็งตัว
ทั้งการควบแน่น และการแข็งตัว จะเป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน
( จาเป็ นหลักสั้ นๆ ว่ า สร้ างคาย สลายดูด )
เพิม่ เติม ; ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะ เรี ยกความร้อนแฝง
การเปลี่ยนแปลงที่มีการดูดความร้อนไปจากสิ่ งแวดล้อม จะทาให้อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมลดลง
การเปลี่ยนแปลงที่มีการคายความร้อนเข้าสู่สิ่งแวดล้อม จะทาให้อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
ฝึ กทา. การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้เป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดหรื อคายความร้อน
การหลอมเหลว ............... การกลายเป็ นไอ ................ การระเหิด ................
การควบแน่น .................. การแข็งตัว ...................

1
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
1(En46 ต.ค.) ปรากฏการณ์หรื อการเปลี่ยนแปลงข้อใดที่คายความร้อน
1. การระเหิ ดของน้ าแข็งแห้ง 2. KCl ละลายน้ าแล้วมีหยดน้ าเกาะข้างภาชนะ
3. เมฆกลายเป็ นฝน 4. ทาแอลกอฮอล์ที่ผวิ หนังแล้วรู้สึกเย็น

2(แนว A–Net) เมื่อให้ความร้อนด้วยอัตราคงที่กบั สารบริ สุทธิ์ G ที่เป็ นของแข็งจานวน 1 โมล


พบการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสาร G ดังกราฟ
F

b D E

a B C

A
เวลา (วินาที)
ข้อความใดถูกต้อง
1. จุดเดือดของสาร G มีค่าเท่ากับ aoC
2. จากจุด E ถึงจุด F สาร G จะอยูใ่ นสถานะที่เป็ นแก๊ส
3. จากจุด A ถึงจุด B โมเลกุลของสาร G มีพลังงานจลน์เฉลี่ยคงที่
4. จากจุด B ถึงจุด C เป็ นความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอของสาร G

2
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
3(En 42 ต.ค.) ที่อุณหภูมิ 25oC สาร ก. ข. และ ค. อยู่ในสภาพแก๊ส ของเหลว ของแข็ง
ตามลาดับ จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารทั้งสามในข้อใดเป็ นไปได้
จุดหลอมเหลว (oC) จุดเดือด (oC)
ก. ข. ค. ก. ข. ค.
1. –91 –8.8 32 98 –42 330
2. –188 32 –91 –42 330 98
3. –188 –91 32 –42 98 330
4. 32 –91 –188 330 98 –42

5.2 สมบัติของของแข็ง
5.2.1 สมบัติทวั่ ไปของของแข็ง
เนื่องจากของแข็งจะมีแรงยึดเหนี่ ยวระหว่างอนุภาคมาก (มากกว่าของเหลวและแก๊ส) ทา
ให้ อนุ ภ าคของของแข็งอยู่ชิ ดกัน มากเลื่ อนไหลไม่ ไ ด้ ด้วยเหตุ น้ ี ของแข็ง มี รูป ร่ างที่ แน่ น อน
นอกจากนี้ของแข็งยังมีความหนาแน่น จุดเดือด จุดหลอมเหลวสู งอีกด้วย
5.2.2 การจัดเรียงอนุภาคในของแข็ง
ของแข็ง ส่ วนมากจะมี ก ารจัด เรี ย งอนุ ภาค ( อะตอม ไอออน หรื อโมเลกุ ล ) อย่างเป็ น
ระเบี ย บแบบแผนได้โ ครงสร้ า งที่ มี ล ัก ษณะเป็ นผลึ ก เรี ย กของแข็ ง ผลึก ( Crystalline solid )
ของแข็งที่มีอนุ ภาคชนิ ดเดี ยวกัน แต่หากมีการจัดเรี ยงตัวต่างกัน จะมีสมบัติบางประการต่างกัน
ด้วย ดังเช่นตัวอย่างต่อไปนี้
โครงสร้ างของคาร์ บอน
อะตอมของคาร์ บอนสามารถจัดเรี ยงตัวเป็ นผลึกได้หลายแบบ ได้แก่
3
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
1. เพชร โครงสร้างของเพชรนั้น อะตอมคาร์บอน
1 อะตอม จะเกิดพันธะโคเวเลนต์กบั อะตอมคาร์ บอนข้างๆ
4 อะตอม คาร์ บอนแต่ละอะตอมจะถูกยึดไว้เคลื่อนที่ไม่ได้
เพชรจึงมีความแข็งแต่เปราะ ไม่นาไฟฟ้ าเพราะเวเลนส์อิเล็ก-
ตรอนของคาร์ บอนเกิดพันธะโคเวเลนต์หมด ไม่มีอิเล็กตรอน
อิสระเหลืออยู่ ใช้ทาหัวเจาะหรื อตัดวัสดุอื่น
2. แกรไฟต์ โครงสร้างแกรไฟต์ อะตอมคาร์บอน
1 อะตอม เกิดพันธะโคเวเลนต์กบั คาร์ บอนอะตอมรอบๆ
3 อะตอม ในลักษณะ 2 มิติสานกันเป็ นแผ่นโครงร่ างผลึก
ซ้อนกันเป็ นแผ่น ๆ แกรไฟต์จึงเปราะบาง แตกออกเป็ นแผ่น
ได้ และอิเล็กตรอนที่เหลือ 1 ตัว จะวิง่ อยูร่ ะหว่างแผ่นส่ ง
ผลให้แกรไฟต์สามารถนาไฟฟ้ าได้ในแนวระหว่างแผ่นนี้ ใช้
ไส้ดินสอหรื อเป็ นส่ วนผสมในสารหล่อลื่น
3. ฟูลเลอรีน ในโมเลกุลที่เล็กที่สุดของฟูลเลอรี น
จะประกอบด้วยอะตอมคาร์บอน 60 อะตอม (C60) ดังรู ป
ส่ วนมากนามาใประโยชน์ในทางการแพทย์ ใช้ในอุตสาห-
กรรมแบตเตอรี ใช้เป็ นเชื้อเพลิงในจรวดเพราะการเผาใหม้
C60 ให้พลังงานมากกว่าน้ ามัน

โครงสร้ างของกามะถัน
หนึ่งโมเลกุลของกามะถันประกอบด้วย 8 อะตอม
ต่อกันเป็ นวง และเมื่อโมเลกุลเหล่านี้เกิดการเรี ยงตัวจะเกิดเป็ น
ผลึกได้ 2 แบบ ได้แก่
1. กามะถันมอนอคลินิก พวกนี้ โมเกลุ ลจะเรี ยงตัวกันดังรู ป มีผลึกเป็ นแท่งยาวคล้าย
เข็ม จะอยูต่ วั ที่อุณหภูมิสูงกว่า 96oC

4
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
2. กามะถัน รอมบิก พวกนี้ โมเกลุ ลจะเรี ยงตัวกันดังรู ป มีผลึกเป็ นเหลี่ ยมคล้ายขนม
เปี ยกปูน อยูต่ วั ที่อุณหภูมิหอ้ งในธรรมจึงพบกัมมะถันรอมบิกมากกว่า

โครงสร้ างของฟอสฟอรัส
ฟอสฟอรัสจะมี 3 รู ป คือ
1. ฟอสฟอรัสขาว โมเลกุลหนึ่งๆ จะประกอบ
ด้วย 4 อะตอมดังรู ป เป็ นก้อนสี ขาวนิ่มคล้ายขี้ผงึ ลุกติด
ไฟได้จึงทาลูกระเบิด
2. ฟอสฟอรัสแดง โมเลกุลมีลกั ษณะเป็ นสาย
โซ่ เสถียรมากกว่าฟอสฟอรัสขาว ลักษณะเป็ นผงสี แดง
ใช้ทาหัวไม้ขีดไฟ
3. ฟอสฟอรัสดา มีลกั ษณะเป็ นโครงร่ างผลึกตา
ข่าย ลักษณะเป็ นเกล็ดแข็งสี ดา นาไฟฟ้ าได้เล็กน้อย

4(มช 31) กามะถันมี 2 รู ป คือมอนอคลินิกกับรอมบิก กามะถันรอมบิกซึ่ งคงตัวที่อุณหภูมิปกติ


นั้น มีโมเลกุลประกอบด้วย 8 อะตอม ส่ วนโมเลกุลกามะถันมอนอคลินิกนั้นประกอบด้วย
กี่อะตอม
1. 2 อะตอม 2. 4 อะตอม 3. 6 อะตอม 4. 8 อะตอม

5
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
5.2.3 ชนิดของผลึก
1. ผลึกโมเลกุล ประกอบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวอยูด่ ว้ ย
แรงแวนเดอร์วาลส์ เช่นแนฟทาลีน น้ าแข็งแห้ง กามะถัน N
H
ไอโอดีน หรื อโมเลกุลยึดเหนี่ยวอยูด่ ว้ ยพันธะไฮโดรเจน เช่น H
H
H

น้ าแข็ง แอมโมเนียแข็งเป็ นต้น ผลึกพวกนี้ไม่แข็งแรง มีจุด


N
N H
H H H
หลอมเหลวต่า ไม่นาไฟฟ้ า ผลึกของโมเลกุลไม่มีข้ วั แรงยึด H

เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นแรงแวนเดอร์วาลส์อย่างอ่อน (แรง


ลอนดอน) สารพวกนี้จะระเหิ ดได้ง่าย
2. ผลึกโคเวเลนต์ ร่างตาข่ าย ประกอบด้วยอะตอมยึด
เหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์แบบต่อเนื่อง เช่นเพชร แกร-
ไฟต์ ซิลิคอน ควอตซ์ (SiO2) ผลึกแบบนี้มีแรงยึดเหนี่ยวระ
หว่างอะตอมสู งมากจึงแข็งแรงกว่าผลึกโมเลกุล มีจุดหลอม
เหลวสู ง แข็งแต่เปราะ
3. ผลึกโลหะ ประกอบด้วยอะตอมยึดเหนี่ยวกันด้วย
พันธะโลหะซึ่ งเป็ นพันธะที่แข็งแรงมากผลึกชนิดนี้ส่วนใหญ่มี
จุดหลอมเหลวสู ง นาไฟฟ้ าและนาความร้อนได้ดี สามารถตี
แผ่ออก เป็ นแผ่นหรื อดึงเป็ นเส้นได้ ผิวหน้าเป็ นมันวาว
4. ผลึกไอออนิก ประกอบด้วยไอออนบวก และลบ ยึด
เหนี่ยวกันด้วยพันธะไอออนิก ซึ่ งมีความแข็งแรง ผลึกประเภท
นี้จึงมีจุดหลอมเหลวสู ง แข็งแต่เปราะ ในภาวะของแข็งไม่นา
ไฟฟ้ า เช่นผลึกโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) เป็ นต้น
ของแข็งที่การจัดเรี ยงอนุ ภาคภายในไม่เป็ นผลึก ไม่เป็ นระเบียบ เรี ยกว่าของแข็งอสั ณฐาน
เช่นยาง พลาสติกเป็ นต้น ของแข็งพวกนี้เมื่อแตกชิ้นส่ วนที่ได้จะไม่เป็ นรู ปทรงเรขาคณิ ต
5. สารต่อไปนี้มีลกั ษณะเป็ นผลึกชนิดใด
ก. เพชร .............. ข. เหล็ก ................... ค. น้ าแข็ง ................. ง. CsCl …….....
1. ก. ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย ข. ผลึกโมเลกุล ค. ผลึกโลหะ ง. ผลึกไอออนิก
2. ก. ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย ข. ผลึกโลหะ ค. ผลึกโมเลกุล ง. ผลึกไอออนิก
3. ก. ผลึกโมเลกุล ข. ผลึกโลหะ ค. ผลึกไอออนิก ง. ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย
4. ก. ผลึกโมเลกุล ข. ผลึกโลหะ ค. ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย ง. ผลึกไอออนิก
6
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
5.2.4 การเปลีย่ นสถานะของของแข็ง
การหลอมเหลว
ของแข็งจะมีแรงดึ งดูด ระหว่างโมเลกุลสู งมากจึ งคงรู ป ร่ างอยู่ได้ แต่ถ้าโมเลกุล เหล่ านี้
ได้รับความร้อนโมเลกุล จะมีพลังงานจลน์สูง ทาให้สั่นสะเทือนแรงขึ้นไม่สามารถเกาะกันเป็ น
ของแข็งได้ จะเกิ ดการเปลี่ ยนสถานะเป็ นของเหลว ปรากฏการณ์ น้ ี เรี ยกการหลอมเหลว และ
อุณหภูมิขณะหลอมเหลวซึ่งวัดที่ความดัน 1 บรรยากาศ เรี ยกจุดหลอมเหลว
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อจุดหลอมเหลว
1. ความดันบรรยากาศ
ถ้าความดันบรรยากาศสู ง  แรงกดโมเลกุลมาก  จุดหลอมเหลวจะสู ง
ถ้าความดันบรรยากาศต่า  แรงกดโมเลกุลน้อย  จุดหลอมเหลวจะต่า
2. ชนิดของของเหลวหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุล
ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมาก  จุดหลอมเหลวจะสู ง
ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย  จุดหลอมเหลวจะต่า
6. ปั จจัยที่มีผลต่อจุดหลอมเหลวของของแข็งคือข้อใดต่อไปนี้
1. ความดันบรรยากาศ 2. ชนิดของของแข็ง
3. พื้นที่ผวิ ของของแข็งและอุณหภูมิ 4. ข้อ 1. และ 2. ถูก

การระเหิด
การระเหิด คือการที่ของแข็งเปลี่ยนเป็ นไออย่างช้าๆ เกิดเฉพาะที่ผวิ ของแข็งเท่านั้น
ปกติแล้วโมเลกุลของของแข็งที่อยูใ่ กล้กนั จะมีแรงดึงดูดกันและกัน
จึงไม่สามารถหลุดขึ้นไปเป็ นไอได้ แต่เนื่องจากแต่ละโมเลกุลจะสั่นสะ
เทือนอยูต่ ลอดเวลา และถ้าโมเลกุลข้างๆ สัน่ เข้าไปชนโมเลกุลที่ผวิ หน้า
พร้อมๆ กันแล้วมีการถ่ายโอนพลังงานจลน์ให้กบั โมเลกุลที่ผวิ หน้านั้น ทา
ให้โมเลกุลที่ผวิ หน้ามีพลังงานมากขึ้นจนสามารถเอาชนะแรงยึดเหนี่ยวระ
หว่างโมเลกุลแล้วหลุดออกไปกลายเป็ นไอหรื อเกิดการระเหิ ดขึ้นไปนัน่ เอง
การระเหิ ดมักเกิดกับของแข็งที่มีโมเลกุลแบบไม่มีข้ วั โครงสร้างเป็ นผลึกโมเลกุลซึ่ งมีแรง
ยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นแรงแวนเดอร์วาลส์อย่างอ่อน (แรงลอนดอน)
7
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการระเหิด
1. อุณหภูมิ
ถ้าอุณหภูมิสูง  โมเลกุลจะสัน่ แรง  ระเหิ ดได้เร็ ว
ถ้าอุณหภูมิต่า  โมเลกุลจะสั่นเบา  ระเหิ ดได้ชา้
2. ชนิดของของแข็งหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุล
ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย  จะหลุดเป็ นไอง่าย  ระเหิ ดเร็ ว
ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมาก  จะหลุดเป็ นไอยาก  ระเหิ ดช้า
3. พืน้ ทีผ่ วิ ของของแข็ง เนื่องจากการระเหิ ดเกิดที่ผวิ หน้าเท่านั้น
ถ้าพื้นที่ผวิ มาก  ระเหิ ดเร็ ว
ถ้าพื้นที่ผวิ น้อย  ระเหิ ดช้า
4. ความดันบรรยากาศ
ถ้าความดันบรรยากาศสู ง  แรงกดผิวของแข็งมีมาก  ระเหิ ดยาก
ถ้าความดันบรรยากาศต่า  แรงกดผิวของแข็งมีนอ้ ย  ระเหิ ดง่าย
5. อากาศเหนือของแข็ง ความดันบรรยากาศ
อากาศเหนือของแข็งต้องระบายได้ดี
เพื่อไม่ให้เกิดการการอิ่มตัวของไอที่เกิดขึ้น จึงจะ
ช่วยให้การระเหิ ดเกิดได้เร็ วขึ้น
7. ปัจจัยในข้อใดต่อไปนี้ มีผลต่ออัตราการระเหิ ดของของแข็ง
1. พื้นที่ผวิ ของของแข็ง 2. อุณหภูมิสิ่งแวดล้อม
3. ชนิดของของแข็ง 4. ถูกทุกข้อ

8. สารที่มีโครงสร้างเป็ นผลึกแบบใดสามารถระเหิ ดได้ง่าย


1. ผลึกไอออนิก 2. ผลึกโลหะ
3. ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย 4. ผลึกโมเลกุล

8
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
5.3 สมบัติของของเหลว
5.3.1 สมบัติทวั่ ไปของของเหลว
ของเหลวจะมี แรงยึดเหนี่ ยวระหว่างอนุ ภาคน้อยกว่าของแข็ง มี ก ารเรี ยงอนุ ภาคไม่เป็ น
ระเบียบและมีที่วา่ งระหว่างอนุ ภาคเล็กน้อย ทาให้อนุภาคของเหลวเคลื่ อนที่ได้มากกว่าของแข็ง
ของเหลวจึ ง ไหลได้แ ละสามารถเปลี่ ย นรู ป ร่ างไปตามภาชนะที่ บ รรจุ ไ ด้ นอกจากนี้ อนุ ภ าค
ของเหลวหนึ่ งๆ ยังสามารถแพร่ กระจายไปท่ามกลางอนุ ภาคของเหลวชนิ ดอื่นๆ ได้อีกด้วยเช่ น
เมื่อหยดหมึกลงในน้ า โมเลกุลของหมึกจะสามารถแพร่ ไปท่ามกลางโมเลกุลของน้ าได้เป็ นต้น

5.3.2 ความตึงผิว
ปกติแล้วนั้นโมเลกุลของของเหลวที่อยูบ่ ริ เวณ
ผิวของของเหลวจะถูกโมเลกุลรอบข้างดึงดูดไว้ดว้ ย
แรงขนาดหนึ่งแรงนี้เรี ยกว่าแรงดึงผิว ซึ่งจะเป็ นแรง
ที่จะดึงผิวของของเหลวให้ยบุ ตัวเข้ามาและเหลือพื้นที่
ผิวน้อยที่สุด กรณี ที่ของเหลวมีลกั ษณะเป็ นหยดอยู่
บนพื้นผิวใดๆ แรงตึงผิวจะดึงผิวของของเหลวให้ยบุ
ตัวเข้ามาจนมีลกั ษณะเป็ นก้อนกลมซึ่ งมีพ้นื ที่ผวิ น้อย
ที่ สุ ด เช่ นหยดน้ าที่ อยู่บ นใบบัวเป็ นต้น และในกรณี ที่ เราต้องการเกลี่ ยให้ หยดของเหลวนั้น
กระจายตัวหรื อทาให้พ้ืนที่ผิวมีขนาดมากขึ้น เราต้องออกแรงเพื่อเอาชนะแรงดึ งผิวเหล่านี้ ก่อน
งานที่ตอ้ งใช้ในการขยายพื้นที่ผวิ ของของเหลว 1 หน่วยเราจะเรี ยกว่าความตึงผิว
ความตึงผิวจะมากหรื อน้อยจะขึ้นกับชนิดของของเหลวกล่าวคือ
ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมาก ความตึงผิวจะมีค่ามาก
ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย ความตึงผิวจะมีค่าน้อยด้วย
การซึมตามรู เล็ก
หากเราน าหลอดรู เล็ ก ( capillary tube ) จุ่ ม ลงในของเหลว แรงยึด เหนี่ ย วระหว่า ง
อนุภาคจะแบ่งได้ 2 ประเภทได้แก่
1. แรงเชื่อมแน่น คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของของเหลวด้วยกันเอง
2. แรงยึดติด คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของของเหลวกับผนังหลอด
และเมื่อจุ่มหลอดลงในของเหลวแล้วผลที่เกิดขึ้นอาจเป็ นไปได้ 3 แบบ ได้แก่

9
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
1. ถ้าแรงยึดติดมีค่ามากกว่าแรงเชื่อมแน่น กรณี
นี้ผวิ ของเหลวจะซึ มขึ้นไปในหลอดแก้วได้สูงกว่าระดับของ
เหลวปกติ ผิวของเหลวในหลอดแก้วจะมีลกั ษณะเว้าลงและ
ผนังแก้วจะเปี ยกเช่นจุ่มหลอดแก้วลงในน้ า จะเกิดกรณี น้ ี
2. ถ้าแรงเชื่อมแน่นมีค่ามากกว่าแรงยึดติด กรณี
นี้ผวิ ของเหลวในหลอดจะอยูต่ ่ากว่าระดับของเหลวปกติ มี
ลักษณะโค้งขึ้น และผนังแก้วจะไม่เปี ยก เช่นจุ่มหลอดแก้ว
ลงในปรอท จะเกิดกรณี น้ ี
3. ถ้าแรงเชื่อมแน่นมีค่าเท่ากับแรงยึดติด กรณี น้ ี
ผิวของเหลวในหลอดและนอกหลอดจะอยูใ่ นระดับเดียวกัน ผิวของเหลวในหลอดจะแบนราบ
5.3.3 การระเหย
การระเหย คือการที่ของเหลวกลายเป็ นไออย่างช้าๆ เกิดที่ผวิ หน้าของของเหลวเท่านั้น
ปกติแล้วโมเลกุลของของเหลวที่อยูใ่ กล้กนั จะมีแรงดึงดูดกันและ
กันจึงไม่สามารถหลุดขึ้นไปเป็ นไอได้ แต่เนื่องจากแต่ละโมเลกุลสามารถ
เคลื่อนที่ได้เล็กน้อย และถ้าโมเลกุลข้างๆ เคลื่อนเข้าไปชนโมเลกุลที่ผวิ
หน้า โมเลกุลที่ผวิ หน้านั้นอาจหลุดออกไปกลายเป็ นไอหรื อเกิดการระเหย
ขึ้นไปนัน่ เอง และเมื่อโมเลกุลที่ผวิ หน้าเกิดระเหยไป โมเลกุลของเหลว
ที่เหลือจะสุ ญเสี ยพลังงานจลน์ไปทาให้เหลือพลังงานจลน์นอ้ ยลง ของเหลว
นี้จะดูดความร้อนจากสิ่ งแวดล้อมเข้ามาชดเชย ทาให้สิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิลดลง
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการระเหย
1. อุณหภูมิ
ถ้าอุณหภูมิสูง  โมเลกุลจะมีพลังงานจลน์มาก  ระเหยได้เร็ ว
ถ้าอุณหภูมิต่า  โมเลกุลจะมีพลังงานจลน์นอ้ ย  ระเหิ ดได้ชา้
2. ชนิดของของเหลว หรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุล
ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย  จะหลุดเป็ นไอง่าย  ระเหยเร็ ว
ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมาก  จะหลุดเป็ นไอยาก  ระเหยช้า
3. พืน้ ทีผ่ วิ ของของเหลว เนื่องจากการระเหยเกิดที่ผวิ หน้าเท่านั้น
ถ้าพื้นที่ผวิ มาก  ระเหยเร็ ว
ถ้าพื้นที่ผวิ น้อย  ระเหยช้า
10
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
4. ความดันบรรยากาศ
ถ้าความดันบรรยากาศสู ง  แรงกดโมเลกุลมาก  ระเหยยาก
ถ้าความดันบรรยากาศต่า  แรงกดโมเลกุลน้อย  ระเหยง่าย
5. อากาศเหนือของเหลว ความดันบรรยากาศ
อากาศเหนือของเหลวต้องระบายได้ดี
เพื่อไม่ให้เกิดการการอิ่มตัวของไอที่เกิดขึ้น จึงจะ
ช่วยให้การระเหยเกิดได้เร็ วขึ้น
6. การคนหรือกวน ช่วยให้ระเหยได้ดีข้ ึน
9. ปั จจัยในข้อใดต่อไปนี้ มีผลต่ออัตราการระเหยของของเหลว
1. พื้นที่ผวิ ของของเหลว 2. อุณหภูมิสิ่งแวดล้อม
3. ชนิดของของเหลว 4. ถูกทุกข้อ

5.3.4 ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว
หากเรานาของเหลวไส่ ลงในภานะปิ ดดังรู ป จะพบว่า
โมเลกุลของของเหลวจะสามารถกลายเป็ นไอขึ้นมาเหนือผิว
ของของเหลวได้ และไอที่เกิดขึ้นก็สามารถควบแน่นกลับไป
เป็ นของเหลวได้ดว้ ยเช่นกัน เมื่อทิง้ ไว้นานพอควรการกลาย
เป็ นไอและการควบแน่นจะมีอตั ราการเกิดที่เท่ากัน เรี ยกว่า
ระบบเข้าสู่ ภาวะสมดุล และความดันของไอที่ภาวะสมดุลนี้จะเรี ยกว่าความดันไอของของเหลว
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อความดันไอ
1. อุณหภูมิ
ถ้าอุณหภูมิสูง  โมเลกุลจะมีพลังงานจลน์มาก  เป็ นไอได้ง่าย  ความดันไอสู ง
ถ้าอุณหภูมิต่า  โมเลกุลจะมีพลังงานจลน์นอ้ ย  เป็ นไอได้ยาก  ความดันไอต่า
2. ชนิดของของเหลว หรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุล
ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย  จะหลุดเป็ นไอง่าย  ความดันไอสู ง
ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมาก  จะหลุดเป็ นไอยาก  ความดันไอต่า
11
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
จากที่ผา่ นมาหากเราเพิม่ อุณหภูมิของของเหลวให้สูงขึ้น
ความดันไอของของเหลวนั้นจะเพิ่มขึ้นตาม และหากความดัน
ไอเพิ่มจนมีค่าเท่ากับความดันบรรยากาศที่กดทับผิวหน้าของ
ของเหลวนั้น ของเหลวนั้นจะเกิดการกลายเป็ นไอทัว่ ทุกจุด
ของของเหลว เรี ยกว่าเกิดการเดือด อุณหภูมิขณะเดือดเรี ยก
ว่าจุดเดือด และหากเป็ นจุดเดือดซึ่งวัดที่ความดัน 1 บรรยากาศ จะเรี ยกว่าจุดเดือดปกติ
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อจุดเดือดของของเหลว
1. ความดันบรรยากาศ
ถ้าความดันบรรยากาศสู ง  แรงกดผิวหน้าของเหลวมีมาก  จุดเดือดสู ง
ถ้าความดันบรรยากาศต่า  แรงกดผิวหน้าของเหลวมีนอ้ ย  จุดเดือดต่า
2. ชนิดของของเหลวหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุล
ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมาก  เป็ นไอได้ยาก  ความดันไอต่า (จุดเดือดสู ง)
ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย  เป็ นไอได้ง่าย  ความดันไอสู ง (จุดเดือดต่า)
10(En43 ต.ค.) ปั จจัยใดต่อไปนี้มีผลต่อความดันไอของของเหลว
ก. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลว
ข. ปริ มาณของของเหลวซึ่ งมีสมดุลระหว่างของเหลวและไอ
ค. อุณหภูมิของของเหลว
1. ก. เท่านั้น 2. ก. และ ข. เท่านั้น
3. ก. และ ค. เท่านั้น 4. ก. , ข. และ ค.

11(มช 31) ที่ 30oC สาร A , B , C และ D มี ความดันไอ 1.1 , 1.1 , 0.82 และ 0.11
ตามลาดับ สารใดมีจุดเดือดสู งสุ ด
1. สาร D 2. สาร C 3. สาร A 4. สาร A และสาร B

12
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
12(En 40) ของเหลวบริ สุทธิ์ A มีจุดเดือดต่ากว่าของเหลวบริ สุทธิ์ B เมื่อนาของเหลวทั้งสอง
มาผสมกันในอัตราส่ วนหนึ่ง ปรากฏว่าของเหลวผสมมีจุดเดือดคงที่ที่ต่ากว่าทั้งของ A และ
B ลักษณะกราฟความดันไอของ A , B และ A + B ในข้อใดเป็ นไปได้
1. ความดันไอ(atm) 2. ความดันไอ(atm)
A B A+B B A A+B

อุณหภูมิ (K) อุณหภูมิ (K)


3. ความดันไอ(atm) 4. ความดันไอ(atm)
A+B A B A+B B A

อุณหภูมิ (K) อุณหภูมิ (K)

5.4 สมบัติของแก๊ส
5.4.1 สมบัติทวั่ ไป และทฤษฏีจลน์ ของแก๊ส
แก๊ ส จะมี แรงยึด เหนี่ ย วอนุ ภ าคน้อ ยมากเมื่ อ เที ย บกับ ของแข็ง และของเหลว จึ งท าให้
อนุ ภาคของแก๊ส อยู่ห่างกันมาก เมื่ อบรรจุแก๊สลงในภาชนะอนุ ภาคของแก๊สจะฟุ้ งกระจายเต็ม
ภาชนะที่บรรจุ ทาให้รูปร่ างเปลี่ยนแปลงตามขนาดและรู ปร่ างของภาชนะนั้น อีกทั้งสามารถบีบ
อัดให้ปริ มาตรของแก๊สลดลงได้ดว้ ย
เพื่อความสะดวกในการศึกษาเรื่ องราวเกี่ยวกับแก๊ส นักวิทยาศาสตร์ จึงได้สร้างทฤษฏีจลน์
ของแก๊สขึ้น ซึ่ งมีความดังนี้
1. แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจานวนมากที่มีขนาดเล็กจนถือได้วา่ อนุ ภาคแก๊สไม่มีปริ มาตร
เมื่อเทียบกับขนาดภาชนะที่บรรจุ
2. โมเลกุลแก๊สอยูห่ ่างกันมาก ทาให้แรงดึงดูดและแรงผลักระหว่างโมเลกุลมีนอ้ ยมาก จน
ถือได้วา่ ไม่มีแรงกระทาต่อกัน
13
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
3. โมเลกุ ลทุ กโมเลกุล จะเคลื่ อนที่เป็ นเส้นตรงแบบสับสนไร้ทิ ศทาง ด้วยอัตราเร็ วคงที่
และอาจเปลี่ ยนแนวการเคลื่อนที่ได้หากไปชนใส่ ผนังภาชนะหรื อชนกับโมเลกุลแก๊สด้วยกันเอง
เรี ยกการเคลื่อนที่แบบนี้วา่ การเคลื่อนที่แบบบราวน์เนียน
4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรื อชนผนังภาชนะ จะเกิดการถ่ายเทพลังงานให้แก่กนั ได้
แต่พลังงานรวมของระบบมีค่าคงที่
5) ณ.อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลจะเคลื่ อนที่ดว้ ยความเร็ วไม่เท่ากัน
แต่มีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน โดยพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน
แก๊สที่มีสมบัติเป็ นไปตามทฤษฏีจลน์ทุกประการเรี ยกว่าแก๊ สในอุดมคติ ส่ วนแก๊สในความ
เป็ นจริ งจะมีสมบัติใกล้เคียงกับทฤษฏีจลน์เมื่อความดันต่า และอุณภูมิสูงเท่านั้น โดยเฉพาะแก๊ส
เฉื่ อยจะมีสมบัติใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติมากจนถือว่าเป็ นแก๊สอุดมคติได้
13(มช 40) ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของแก๊สตามทฤษฎีจลน์
1. โมเลกุลของแก๊สสมบูณ์มีขนาดเล็กมากจนถือได้วา่ มีมวลเป็ นศูนย์
2. แก๊สทัว่ ไปจะมีสมบัติใกล้เคียงกับแก๊สสมบูรณ์มากที่สุด ถ้าอยูใ่ นสภาวะความดันสู ง
และอุณหภูมิต่า
3. ที่อุณหภูมิเดียวกัน แก๊ส A และแก๊ส B จะมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากันเสมอ
4. หากลดอุณหภูมิของแก๊สจาก 100oC เป็ น 50oC โดยที่ปริ มาตรคงที่ ความดันของ
แก๊สจะเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า

5.4.2 ความสั มพันธ์ ระหว่างปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊ ส


กฏของบอยล์
กล่าวว่า " เมื่ออุณหภูมิและมวลของแก๊สคงที่ ปริ มาตรของแก๊สจะแปรผกผันกับความ
ดันของแก๊สนั้น "
นัน่ คือ P  V1
P = k V1 เมื่อ k คือค่าคงที่
PV = k
จะเห็นว่า P คูณ V จะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่วา่ PV ตอนไหนๆ ต้องมีค่าเท่าเดิม
นัน่ คือ P1V1 = k
P2V2 = k
14
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
จึงได้วา่ P1V1 = P2V2
เมื่อ P1 = ความดันตอนแรก V1 = ปริ มาตรตอนแรก
P2 = ความดันตอนหลัง V2 = ปริ มาตรตอนหลัง
ควรระวัง 1. P และ V ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้
หน่วยให้เหมือนกันเพื่อจะได้ใช้ตดั ทอนกันได้
2. สู ตรนี้ใช้ได้เมื่ออุณหภูมิและมวลแก๊สคงที่
กฏของชาร์ ล
กล่าวว่า " เมื่อความดัน และมวลของแก๊สคงที่ ปริ มาตรของแก๊สใดๆ จะแปรผันตรง
กับอุณหภูมิเคลวิน "
นัน่ คือ V  T
V = kT เมื่อ k คือค่าคงที่
V = k
T
จะเห็นว่า VT จะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่วา่ VT ตอนไหนๆ ต้องมีค่าเท่าเดิม
V1
นัน่ คือ T1 = k
V2
T2 = k
V1 V2
จึงได้วา่ T1 = T2
เมื่อ T1 = อุณหภูมิเคลวินตอนแรก V1 = ปริ มาตรตอนแรก
T2 = อุณหภูมิเคลวินตอนหลัง V2 = ปริ มาตรตอนหลัง
ควรระวัง 1. V ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้หน่วยให้
เหมือนกันเพื่อจะได้ใช้ตดั ทอนกันได้ ส่ วน T ต้องใหน่วยเคลวิน เท่านั้น
2. สู ตรนี้ใช้ได้เมื่อความดันและมวลแก๊สคงที่
กฏของเกย์ ลูสแซก
กล่าวว่า " เมื่อปริ มาตรและมวลของแก๊สคงที่ ความดันของแก๊สใดๆ จะแปรผันตรง
กับอุณหภูมิเคลวิน "

15
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
นัน่ คือ P  T
P = kT เมื่อ k คือค่าคงที่
P
T = k
จะเห็นว่า TP จะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่วา่ TP ตอนไหนๆ ต้องมีค่าเท่าเดิม
P1
นัน่ คือ T1 = k
P2
T2 = k
P1 P2
จึงได้วา่ T1 = T2
ควรระวัง 1. P ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้หน่วยให้
เหมือนกันเพื่อจะได้ใช้ตดั ทอนกันได้ ส่ วน T ต้องใหน่วยเคลวิน เท่านั้น
2. สู ตรนี้ใช้ได้เมื่อปริ มาตรและมวลแก๊สคงที่

กฏรวมของแก๊ส
เมื่อเรานากฏของบอล์ย กฏของชาร์ล และกฏของเกย์ลูสแซกมารวมกัน
P1 V1 P2 V2
จะได้กฏรวมของแก๊สคือ T1 = T2
ควรระวัง 1. P , V ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้หน่วยให้
เหมือนกันเพื่อจะได้ใช้ตดั ทอนกันได้ ส่ วน T ต้องใหน่วยเคลวินเท่านั้น
2. สู ตรนี้ใช้ได้เมื่อมวลแก๊สคงที่
หากมวลของแก๊สไม่ คงที่ ต้องใช้สมการ
P1V1 P2V2 PV PV PV PV
g1T1 = g2T2 หรื อ n1T1 = n2 T2 หรื อ N1 T1 = N2 T2
11 22 11 22
เมื่อ g1 , g2 = มวลตอนแรก และตอนหลัง ( g , kg , … )
(ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้หน่วยให้เหมือนกัน)
n1 , n2 = จานวนโมลแก๊สตอนแรก และตอนหลัง ( โมล )
N1 , N2 = จานวนโมเลกุลแก๊สตอนแรก และตอนหลัง ( โมเลกุล )
ควรระวัง P , V ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้หน่วยให้
เหมือนกันเพื่อจะได้ใช้ตดั ทอนกันได้ ส่ วน T ต้องใหน่วยเคลวิน เท่านั้น
16
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
หากมีความหนาแน่ นของแก๊สมาเกีย่ วข้ อง ต้องใช้สมการ
P1 P2
D1T1 = D2T2
เมื่อ D1 , D2 = ความหนาแน่นตอนแรก และตอนหลัง ( kg/m3 , g/cm3 , … )
(ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้หน่วยให้เหมือนกัน)
14(มช 45) แก๊สชนิดหนึ่งมีปริ มาตร 1 x 10–3 ลูกบาศก์เมตร ที่ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ
ขยายตัวจนมีปริ มาตรเป็ น 1.5 x 10–3 ลูกบาศก์เมตร และความดันเป็ น 1.1 บรรยากาศ
จงหาอุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้วา่ เป็ นกี่องศาเซลเซี ยส
1. 49.5 2. 495 3. 22.2 4. 222

15(En 37) ถ้าต้องการให้ ป ริ ม าตรของก๊ าซสมบู รณ์ ที่ STP เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 2 เท่ า โดยการลด
ความดันลง 25 เปอร์ เซ็นต์ จะต้องกระทาที่อุณหภูมิเท่าใด
1. 136.5 K 2. 273.0 K 3. 204.8 K 4. 409.5 K

16(แนว Pat2) นัก เรี ยนคนหนึ่ งนาไดเอทิ ล อีเทอร์ (C2H5OC2H5) 1 หยด ใส่ ในภาชนะที่ มี
ปริ ม าตร 1000 มิ ล ลิ ลิ ตร แล้วท าให้เป็ นไอทั้งหมดที่ อุณ หภู มิ คงที่ 80oC ปรากฏว่าวัด
ความดันของไอได้ 38.0 mmHg ถ้าใช้ไดเอทิลอีเทอร์ 6 หยด แต่ใส่ ในภาชนะที่มีปริ มาตร
500 มิลลิลิตร โดยใช้อุณหภูมิ 80oC เท่าเดิม จะวัดความดันไอได้กี่บรรยากาศ
1. 0.05 2. 0.15 3. 0.30 4. 0.60

17
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับการผสมแก๊ส
ในกรณี ที่มีการนาแก๊สหลายตัวมาผสมกัน การคานวณสามารถใช้สมการต่อไปนี้ได้
Pรวม . Vรวม = P1V1 + P2 V2 + …
nรวม . tรวม = n1 t1 + n2 t2 + …
เมื่อ Pรวม = ความดันของแก๊สผสม ( atm , N/m2 , Pa , ….. )
Vรวม = ปริ มาตรของแก๊สผสม ( m3 , cm3 , Lit , …. )
P1 , P2 , … = ความดันของแก๊สตัวที่ 1 , 2 , ..... ตามลาดับ
V1 , V2 , … = ปริ มาตรของแก๊สตัวที่ 1 , 2 , ..... ตามลาดับ
nรวม = จานวนโมลของแก๊สผสม ( โมล )
tรวม = อุณหภูมิของแก๊สผสม ( oC )
n1 , n2 , … = จานวนโมลของแก๊สตัวที่ 1 , 2 , ..... ตามลาดับ
t1 , t2 , … = อุณหภูมิของแก๊สตัวที่ 1 , 2 , ..... ตามลาดับ
17(En42 มี .ค.) แก๊ส ฮี เลี ยมบรรจุในถังสองใบซึ่ งเชื่ อมต่อกันผ่านวาล์ว ถังแรกมีความดัน 2
บรรยา กาศ ปริ มาตร 10 ลิตร ถังที่สองมีความดัน 3 บรรยากาศ ปริ มาตร 15 ลิตร ถ้าเปิ ด
วาล์วให้แก๊สรวมกัน โดยไม่มีการถ่ายเทความร้อน จากนอกระบบความดันของแก๊สผสมเป็ นกี่
บรรยากาศ

กฏของแก๊ สอุดมคติ
การคานวณเกี่ยวกับสมบัติเบื้องต้นของแก๊ส นอกจากสมการข้างต้นที่กล่าวมาแล้วนั้น ยัง
สามารถใช้สมการต่อไปนี้คานวณได้อีกด้วย
PV = nRT ( กฎของแก๊ สอุดมคติ )
เมื่อ T = อุณหภูมิเคลวิน ( K )
R = ค่าคงตัวแก๊ส ( เป็ นค่าคงที่ มีค่าได้หลายแบบ )
18
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
ถ้าใช้ R = 0.0821 Lit . atm / mol . K
จะต้องใช้ P คือความดันแก๊สในหน่วย บรรยากาศ ( atm )
และ V คือปริ มาตรแก๊สในหน่วย ลิตร ( Lit , dm3 )
ถ้าใช้ R = 8.31 N . m / mol . K
จะต้องใช้ P คือความดันแก๊สในหน่วย นิวตัน/เมตร2 ( N/m2 )
และ V คือปริ มาตรแก๊สในหน่วย ลูกบาศก์เมตร ( m3 )
n = จานวนโมลแก๊ส ( โมล )
จานวนโมลแก๊สอาจหาค่าได้จาก
n = Mg = N
6.02x10 23
เมื่อ g = มวลแก๊สในหน่วยเป็ นกรัม
M = มวลโมเลกุล
N = จานวนโมเลกุล
18. ภาชนะ 2 ลิตร บรรจุแก๊ส CO2 มีความดัน 20.5 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ –23oC มีกี่โมล
1. 4.0 โมล 2. 3.0 โมล 3. 2.0 โมล 4. 1.0 โมล

19(En45 มี.ค.) แก๊สชนิ ดหนึ่ งหนัก 3.20 กรัม มีปริ มาตร 2.00 ลูกบาศก์เดซิ เมตร ที่อุณหภูมิ
27 องศาเซลเซียส ความดัน 0.5 บรรยากาศ แก๊สนี้มีมวลโมเลกุลเท่าใด
1. 22.4 2. 39.4 3. 78.8 4. 157.6

20(แนว A–Net) แก๊สผสมซึ่ งประกอบด้วย H2 หนัก 4 กรัม และ He หนัก x กรัม บรรจุ
อยู่ภายในภาชนะขนาด 5 dm3 ที่อุณหภูมิ 27oC มีความดันรวมเท่ากับ 24 atm x มีค่า
เท่าใด
1. 6 2. 12 3. 18 4. 24
19
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
21(แนว Pat2) แก๊ส H2 หนัก 0.10 กรัม บรรจุในถังขนาด 400 มิลลิลิตร อุณหภูมิ 27 องศา-
เซลเซี ยส แก๊ส CO2 หนัก 0.11 กรัม บรรจุในถังอีกใบหนึ่งขนาด 200 มิลลิลิตร อุณหภูมิ
เท่ากัน เมื่อต่อท่อให้แก๊สทั้งสองชนิ ดผสมกันโดยไม่เกิ ดปฏิ กิริยาต่อกัน และหลังการผสม
อุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลงความดันรวมของแก๊สผสมเป็ นกี่บรรยากาศ
1. 0.932 2. 1.541 3. 2.152 4. 3.634

การใช้ ทฤษฎีจลน์ อธิบายสมบัติของแก๊ส


1. อธิบาย ทาไมปริ มาตรแก๊สจึงเป็ นส่ วนกลับกับความดัน
– ปริ มาตรมาก  โอกาสชนผนังน้อย  ความดันต่า
– ปริ มาตรน้อย  ชนผนังบ่อยขึ้น  ความดันสู ง
2. อธิ บายทาไมความดันจึงเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับจานวนโมล
– โมลมาก  โมเลกุลมาก  ชนผนังบ่อย  ความดันสู ง
– โมลน้อย  โมเลกุลน้อย  ชนผนังน้อย  ความดันต่า
3. อธิ บายทาไมปริ มาตรจึงเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับจานวนโมล
– โมลมาก  โมเลกุลมาก  ชนผนังย่อย  ขยายปริ มาตรให้มากขึ้น
– โมลน้อย  โมเลกุลน้อย  ชนผนังน้อย  ปริ มาตรหดตัวเล็กลง
4. อธิ บายทาไมปริ มาตรจึงเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับอุณหภูมิ
– อุณหภูมิสูง  โมเลกุลวิง่ เร็ ว  ชนผนังบ่อย  ขยายปริ มาตรให้มากขึ้น
– อุณหภูมิต่า  โมเลกุลวิง่ ช้า  ชนผนังน้อย  ปริ มาตรหดตัวเล็กลง
5.4.2 การแพร่ ของแก๊ส
การแพร่ ของแก๊สมี 2 แบบ คือ
1. Diffusion คือการที่โมเลกุลของแก๊สใดๆ สามารถเคลื่อนที่ฟุ้งกระจายไปในท่าม
กลางโมเลกุลแก๊สอื่นๆ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเกิดจากความเข้มข้นต่างกัน
20
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
2. Effusion คือการเคลื่อนที่ของโมเลกุลแก๊สโดยลอดผ่านช่องเล็กๆ ออกไป
อัตราการแพร่ คืออัตราส่ วนของระยะทางที่แก๊สแพร่ ไป ( S ) ต่อ เวลา ( t )
หรื ออัตราส่ วนของปริ มาตรแก๊สที่แพร่ ไป ( V ) ต่อ เวลา ( t )
หรื ออัตราส่ วนของมวลแก๊สที่แพร่ ไป ( m ) ต่อ เวลา ( t )
นัน่ คือ R = St และ R = Vt และ R = mt
เมื่อ R คืออัตราการแพร่ ของแก๊ส
S คือระยะทางที่แพร่ ไปได้
V คือปริ มาตรแก็สที่แพร่ ไปได้
m คือมวลแก๊สที่แพร่ ไปได้
t คือเวลาที่แพร่

กฏการแพร่ ผ่านของเกรแฮม กล่าวว่า


" เมื่ออุณหภูมิและความดันคงที่ อัตราการแพร่ ของแก๊สใดๆ จะเป็ นปฏิ ภาคกลับกับ
รากที่สองของมวลโมเลกุล หรื อความหนาแน่นแก๊ส "
นัน่ คือ R  1
M
R = k 1 เมื่อ k คือค่าคงที่
M
R M = k
จะเห็นว่า R คูณ M จะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่วา่ R M ตอนไหนๆ จะมีค่าเท่าเดิม
จึงได้วา่ R1 M1 = R2 M 2
R1 M2
หรื อ R 2 = M1
เมื่อ R1 , R2 คืออัตราการแพร่ ของแก๊สตัวที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
M1 , M2 คือมวลโมเลกุลของแก๊สตัวที่ 1 และ 2 ตามลาดับ

นอกจากนี้ยงั จะได้อีกว่า
R1 D2
R 2 = D1
เมื่อ D1 , D1 คือความหนาแน่นของแก๊สตัวที่ 1 และ 2 ตามลาดับ

21
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
22. แก๊สคาร์ บอนมอนอกไซด์ (CO) แพร่ ได้ระยะทาง 150 cm ในเวลา 3 วินาที แล้วอัตราการ
แพร่ ของแก๊สนี้จะมีค่าเท่ากับกี่ cm / วินาที
1. 50 2. 100 3. 150 4. 300

23(En 36) ถ้าแก๊ส X , Y และ Z มีปริ มาตรเท่ากัน ภายใต้อุณหภูมิและความดันเดียวกัน


ถ้า M แทนมวลโมเลกุล และ R แทนอัตราการแพร่ ของแก๊ส ข้อใดเป็ นไปได้
ลาดับมวลโมเลกุล ลาดับอัตราการแพร่
1. Mx > My > Mz Rx > Ry > Rz
2. My > Mx > Mz Rz > Ry > Rx
3. My > Mz > Mx Rx > Rz > Ry
4. Mz > My > Mx Rz > Ry > Rx

24(En42 มี.ค.) ของเหลวใดมีคา่ ความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอสู งสุ ด และเมื่อเปลี่ยนสถานะ


เป็ นแก๊ส สารใดจะมีอตั ราการแพร่ สูงสุ ดในสภาวะเดียวกัน
ของเหลว มวลโมเลกุล จุดเดือด (oC)
A 78.1 80.1
B 142.6 197.5
C 168.4 222.0
D 215.5 174.0
22
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

ความร้ อนแฝงของการกลายเป็ นไอสู งสุ ด อัตราการแพร่ สูงสุ ด


1. A A
2. C B
3. D C
4. C A

25(แนว Pat2) แก๊ส X เคลื่ อนที่ ในหลอดนาแก๊สอันหนึ่ ง ได้ระยะทาง 30.0 เซนติเมตร ใช้
เวลา 2.0 วินาที แก๊ส Y เคลื่อนที่ในหลอดนาแก๊สอันเดียวกันนี้ ได้ระยะทาง 216 เซนติเมตร
ใช้เวลา 8.0 วินาที แก๊ส X จานวน 10 โมเลกุล หนัก 1.34 x 10–21 กรัม มวลโมเลกุลของ
แก๊ส Y เป็ นเท่าใด
1. 14 2. 25 3. 44 4. 260

5.5 เทคโนโลยีทเี่ กีย่ วข้ องกับสมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส


5.5.1 การทานา้ แข็งแห้ ง
ขั้นตอนการผลิตน้ าแข็งแห้งมีดงั แผนภาพต่อไปนี้

แก๊ส CO2 เพิ่มความดัน CO2 เหลว ทาให้ บริ สทุ ธิ์ CO2 เหลวแห้ง
ลดอุณหภูมิ และแห้ ง และบริ สุทธิ

เพิ่มความดัน และลดอุณหภูมิ

CO2 แข็ง CO2 เหลวแห้งและบริ สุทธิ


(น้ าแข็งแห้ง) อัดผ่านรูพรุน ที่ความดัน 18 atm , –25oc
23
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
น้ าแข็งแห้งที่ได้ ถ้าเก็บไว้ที่อุณหภูมิปกติจะระเหิ ดกลายเป็ นควันแก๊ส CO2 ได้โดยตรง
ซึ่ งต่างจากน้ าแข็งธรรมดา
5.5.2 การทาไนโตรเจนเหลว
ขั้นตอนการผลิตไนโตรเจนเหลวมีดงั แผนภาพต่อไปนี้

อากาศจาก ส่งผ่านสาร อากาศที่ไม่มี ใช้สาร Al2O3 อากาศแห้ง


เครื่ องอัด ละลาย NaOH CO2 ดูดความชื้น

ลดอุณหภูมิ เป็ น –183oC

N2 กลายเป็ นของเหลวถูกแยก O2 กลายเป็ นของเหลวถูกแยก


ออก เหลืออากาศ + แก๊สอื่นๆ ทิ้งไป ลดอุณหภูมิเป็ น –195oC ออก เหลืออากาศ + แก๊สอื่นๆ
ที่ความดัน 18 atm , –25oc ที่ความดัน 18 atm , –25oc

24
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

เฉลยบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส


1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบ 2.60 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 3. 24 ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 2.



25
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

ตะลุยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1
1(En41 เม.ย.) ในการสอนวิทยาศาสตร์ ชั่วโมงหนึ่ ง ครู ได้สาธิ ตโดยใช้ปั๊มดู ดอากาศ ออกจาก
หลอดทดลองที่ ส วมกัน อยู่ 2 ชั้น หลอดชั้น ในมี น้ าบรรจุ อยู่ เมื่ อดู ดอากาศออกสั ก พัก
ปรากฏว่าเริ่ มมีเกล็ดน้ าแข็งเกิดขึ้น กระบวนการใดใช้
อธิ บายผลการทดลองนี้ได้
1. การแพร่ 2. การระเหย
3. การตกผลึก 4. สมดุลไดนามิก
2(En 35) จากแผนภาพการถ่ายเทพลังงานในการเปลี่ยนสถานะของน้ าที่ความดัน 1 บรรยากาศ

จงเลือกขั้นตอนที่มีการใช้พลังงานในรู ปของความร้อนแฝง
1. 1 , 2 , 4 และ 7 2. 3 , 5 , 6 และ 8
3. 2 , 4 และ 7 4. 3 , 6 และ 8
3(En 33) กามะถันรอมบิกและมอนอคลินิก ต่างก็มีสูตรโมเลกุล S8 แต่แตกต่างกันเพราะเหตุใด
1. รู ปผลึกต่างกัน 2. จุดหลอมเหลวต่างกัน
3. ความหนาแน่นต่างกัน 4. การจัดเรี ยงโมเลกุลต่างกัน
4(แนว Pat2) กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันและจุดเดือดของสาร A B และ C
ความดัน (มิลลิเมตรของปรอท)
860
840 A
820
800 B
780
760 C
740
720
700
680
660
40 50 60 70 80 90 100 110 120
จุดเดือด (องศาเซลเซียส)
26
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
ข้อใดถูก
1. ที่ 80 องศาเซลเซียส สาร A มีความดันมากกว่า 800 มิลลิเมตรของปรอท
2. จุดเดือดปกติของสาร B คือ 120 องศาเซลเซียส
3. ที่ความดัน 720 มิลลิเมตรของปรอท สาร C มีจุดเดือดสู งกว่า 100 องศาเซลเซียส
4. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของ C > B > A
5(มช 38) แก๊สใดต่อไปนี้มีสมบัติสอดคล้องกับทฤษฎีจลน์ของแก๊สมากที่สุด
1. ออกซิเจน 2. คลอรี น 3. อาร์กอน 4. ไนโตรเจน
6. แก๊สชนิ ดหนึ่ งบรรจุอยู่ภายในภาชนะขนาด 1 ลิตร ที่ความดัน 1 บรรยากาศ ณ.อุณหภูมิ
25 องศาเซลเซี ยส ถ้านาแก๊สนี้ไปบรรจุในภาชนะขนาด 2 ลิตร ณ อุณหภูมิเดิม แก๊สนี้จะมี
ความดันกี่บรรยากาศ
1. 0.5 2. 1.0 3. 1.5 4. 2.0
7(En 40) ถ้าต้อ งการให้ป ริ ม าตรของแก๊ ส สัม บู รณ์ ที่ STP เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 4 เท่ า โดยการลด
ความดันลง 25% จะต้องปล่อยให้แก๊สนี้อยูท่ ี่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซี ยส
1. 0 2. 273 3. 546 4. 819
8(แนว Pat2) แก๊ส ชนิ ดหนึ่ งหนัก 1.0 กรั ม ที่ 12 องศาเซลเซี ย ส ความดัน 1 บรรยากาศ
มีปริ มาตร 2.0 ลิ ตร ถ้าแก๊สชนิ ดนี้ หนัก 2.0 กรัม ที่ 69 องศาเซลเซี ยส ความดัน 608
มิลลิเมตรปรอท จะมีปริ มาตรเป็ นกี่ลิตร
1. 3.0 2. 4.5 3. 6.0 4. 9.0
9(En43 มี .ค.) บอลลู น ลู ก หนึ่ งบรรจุ ฮี เลี ย มเข้าไป 0.095 โมล มี ป ริ ม าตร 1.90 ลู ก บาศก์ -
เดซิ เมตร ถ้าเติมไฮโดรเจนเข้าไปอีก 0.125 โมล โดยให้ความดันและอุณหภูมิคงที่ บอลลูน
จะมีปริ มาตรเป็ นกี่ลูกบาศก์เดซิ เมตร
1. 2.5 2. 4.4 3. 5.0 4. 8.8
10(En47 มี .ค.) แทมมี่ ท าการทดลองเก็ บ แก๊ ส ออกซิ เจนโดยวิธี แทนที่ น้ าในห้ องปฏิ บ ตั ิ ก ารที่
อุณ หภูมิ 27oC ความดัน 0.092 บรรยากาศ ได้ปริ มาตร 600 cm3 ถ้าความดันของไอน้ า
อิ่มตัวมีค่า 0.002 บรรยากาศ ปริ มาตรของแก๊สออกซิ เจนที่ STP เป็ นกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร

27
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
11(En 32) ถ้าความหนาแน่ นของแก๊สที่ อุณหภูมิ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ มีค่าเท่ากับ
1.3 กิ โลกรัม/ลูกบาศก์เมตร จงคานวณหาความหนาแน่นของแก๊สนี้ ที่อุณหภูมิ 127oC และ
มีความดัน 2 บรรยากาศ
1. 0.55 kg/m3 2. 0.81 kg/m3 3. 1.95 kg/m3 4. 2.35 kg/m3

12(มช 38) ผสมแก๊สฮีเลียม 2 โมล อุณหภูมิ 60oC กับแก๊สอาร์ กอน 1 โมล อุณหภูมิ 30oC
จงหาว่าอุณหภูมิผสมเป็ นเท่าใด
1. 40oC 2. 45oC 3. 50oC 4. 55oC
13. แก๊ ส ไฮโดรเจน 5 โมล ปริ ม าตร 8200 ลู ก บาศก์ เซนติ เมตร ที่ 27oC จะมี ความดัน กี่
บรรยากาศ
1. 15 2. 20 3. 30 4. 45
14. แก๊ ส อาร์ ก อน 1 โมล ที่ อุ ณ หภู มิ 100oC และความดัน 640 มิ ล ลิ เมตรปรอท จะมี
ปริ มาตรเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 11.2 ลิตร 2. 22.4 ลิตร 3. 36.3 ลิตร 4. 44.8 ลิตร
15(แนว Pat2) ถังใบหนี่งบรรจุ O2 ไว้ที่ 20 บรรยากาศ อุณหภูมิ 300 เคลวิน เมื่อเปลี่ยนไป
บรรจุ SO2 แทนที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน พบว่าถังนี้มีน้ าหนักเพิ่มขึ้น 4 กิโลกรัม
ถังใบนี้มีปริ มาตรบรรจุประมาณกี่ลิตร
1. 0.154 2. 0.769 3. 76.875 4. 153.750
16(แนว Pat2) เมื่อปล่อยให้แก๊สอุดมคติในมาโนมิเตอร์ขยายตัวที่อุณหภูมิ –10 องศาเซลเซียส
จน มีปริ มาตรสุ ดท้ายเป็ น 1 ลิตร และทาให้ความ 760 mm Hg
สู งของปรอทในมาโนมิเตอร์ ต่างกัน 60 มิลลิเมตร
ดังรู ป จานวนโมลของแก๊สเป็ นเท่าใด
1. 3.35 x 10–3 Gas
2. 3.66 x 10–3 60 mm
3. 4.82 x 10–2
4. 5.00 x 10–2

28
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
17(แนว PAT2) ภาชนะสองใบต่อเชื่อมถึงกันใบแรกมีขนาด 2 ลิตร บรรจุแก๊ส N2 ไว้ 3 บรร-
ยากาศ ใบที่สองขนาด 3 ลิตร บรรจุแก๊ส O2 ไว้ 5 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิคงที่ เมื่อเปิ ด
วาล์วที่ก้ นั ระหว่างภาชนะทั้งสองจะเกิดปฏิกิริยากันจนสมบูรณ์ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นออกไซด์ชนิด
หนึ่งของไนโตรเจนมีความดันเท่ากับ 1.2 บรรยากาศ โดยไม่มีสารตั้งต้นใดเหลืออยูส่ ู ตรของ
ออกไซด์ที่เกิดขึ้นคือข้อใด
1. N2O4 3. N2O5 3. NO2 4. NO3
18(แนว Pat2) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรกาหนดสภาวะของแก๊สในข้อใดไม่เป็ นเส้นตรง
เมื่อกาหนดให้ตวั แปรอื่นคงที่
1. ปริ มาตรและความดัน 2. ปริ มาตรและอุณหภูมิ
3. ความดันและอุณหภูมิ 4. ความดันและจานวนโมล
19(แนว PAT2) ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งน้ าหนั ก โมเลกุ ล และตั ว แปรข้ อ ใดของแก๊ ส ที่ มี
ความสัมพันธ์เป็ นสมการเส้นตรง
1. อัตราเร็ วการแพร่ 2. ความหนาแน่น
3. ความดัน 4. ปริ มาตร
20. แก๊สซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (SO2) แพร่ ไปได้ปริ มาตร 40 cm3 ในเวลา 4 นาที แล้วอัตรา
การแพร่ ของแก๊สนี้จะมีค่าเท่ากับกี่ cm3 / นาที
1. 5 2. 10 3. 15 4. 30
21(En 37) ในการศึกษาสมบัติการแพร่ ของแก๊ส HCl , NO2 , H2S , C2H2 และ SO2
ลาดับ อัตราเร็ วการแพร่ ของแก๊สเป็ นดังข้อใด
1. SO2 < NO2 < HCl < H2S < C2H2 2. NO2 > HCl > SO2 > C2H2 > H2S
3. HCl > NO2 > H2S > C2H2 > SO2 4. H2S > SO2 > C2H2 > NO2 > HCl
22(มช 42) ถ้าปล่อยแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) , แก๊สคลอรี น (Cl2) , แก๊สไฮโดรเจน-
คลอไรด์ (HCl) และแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) ให้แพร่ เข้าไปในหลอดแก้วที่มีขนาด
และความยาวเท่ากันที่ อุณหภูมิและความดันเดี ยวกัน แก๊สชนิ ดใดจะแพร่ ไปถึ งปลายหลอด
แก้วอีกด้านหนึ่งได้เร็ วเป็ นอันดับที่ 2 ( N = 14 , O = 16 , Cl = 35.5 , H = 1 , C = 12 )
1. CO2 2. NO2 3. HCl 4. Cl2

29
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
23(En 38) A , B , C เป็ นสารระเหยง่ายและมีกลิ่น มีสูตรโมเลกุล C3H10O2 , C10H8 และ
C10H16O ตามลาดับ บรรจุอยูใ่ นขวดปากกวางที่เปิ ดไว้ ถ้าได้กลิ่ นสารทั้ง 3 ชนิ ดพร้อม
กัน จะต้องวางขวดสารห่างออกไปจากผูไ้ ด้กลิ่นเป็ นระยะทาง ( d ) เปรี ยบเทียบกันอย่างไร
1. dB > dC > dA 2. dA > dC > dB
3. dC > dB > dA 4. dA > dB > dC

24(En 39) ในการศึกษาสมบัติการแพร่ ของแก๊ส ก และ ข ที่อุณหภูมิ 30oC ได้ขอ้ มูลดังนี้


แก๊ส มวลโมเลกุล เวลา (s) ระยะทาง (cm)
ก x 30 a
ข y 30 b
ถ้าผลการทดลองปรากฏว่าแก๊ส ก แพร่ ได้เร็ วกว่าแก๊ส ข แล้ว ข้อใดถูกต้อง
1. a < b , x < y 2. a < b , x > y
3. a > b , x > y 4. a > b , x < y

25(En48 มี.ค.) ในการทดลองการแพร่ ของ หลอดแก้ ว


แก๊ส A และแก๊ส B โดยให้ทาปฏิ-
กิริยากันในหลอดแก้วดังรู ป ปล่อย A B
แก๊สทั้งสองเข้าไปในหลอดแก้วพร้อมๆ
กัน ปรากฏว่าได้สาร C ดังสมการ
A (g) + B (g)  C(s)
เมื่อวัดตาแหน่งของสาร C พบว่าเกิดอยูใ่ กล้ทางเข้าแก๊ส B มากกว่าแก๊ส A ข้อใดผิด
1. แก๊ส A แพร่ ได้เร็ วกว่าแก๊ส B
2. แก๊ส B มีมวลโมเลกุลสู งกว่าแก๊ส A
3. แก๊ส A และแก๊ส B มีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน
4. โมเลกุลของแก๊ส A เคลื่อนที่เข้าโมเลกุลของแก๊ส B โดยไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง

30
สร ุปเข้ม เคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

เฉลยตะลุยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบ 49.14 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 1.. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 4.



31

You might also like