You are on page 1of 51

โดย ครู พชั รี ลิมสุ วรรณ โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา 1

สมดุลเคมี
- การคํานวณค่า Kc Kp Ksp
- การคํานวณความเข้มข้นของสารต่ าง ๆ ทีสมดุล
- หลักของเลอชาเตอร์ลิเอ

1
สภาวะสมดุล
ปฏิกิริยาเคมีโดยทัวไป
สารตังต้ น ผลิตภัณฑ์ ปฏิกิริยาสมบูรณ์
แต่ บางปฏิกิริยา
 ไปข้ างหน้ า
สารตังต้ น ผลิตภัณฑ์ ปฏิกิริยาผันกลับได้
 ย้ อนกลับ
เมือ
อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาไปข้างหน้ า = อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาย้อนกลับ
(rate of forward reaction = rate of backward reaction)

สภาวะสมดุล 3

สมดุลไดนามิก

สมดุลทีมีการเคลือนทีของอนุภาคอยูต่ ลอดเวลาระบบไม่หยุด
นิ งอัตราการเปลียนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเปลียนแปลง
ผันกลับ (สมดุลเคมีเป็ นสมดุลไดนามิก)

2
ลักษณะทัวไปของสภาวะสมดุล
1. ต้ องอยู่ในระบบปิ ด
2. สมบัติของระบบคงที
3. เป็ นสมดุลไดนามิก
4. ระบบดําเนินเข้ าสู่ สภาวะสมดุลได้เอง
5. การดําเนินเข้ าสู่ สภาวะสมดุลของระบบอาจเริมจาก
ทิศทางใดก็ได้
6. อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาไปข้ างหน้ า เท่ ากับ อัตราการ
เกิดปฏิกริ ิยาย้ อนกลับ

สมการ A + B C + D
A+ B C+ D ปฏิกริ ิยาไปข้ างหน้ า
C+ D A+ B ปฏิกริ ิยาย้อนกลับ
A+ B C+ D ปฏิกริ ิยาผันกลับได้
rate
Rate ของปฏิกริ ิยาไปข้างหน้ า
สมดุล
Rate ของปฏิกริ ิยาไปย้อนกลับ

เวลา 6

3
ประเภทของสมดุล
สมดุลกายภาพ (Physical equilibrium )
H2O (l) H2O(g)
I2(s) I2(g)

สมดุลเคมี (Chemical equilibrium)


N2O4 (g) 2NO2(g)
PCl5(g) PCl3(g) + Cl2(g)

4
ปริมาณสารต่ างๆ ณ ภาวะสมดุล
[ ]
สารตังต้ น กรณีที 1 [สารตังต้น] = [ผลิตภัณฑ์]
ผลิตภัณฑ์
เวลา
[ ]
สารตังต้ น
กรณีที 2 [สารตังต้น] > [ผลิตภัณฑ์]
ผลิตภัณฑ์
เวลา
[ ]
ผลิตภัณฑ์ กรณีที 3 [สารตังต้น] < [ผลิตภัณฑ์]
สารตังต้ น
เวลา 9

N2O4 (g) 2NO2 (g)


equilibrium
equilibrium
equilibrium

เริมด้วย NO2 เริมด้วย N2O4 เริมด้วย


NO2 & N2O4

10

5
N2O4 (g) 2NO2 (g)
ค่ าคงที
Table 1 The NO2-N2O4 system at 25 oC
Initial concentrations Equilibrium concentrations Ratio of concentration
(M) (M) at equilibrium
[NO2] [NO2]2
[NO2] [N2O4] [NO2] [N2O4] [N2O4] [N2O4]
0.000 0.670 0.0547 0.643 0.0851 4.65 x 10-3
0.500 0.446 0.0457 0.448 0.102 4.66 x 10-3
0.030 0.500 0.0475 0.0491 0.0967 4.60 x 10-3
0.040 0.600 0.0523 0.594 0.0880 4.60 x 10-3
0.200 0.000 0.0204 0.0898 0.227 4.63 x1110-3

N2O4 (g) 2NO2 (g)


[NO2]2
K = = 4.63 x 10-3
[N2O4]
ณ ภาวะสมดุลของระบบใดๆ อัตราส่วนระหว่างผลคูณของ
ความเข้มข้นของสารผลิ ตภัณฑ์แต่ละชนิ ดยกกําลังสัมประสิ ทธิ
ของสารนันๆ กับผลคูณความเข้มข้นของสารตังต้นทีเหลือแต่
ละชนิ ดยกกําลังสัมประสิ ทธิ ของแต่ละสาร จะมีค่าคงทีเสมอ ณ
อุณหภูมิคงที ค่านี เรียกว่า ค่าคงทีสมดุล (K)

12

6
จลนศาสตร์ เคมีและค่ าคงทีสมดุล
ซี เอ็ม กุลด์ เบิร์ก และพี วาเก ได้ เสนอ Law of mass action
โดยเชือว่า อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาจะเป็ นปฏิภาคกับความเข้มข้นของสาร
ตังต้ นยกกําลังสัมประสิทธิบอกจํานวนโมลของสารนัน เช่ น
aA + bB cC + dD
อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาไปข้างหน้ า Ratef = Kf[A]a[B]b
อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาย้อนกลับ Rater = Kr[C]c[D]d
เมือระบบเข้าสู่ สมดุล Ratef = Rater
Kf[A]a[B]b = Kr[C]c[D]d
Kf [C]c[D]d
K = [A]a[B]b
Kr 13

ค่ าคงทีสมดุล
aA + bB cC + dD
[C]c[D]d
Kc =
[A]a[B]b
Kc = ค่ าคงทีสมดุล หน่ วยไม่ แน่ นอนขึนกับ
สมการนันๆ ดังนัน K จึงไม่ นิยมใส่ หน่ วย
[ ] = ความเข้ มข้ น หน่ วย mol/dm3, mol/L
a, b, c, d = สั มประสิ ทธิจํานวนโมล (ดุลสมการ)
** สารทีมีสถานะเป็ นของเหลว (l) กับของแข็ง (s) ไม่ นํามาคิดค่ า K

14

7
ค่ าคงทีสมดุล
ในกรณีทีสารในปฏิกิริยามีสถานะเป็ นแก๊ สทังหมด สามารถใช้
ความดันย่ อยของแก๊ สแต่ ละชนิดหาค่ า K ได้ โดย K ทีได้
เรียกว่ า Kp
H2(g) + I2(g) 2HI(g)
PHI2
Kp =
PH2PI2
การทํานายสมดุล
K >> 1 สมดุลไปทางขวา เกิดผลิตภัณฑ์มาก
K << 1 สมดุลไปทางซ้ าย เหลือสารตังต้ นมาก
15

Ex 1.จงเขียนนิพจน์ ค่าคงทีสมดุล (K) ของสมการต่ อไปนี


1. C(s) + 2H2O(g) CO2(g) + 2H2(g)

2. SnO2(s) + 2H2(g) Sn(s) + 2H2O(g)

3. Ag2CrO4(s) 2Ag+(aq) + CrO42-(aq)

16

8
5. 3IBr (aq) + 4NH3(g) NI3 (g) + 3NH4Br (aq)

6. 12HClO4 (aq) + P4O10(aq) 4H3PO4 (aq) + 6Cl2O7 (aq)

7. Zn3Sb2 (s) + 6H2O (l) 3Zn(OH)2(s) + 2SbH3 (aq)

8. 2KrF2 (g) + 2H2O (g) 2Kr(g) + O2(g) + 4HF(g)


17

9. CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g)

10. CoCl42-(aq) + 6H2O(l) Co(H2O)62+(aq) + 4Cl-(aq)

11. CO(g) + NO2(g) CO2(g) + NO(g)

12. Cu(s) + 2Ag+(aq) Cu2+(aq) + 2Ag(s)

18

9
13. 2CO2(g) 2CO(g) + O2(g)

14. PbI2(s) Pb2+(aq) + 2I-(aq)

15. 4Zn(s) +10HNO3(aq) 4Zn(NO3)2 (aq) + NH4NO3(aq) + 3H2O(l)

19

การเปลียนแปลงค่ าคงทีสมดุล (K ) เมือสมการเปลียน


1. เมือคูณสมการด้ วย n ใดๆ
[C]
A + B C ........1) K1 = [A][B]
เมือนํา n คูณสมการ 1)
[C]n
nA + nB nC ........2) K2 = [A]n[B]n
จัดรูปใหม่
[C]n [C] n
K2 = [A]n[B]n = = K1n
[A][B]

Kใหม่ = [Kเดิม] n
20

10
การเปลียนแปลงค่ า K เมือสมการเปลียน (ต่ อ)
2. เมือนําสมการรวมกัน
[C]
A + B C ........1) K1 = [A][B]
[Z]
X + Y Z ........2) K2 = [X][Y]
เมือนําสมการ 1) + 2) K1 K2
[C] [Z]
A+B+X + Y C + Z ......3) K3 = [A][B] [X][Y]
จัดรูปใหม่ K3 = K1 x K2

Kใหม่ = K1 x K2
21

การเปลียนแปลงค่ า K เมือสมการเปลียน (ต่ อ)


3. เมือนําสมการลบกัน
[C]
A + B C ........1) K1 = [A][B]
[X][Y]
Z X + Y ........2) K2 = [Z]
เมือนําสมการ 1) - 2)
K1 K2
A + B - Z C - X - Y ......3) [C] [Z]
A + B + X + Y C +Z ......4) K3 = [A][B] [X][Y]
จัดรูปใหม่ K3 = K1 / K2

Kใหม่ = K1 / K2 22

11
การเปลียนแปลงค่ า K เมือสมการเปลียน (ต่ อ)
4. เมือกลับข้างสมการ
[C]
A + B C ........1) K1 = [A][B]
[A][B]
C A+B ........2) K2 =
[C]
จัดรูปใหม่ K2 = 1 = 1
[C] K1
[A][B]
1
Kใหม่ =
K1
23

ตัวอย่างการคํานวณเกียวกับการเปลียนแปลงค่า K
Ex 2. ทีอุณหภูมิ 1000 oC หาค่าคงทีของปฏิกริ ิยาได้ ดังนี
1) C(s) + 2H2O(g) CO2(g) + 2H2(g) K1 = 3.85
2) H2(g) + CO2(g) H2O(g) + CO(g) K2 = 0.71
จงคํานวณค่าคงทีสมดุลของปฏิกริ ิยา
C(s) + CO2(g) 2CO(g)

24

12
Ex 3. กําหนด Kc ของปฏิกริ ิยาต่ อไปนี
CO(g) + H2O(g) CO2(g) + H2(g) Kc = 23.2 ที 600 oC
2H2S(g) 2H2(g) + S2(g) Kc = 2.3 × 10-4 ที 873 K
จงหา Kc ของปฏิกริ ิยา
2H2S(g) + 2CO2(g) S2(g) + 2CO (g) + 2 H2O(g)

25

Ex 4. กําหนด Kc ของปฏิกริ ิยาต่ อไปนี


2NO2(g) 2NO(g) + O2(g) Kc = 1.8 × 10-6 ที 627 oC
SO2(g) + 12 O2(g) SO3(g) Kc = 56 ที 900 K
จงหา Kc ของปฏิกริ ิยา NO(g) + SO3(g) NO2(g) + SO2(g)

26

13
Ex 5. กําหนดให้ A(g) + 3B(g) C(g) K1
2C(g) 3D(g) + 2E(g) K2
2A(g) + 6B(g) 3D(g) + 2E(g) K3
จงหาค่า K3 ในรูป K1 และ K2

27

การเปลียนแปลงค่ า K เมือสมการเปลียน (ต่ อ)


5. สมดุลเอกพันธ์ (Homogenous equilibrium)
ใช้ กบั ปฏิกริ ิยาทีสารทุกชนิดอยู่ในวัฏภาค (phase) เดียวกัน
N2O4(g) 2NO2(g)
[NO2]2 PNO22
Kc = [N O ] KP =
2 4 PN2O4
โดยทัวไป Kc ≠ Kp
aA(g) + bB(g) cC(g) + dD(g)
Kp = Kc(RT)Δn
Δn = โมลรวมของผลิตภัณฑ์ – โมลรวมของสารตังต้น
= (c+d) – (a+b)
R = 0.0821 dm3.atm.mol-1.K-1 T = อุณหภูมิ (K) 28

14
ความสั มพันธ์ ระหว่าง Kp และ Kc

Kp = Kc(RT) n

เมือ
R = ค่าคงทีของแก๊ส
T = อุณหภูมเิ คลวิน
n = จํานวนโมลของสารผลิตภัณฑ์(แก๊ส) - จํานวนโมลของสารตังต้น(แก๊ส)
ถ้า n = 0 ค่า Kp = Kc

29

Ex 6. จงเขียนค่า Kp จากสมการต่อไปนี
1. A2 (g) + B2 (g) 2AB (g)

2. C2H4 (g) + H2(g) C2H6 (g)

3. 2Fe3+ (aq) + 2I- (aq) 2Fe2+ (aq) + I2 (aq)

4. C (s) + H2O (g) CO (g) + H2 (g)

5. CO(g) + NO2(g) CO2(g) + NO(g)

30

15
Ex7. ในปฏิกริ ิยา 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) ที 25 oC
จงคํานวณค่า Kc ทีสภาวะสมดุล (กําหนดให้ Kp = 2.5 × 1024 atm-1)

31

Ex 6. จากสมดุลของ PCl5(g) PCl3(g) + Cl2(g)


ถ้า KP = 1.05 ที 250 oC ความดันย่อย PCl5 = 0.8 atm , PCl3 = 0.4
atm จงหาความดันย่อย Cl2 ทีสมดุล (250 oC)

32

16
Ex 7. N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) ถ้า KP = 4.3  10– 4
ที 200 oC จงหาค่า KC

33

Ex 9. จงหาค่า Kp และ Kc ในปฏิกริ ิยา H2O(l) H2O(g) ที 25oC


กําหนดให้ ความดันไอของนําที 25oC เท่ ากับ 23.8 torr.

34

17
เทอร์ โมไดนามิกส์ และค่ าคงทีสมดุล
ทีสภาวะสมดุล การเปลียนแปลงพลังงานอิสระของปฏิกริ ิยาใดๆ
จะมีค่าเท่ ากับศูนย์ (G = 0)
ถ้ าพิจารณาในแง่ ของสมดุล แสดงว่า ทีภาวะสมดุล
ผลรวมของพลังงานอิสระของผลิตภัณฑ์ทังหมด = ผลรวมของ
พลังงานอิสระของสารตังต้นทังหมด
หลักเกณฑ์นีจะสามารถหาความสัมพันธ์ ระหว่างพลังงานอิสระ
และค่าคงทีสมดุลได้ ดังนี
Go = -RT lnK
ถ้ าทราบ Go ของสมการก็สามารถหา K ได้
35

-RT lnK = Go


o
lnK = - G
RT
Go
K = e- RT

-2.303 RT log K = Go

R = ค่าคงทีของแก๊ส (8.314 J mol-1 K-1)


T = อุณหภูมิ (K)
K = ค่าคงทีสมดุล
Go = พลังงานเสรีทสภาวะมาตรฐาน
ี (J mol-1)
36

18
Ex 10. จงหาค่า K ที 25oC ของปฏิกริ ิยาต่ อไปนี
CO2(g) + H2(g) CO(g) + H2O(g)
กําหนด Go ของปฏิกริ ิยา 28 kJ mol-1

37

แบบฝึ กหัด 1
1. ณ อุณหภูมทิ ีกําหนดให้ และความดันรวมเท่ ากับ 1.00 atm ค่าความ
ดันย่อยทีสภาวะสมดุลของปฏิกริ ิยา
N2O4(g) 2NO2(g)
คือ PN2O4 = 0.5 atm และ PNO2 = 0.5 atm
ค่า Kp ทีอุณหภูมนิ ีเท่ ากับเท่ าใด

38

19
แบบฝึ กหัด 1 (ต่ อ)
2. ทีอุณหภูมิ 700 K ปฏิกริ ิยา CO(g) + 2H2(g) CH3OH(g)
มีค่า Go700K = -13.46 kJ จงหาค่า Kp ของปฏิกริ ิยาทีอุณหภูมิ 700 K

39

แบบฝึ กหัด (ต่ อ)


3. ค่าคงทีสมดุล (Kp) ของปฏิกริ ิยา COCl2(g) CO(g) + Cl2(g)
เท่ ากับ 4.56 × 10-2 ที 395 oC จงหาค่า Go ที 668K ของปฏิกริ ิยานี

40

20
การคํานวณเกียวกับสมดุลเคมี มีหลักดังนี
1. เขียนสมการพร้ อมทังดุลสมการ
2. หาความเข้มข้นเริมต้นของสารเป็ น mol/dm3 หรือ mol/L
3. หาจํานวน mol ทีเปลียนแปลง
4. หาความเข้มข้นของสารทีสมดุล
5. เขียนสมการหาค่า K
6. แทนค่าต่ างๆ ลงในสมการหาค่า K
สมมติ 2A + 3B 4C
เริมต้ น a b - mol/dm3
เปลียนแปลง -2x -3x +4x
สมดุล a - 2x b - 3x +4x mol/dm3
41

แทนค่าในสมการหาค่า K
[C]4
K =
[A]2[B]3
(4x)4
K =
(a - 2x)2(b – 3x)3

42

21
Ex 11. NO2 เป็ นแก๊ สสี นําตาลและ N2O4 เป็ นแก๊ สไม่ มีสี อยู่ในภาวะสมดุลดังสมการ
2NO2(g) N2O4(g) จากผลการทดลองพบว่ า เมือบรรจุ N2O4 6.25 mol ในภาชนะ
ขนาด 5.0 dm3 แล้ วปล่ อยให้ เข้ าสู่สภาวะสมดุล ทีสภาวะสมดุลพบว่ า ความเข้ มข้ น
ของ N2O4 เป็ น 0.075 mol/dm3 จงหาค่ า Kc ของปฏิกิริยานี

43

Ex 12. ทีอุณหภูมิ 440 oC ค่ า Kc ของปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) 2HI(g) เท่ ากับ 49


3
ถ้ าบรรจุ H2 0.20 mol และ I2 0.20 mol ในภาชนะขนาด 10 dm แล้ วให้ สารทํา
ปฏิกิริยากันทีอุณหภูมิ 440 oC ทีสภาวะสมดุลสารแต่ ละชนิดมีความเข้ มข้ นเท่ าใด

44

22
Ex 13. บรรจุ HI 0.40 mol ในภาชนะขนาด 10 dm3 ที 440 oC ทีสภาวะสมดุล ความ
เข้ มข้ นของ H2, I2 และ HI จะเป็ นเท่ าใด (Kc = 49)

45

Ex 14. แก๊ ส N2 และแก๊ ส H2 ทําปฏิกิริยากันในภาชนะขนาด 250 cm3 ดังสมการ


N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) ทีภาวะสมดุลพบว่ ามีแก๊ ส N2 H2 และ NH3 อยู่
เท่ ากับ 2, 3 และ 4 mol ตามลําดับ จงคํานวณหา Kc

46

23
Ex 15. ทีอุณหภูมิหนึงแก๊ ส HI 1 mol/L สลายตัว 20% ดังสมการ
2HI(g) H2(g) + I2(g) จงคํานวณหาค่ าคงทีของสมดุล

47

Ex 16. เมือบรรจุ H2O(g) 1.80 g และ Cl2(g) 5.68 g ในภาชนะขนาด 2 dm3 ที


สภาวะสมดุลของปฏิกิริยา 2H2O(g) + 2Cl2(g) 4HCl(g) + O2(g) พบว่ า
ความเข้ มข้ นของ O2 เท่ ากับ 0.48 g/dm3 จงคํานวณค่ า Kc ของปฏิกิริยานี

48

24
แบบฝึ กหัด 2
1. ค่า Kc ของปฏิกริ ิยา PCl5(g) PCl3(g) + Cl2(g) เท่ ากับ 33.3 ทีอุณหภูมิ
760 C ทีสภาวะสมดุลจะมี PCl5 1.29 × 10-3 mol/dm3 และ Cl2 1.87 × 10-1
o

mol/dm3 จงหาความเข้ มข้ นของ PCl3 ทีสภาวะสมดุล

49

แบบฝึ กหัด 2 (ต่ อ)


2. ทีอุณหภูมิ 100oC ค่าคงทีสมดุลของปฏิกริ ิยา
CO(g) + Cl2(g) COCl2(g) เท่ ากับ 4.6 x 109 dm3 mol-1 ถ้ าบรรจุ
COCl2 0.20 mol ในภาชนะ 10.00 dm3 ที 100 oC จงคํานวณความเข้ มข้น
ของสารทุกชนิดทีสภาวะสมดุล

50

25
แบบฝึ กหัด 2 (ต่ อ)
3. ซัลเฟอร์ ไตรออกไซด์ สลายตัวทีอุณหภูมสิ ู งในภาชนะปิ ดดังสมการ
2SO3 (g) 2SO2 (g) + O2 (g) ถ้ าบรรจุ SO3 ในภาชนะปิ ดโดยให้ ความ
เข้ มข้ น 6.09 × 10-3 M ที 1000 K พบว่าทีภาวะสมดุลความเข้ มข้นของ SO3
เป็ น 2.44 × 10-3 M จงคํานวณหาค่า Kc ที 1000 K

51

หลักของเลอชาเตอลิเอ
เฮนรี หลุยส์ เลอ ชาเตอลิเอ (Henri Louis Le Chatelier) ได้
ศึกษาเกียวกับสภาวะสมดุลของระบบเมือมีการเปลียนแปลงความ
เข้มข้น ความดัน และอุณหภูมิ และสรุปเป็ นหลักเกณฑ์เพือใช้ ทํานาย
ทิศทางของปฏิกริ ิยาได้ ดังนี
“เมือระบบทีอยู่ในสภาวะสมดุลถูกรบกวนจะทําให้ สมดุลของ
ระบบเสี ยไป ระบบจึงปรับตัวไปในทิศทางทีจะทําให้ ปัจจัยทีรบกวนนัน
ลดลงเหลือน้ อยทีสุ ด แล้วระบบจะเข้าสู่ สภาวะสมดุลอีกครังหนึง”

52

26
ปัจจัยทีมีผลต่ อสภาวะสมดุล
1. การเปลียนแปลงความเข้ มข้ น
2. การเปลียนแปลงอุณหภูมิ
3. การเปลียนแปลงความดัน
4. การเติมแก๊ สเฉือย
5. การเติมตัวเร่ งปฏิกิริยา

53

1. การเปลียนแปลงความเข้ มข้ น
จากสมการ A + B C
- ถ้ าเพิมความเข้มข้นของสารตังต้น สมดุลจะเลือนไปข้างหน้ า
(เกิดผลิตภัณฑ์มากขึน)
- ถ้ าเพิมความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ สมดุลจะผันกลับ
(เกิดสารตังต้ นมากขึน)
- ถ้ าลดความเข้มข้นของสารตังต้ น สมดุลจะย้อนกลับ
(เกิดสารตังต้ นมากขึน)
- ถ้ าลดความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ สมดุลจะเลือนไปข้างหน้ า
(เกิดสารผลิตภัณฑ์มากขึน)
การเปลียนแปลงความเข้มข้น ไม่ มีผลต่ อค่า K 54

27
พิจารณาสมการ BaSO4(s) Ba2+(aq) + SO42-(aq)
K = [Ba2+][SO42-]
เติม Na2SO4

พิจารณาสมการ SO2(g) + 21 O2(g) SO3(g)


[SO3] 1
K =
[SO2][O2] 2
เติม O2

55

Ex 17. การเปลียนแปลงต่ อไปนีจะมีผลต่ อความเข้มข้นของ H2 ใน


ระบบและภาวะสมดุลของระบบต่ อไปนีอย่างไร
H2(g) + CO2(g) H2O(g) + CO(g)

ก. เติม CO
ข. เติม H2O
ค. ลด CO
ง. ลด CO2
จ. ลด H2O
56

28
2. การเปลียนแปลงอุณหภูมิ
ถ้ า อุณหภูมิเปลียน นอกจากระบบจะต้ องปรับตัวเข้าสู่ สมดุล
แล้ว ค่า K ยังจะเปลียนแปลงด้ วย
การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี โดยทัวไปมีพลังงานทีเกียวข้อง 2 ประเภท
ได้ แก่
1. ปฏิกริ ิยาดูดความร้ อน (Endothermic reaction) (H = +)
หรือ A + B + H C
2. ปฏิกริ ิยาคายความร้ อน (Exothermic reaction) (H = -)
หรือ X + Y Z + H

57

ปฏิกริ ิยาดูดความร้ อน
A + B + H C ค่า K
เพิม T
ลด T
- ถ้ าเพิม T สมดุลจะเลือนไปข้างหน้ า K เพิมขึน
- ถ้ าลด T สมดุลจะย้อนกลับ K ลดลง
ปฏิกริ ิยาคายความร้ อน
X+ Y Z + H
- ถ้ าเพิม T สมดุลจะย้อนกลับ K ลดลง
- ถ้ าลด T สมดุลจะเลือนไปข้างหน้ า K เพิมขึน 58

29
การเปลียนแปลงอุณหภูมิ จะทําให้ ค่าคงทีสมดุล (K) เปลียนแปลง
ด้ วย จากสมการ
Go = -RT ln K
o
ln K = - G 1)
RT
เมือ T เปลียน K จะเปลียนด้ วย จากสมการ
Go = Ho - TSo
แทนค่า Go ลงใน สมการ 1) จะได้
o o
ln K = -(H - TS )
RT
o o
ln K = - H + S
RT R 59

สมมติที T1 วัดค่าคงทีสมดุลได้ K1
ถ้ าอยากทราบ K2 ทีอุณหภูมิ T2 จะคํานวณได้ ดังนี
o o
ln K1 = - H T1 + S T1 2)
RT1 R
o o
ln K2 = - H T2 + S T2 3)
RT2 R
โดยทัวไป Ho และ So เป็ นค่าทีขึนกับ T แต่ ถ้า T
เปลียนแปลงไปเพียงเล็กน้ อย (T1 เป็ น T2) จะไม่ทําให้ HoT1 และ
HoT2 หรือ SoT1 และ SoT2 แตกต่ างกันมากนัก
ดังนัน HoT1  HoT2 = Ho
และ SoT1  SoT2
60

30
นําสมการ 3) - สมการ 2) จะได้
o
ln K2 - ln K1 = H ( 1 - 1)
R T1 T2
o T -T
ln K2 = H ( 2 1)
K1 R T1T2

K1 = ค่าคงทีสมดุลที T1
K2 = ค่าคงทีสมดุลที T2
Ho = พลังงานความร้ อนของปฏิกริ ิยา (J/mol)
T = อุณหภูมิ (K)
R = 8.314 J K-1 mol-1
61

Ex 18. กําหนดค่า K ที 25oC เท่ ากับ 20.5 และ Ho = -5.29 kJ/mol
สํ าหรับปฏิกริ ิยา 1 I2(g) + 1 Br2(g) IBr(g)
2 2
จงหาค่า K ที 100oC

62

31
Ex 19. ค่า K ของปฏิกริ ิยา H2(g) + S(g) H2S(g) ที 945oC เท่ ากับ
20.2 และที 1065oC เท่ ากับ 9.21 จงหา Ho ของปฏิกริ ิยา (R = 8.314 J
mol-1 K-1)

63

3. การเปลียนแปลงความดัน
การเปลียนแปลงความดันจะมีผลต่ อระบบทีเป็ นแก๊สเท่ านัน
- ถ้ าเพิมความดัน (ลดปริมาตร) สมดุลจะเลือนจากด้าน
mol มาก mol น้ อย
- ถ้ าลดความดัน (เพิมปริมาตร) สมดุลจะเลือนจากด้าน
mol น้ อย mol มาก

***ความดันจะไม่ มีผลถ้ า***


- ระบบนันไม่ มีแก๊สอยู่เลย
- ระบบทีมีจํานวนโมลของแก๊สทังสองข้างเท่ ากัน
64

32
Ex 20. จากสมการ N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) ถ้ าเพิมความดัน
และลดความดันให้ กบั ระบบสมดุลจะเปลียนแปลงอย่างไร
N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g)
เพิม P
ลด P
Ex 21. จากสมการ 2SO3(g) 2SO2(g) + O2(g) ถ้ าลดความดัน
สมดุลจะเปลียนแปลงอย่างไร
2SO3(g) 2SO2(g) + O2(g)
ลด P

65

4. การเติมแก๊ สเฉือย
การเติมแก๊สเฉือยเข้าไปในระบบของแก๊สใดๆ ซึงทําปฏิกริ ิยากันจน
เข้าสู่ สภาวะสมดุลแล้ว จะมีผลทําให้ ความดันทังหมดภายในระบบ
เพิมขึน แต่จะไม่ทําให้ ความดันย่อยหรือความเข้มข้นของสารใดสาร
หนึงเปลียนแปลง

66

33
5. การเติมตัวเร่ งปฏิกิริยา
การเติมตัวเร่ งปฏิกริ ิยาจะทําให้ พลังงานกระตุ้น (Ea) ของ
ปฏิกริ ิยาลดตําลง ปฏิกริ ิยาเกิดได้ เร็วขึน ดังนันตัวเร่ งปฏิกริ ิยามีผลต่ อ
การเปลียนแปลงอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา แต่ ไม่ มีผลต่ อค่า K

ถ้ าระบบนันเข้าสู่ สมดุลแล้ว การเติมตัวเร่ งเข้าไปในระบบ จะไม่


มีการเปลียนแปลงใดๆเกิดขึนในระบบ

67

Ex 22. ทีอุณหภูมิ 293 K C(s) + CO2(g) + 173 kJ 2CO(g)


การเปลียนแปลงต่ อไปนี จะมีผลต่ อสภาวะสมดุลของปฏิกริ ิยาอย่างไร
C(s) + CO2(g) + 173 kJ 2CO(g)
ก. เติม CO2 ที T และ P คงที
ข. เติม CO ที T และ V คงที
ค. ดูด CO2 ออกไปที T และ V คงที
ง. เพิม T โดยให้ P คงที
จ. เติมแก๊ สเฉื อยที T และ P คงที

68

34
Ex 23.
จงเติมคําว่า “เพิ มขึน” “ลดลง” หรื อ “ไม่เปลียนแปลง” ถ้ามีการรบกวนสมดุลของ
ปฏิกิริยาต่อไปนี ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
H2 (g) + Cl2 (g) 2 HCl (g) + 68 kJ
การเปลียนแปลง [Cl2] [HCl] K
เติมอุณหภูมิให้กบั ระบบ
เพิ มปริ มาตรให้กบั ระบบ

Ex 24. ปฏิกิริยาการเตรี ยมแอมโมเนีย N2(g) + 3H2 (g) 2NH3 (g)


ปฏิกิริยานีเป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน ในอุตสาหกรรมต้องการให้ได้
ผลิตภัณฑ์มากทีสุดคือปฏิกิริยาเลือนจากซ้ายไปขวาอาศัยความรู้เรื อง
หลักของเลอซาเตอลิเอในการทําให้ได้ NH3 มาก ๆ สามารถทําได้โดย
วิธีใดบ้าง บอกมา 3 กรณี

70

35
แบบฝึ กหัด 3
1. กําหนดค่า K ให้ เพือคํานวณหาความเข้มข้นของสาร
นํา H2 มา 44.8 dm3 ที STP ทําปฏิกิริยากับ I2 44.8 dm3 ที STP ทีอุณหภูมิ
250 ºC ในภาชนะ 2 ลิตร ทีภาวะสมดุลมีค่า K เท่ากับ 4 จงหาความ
เข้มข้นของ H2, I2 และ HI ณ ภาวะสมดุล

71

แบบฝึ กหัด 3 (ต่ อ)


2. กําหนดปริ มาณหรื อความเข้มข้นของสารให้ แล้วหาค่า K
ปฏิกิริยา 2 NO2 (g) 2 NO (g) + O2 (g) เมือนํา NO2, NO และ O2 อย่าง
ละ 1, 0.8 และ 0.2 โมล ตามลําดับ ใส่ลงในภาชนะขนาด 1 ลูกบาศก์
เดซิเมตร ทีภาวะสมดุล พบว่ามี O2 อยู่ 0.3 โมล ถ้าลดปริ มาตรของภาชนะ
ลงครึ งหนึง จงคํานวณหาค่าคงทีสมดุลทีภาวะสมดุลใหม่

72

36
แบบฝึ กหัด 3 (ต่ อ)
3. ทีสภาวะสมดุล ค่า Kc ของสมการ H2(g) + CO2(g) H2O(g) + CO(g)
เท่ากับ 4.2 ทีอุณหภูมิ 1650 ºC เมือเริ มปฏิกิริยานํา CO2 0.8 โมล ฉีดเข้าไปใน
ภาชนะขนาด 5 ลิตร ทีมี H2 อยู่ 0.80 โมล จงคํานวณหาความเข้มข้นของสาร
ตังต้นและสารผลิตภัณฑ์ทีภาวะสมดุล

แบบฝึ กหัด 3 (ต่ อ)


4. สําหรับปฏิกิริยา CO(g) + H2O(g) CO2(g) + H2(g) K เท่ากับ 4 ที
อุณหภูมิทีกําหนดให้ ถ้าใส่ CO = 0.6 โมล และ H2O = 0.6 โมล ในภาชนะ
2 ลิตร ทีอุณหภูมิเดียวกันทีภาวะสมดุลมี CO2 อยูก่ ีโมล

37
แบบฝึ กหัด 3 (ต่ อ)
6. ทีสมดุลในภาชนะขนาด 1 dm3 มีแก๊สไนโตรเจน แก๊สไฮโดรเจน และ
แก๊สแอมโมเนีย จํานวน 0.30 , 0.40 และ 0.10 mol ตามลําดับ จะต้อง
เติมแก๊สไนโตรเจนกีโมลลงในสมดุล เพือให้ความเข้มข้นของแก๊ส
แอมโมเนียทีสมดุลใหม่เพิ มเป็ น 2 เท่า ทีอุณหภูมิเดิม

76

38
การละลายและสมดุลของการละลาย

การละลายและผลคูณของการละลาย
การทํานายการตกตะกอน
การแยกไอออนโดยการตําตะกอนแยกส่วน
อิทธิพลของไอออนร่ วม
อิทธิพลของ pH

77

ความสามารถในการละลาย (Solubility) ของสาร


หมายถึง ความสามารถของสารทีจะละลายในสารอืน จนเป็ น
สารละลายอิ มตัว
เมือนําสารละลายเกลือทีละลายนําได้นอ้ ย ตัวอย่างเช่นภาวะ
สารละลายอิ มตัวของเกลือ AgCl เขียนสารการได้เป็ น
AgCl (s) Ag+ (aq) + Cl- (aq)
สภาวะสมดุล
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
สภาวะทีสารละลายอิ มตัว
อัตราการละลาย = อัตราการตกผลึก
สามารถเขียนค่าคงทีสมดุลของปฏิกิริยานีได้ว่า
K = [Ag+][Cl-]

39
สมดุลของการละลายของเกลือทีละลายนําได้ น้อย
ค่า K ในกรณี นีจะเขียนว่า Ksp (Solubility product constant) และ
ความสามารถในการละลายจะเขียนในรู ปของความเข้มข้นของไอออนใน
หน่วย mol/L ยกกําลังด้วยเลขสัมประสิทธิจํานวนโมล ของแต่ละไอออน
ในสมการทีดุลแล้ว ตัวอย่างเช่น
MgF2
MgF2 (s) Mg2+ (aq) + 2F- (aq) Ksp = [Mg2+][F-]2
AgCO3
AgCO3 (s) 2Ag+ (aq) + CO32- (aq) Ksp = [Ag+]2[CO32-]
เราจะเขียนค่า Ksp ของสมการทัวไปได้ว่า
Ax By (s) x Aa+ (aq) + y B b- (aq)
Ksp = [Aa+]x [B b- ]y

ค่าคงทีสมดุลการละลาย
ค่าคงทีสมดุลการละลาย
= ผลคูณของความเข้มข้นของไอออนยกกําลังด้วยจํานวนโมลใน
สมการ
หรื อ = ผลคูณของค่าการละลาย “Solubility Product” Ksp

Ksp บอกความสามารถในการละลายของสารในนํา
Ksp เป็ นค่าคงทีทีสภาวะสมดุล ขึนอยูก่ บั อุณหภูมิ

80

40
ค่า Ksp จะทําให้ เราทราบถึง
1. ความสามารถในการละลายของสารประกอบ ว่าละลายได้เท่าใดแค่
ไหนทีอุณหภูมิคงที (25ºC)
2. เปรี ยบเทียบการละลายนําของสารประกอบต่าง ๆ ว่าสารใดละลายนํา
ได้ดีมากกว่ากันโดยปรกติสารทีมีค่า Ksp มากละลายนําได้ดีกว่าสารทีมี
ค่า Ksp น้อย
3. นอกจากนียังบ่งบอกถึงสภาวะของสารนัน ๆ ว่า ขณะนันเป็ น
สารละลายอิ มตัว หรื อยังสามารถละลายได้อีก เช่น AgCl มีค่า
Ksp = 1.6 ×10-10

และให้ Q แทนค่า ผลคูณของการละลายทีสภาวะต่าง ๆ


Q = [Ag+][Cl-]
ถ้า Q < Ksp Unsaturated solution
Q = Ksp Saturated solution
Q > Ksp Supersaturated solution
; AgCl will precipitate out until the
product of the ionic concentrations is
equal to 1.6 × 10-10

82

41
สารละลายอิมตัว
เป็ นสารละลายทีผลคูณของความเข้มข้นของไอออนเท่ากับค่าKsp สารละลาย
ในสภาวะอิ มตัวนี การตกตะกอนจะเริ มต้นเกิดขึน ถ้ามีการเติมไอออนลงไป
เช่น สารละลายอิ มตัวของ AgCl ถ้ามีการเติม Ag+ หรื อ Cl- ลงไปAgCl จะ
ตกตะกอนทันที
AgCl Ag+ (aq) + Cl- (aq)
Q = [Ag+][Cl-]
Q เป็ นผลคูณของความเข้มข้นของไอออน (Ion product)

83

ตารางแสดงค่ าคงทีสมดุลของการละลายของสารประกอบไอออนิก

84

42
85

Ex 26. การละลายของ CaSO4 เท่ากับ 0.67 g/L จงหาค่า Ksp

86

43
Ex 27. ค่า Ksp ของ Cu(OH)2 = 2.2 × 10-20 จงหาค่าละลายของ Cu(OH)2

87

Ex 28. การละลายของซิลเวอร์ซลั เฟต Ag2SO4 ละลายได้ 1.5 × 10-2 M ที


อุณหภูมิ 25ºC จงคํานวณหาค่า Ksp ของซิลเวอร์ซลั เฟต

44
Ex 29 BaCO3 มีค่า Ksp เท่ากับ 5.1 × 10-9 เมือให้ BaCO3 ละลายในนําจะ
ละลายได้กีกรัมทีอุณหภูมิ 25ºC (Ba = 137 , C = 12 , O = 16 )

แบบฝึ กหัด 4
1. การละลายของซิลเวอร์ซลั เฟต AgCl ถ้าค่า Ksp เท่ากับ 1.6 × 10-10 ที
อุณหภูมิ 25ºC ถ้าขณะนีมีความเข้มข้นของ Ag+ เท่ากับ 1.6 × 10-5 โมลต่อ
ลิตรและความเข้มข้นของ Cl- เท่ากับ 2.0 × 10-5 โมลต่อลิตรจงทํานายว่า
สารละลายอิ มตัวหรื อยัง

45
Ksp ทํานายเงือนไขการตกตะกอน
Ex 30. เมือผสม 0.0040 M BaCl2 ปริ มาตร 200 ml กับ 0.0080 M
K2SO4 ปริ มาตร 600 ml จะตกตะกอนหรื อไม่

91

แบบฝึ กหัด 5
1. กําหนดค่า Ksp ของ AgBrO3 ที 20 oC 6.0 × 10-5 ถ้าผสมสารละลาย AgNO3
10-3 โมล/ลิตร จํานวน 50 cm3 กับสารละลาย NaBrO3 เข้มข้น 10-3 โมล/ลิตร จํานวน
50 cm3 เข้าด้วยกันสารผสมดังกล่าวนีเกิดการตกตะกอนหรื อไม่

92

46
แบบฝึ กหัด 5
2. ให้ AgCl Ag+ (aq) + Cl- (aq) มีค่าคงทีสมดุลการละละลาย 1.8 × 10-10 ถ้านํา
AgNO3 0.12 mol/dm3 จํานวน 50 cm3 ผสมกับ NaCl 0.048 mol/dm3 จํานวน
150 cm3 แล้วคนให้เข้ากันจนถึงสมดุล ข้อใดถูก
ก. เกิดตะกอน 0.861 g
ข. มี [Ag+] = 5× 10-10
ค. ไอออนในระบบ มี [Cl-] = 3 [NO3-]
1) ก ข
2) ข ค
3) ก ค
4) ก

93

การแยกสารโดยวิธีตกตะกอน
Ex 31. เมือค่อย ๆ เติม AgNO3 ลงในสารละลายทีมี 0.020 M Cl-
และ 0.020 M Br- จงหา [Ag+] ทีทําให้ AgBr และ AgCl
เริ มตกตะกอน

94

47
ผลของไอออนร่ วมต่อการละลาย
Ex 32. คํานวณค่าการละลายของ AgCl ใน 6.5 ×10-5 M AgNO3(aq)

95

ผลของ pH ต่อการละลาย
พิจารณาการละลายของสารประกอบไฮดรอกไซด์ของโลหะ
Mg(OH)2 (s) Mg2+ (aq) + 2 OH- (aq)
ถ้าเติมเบส OH- : ปฏิกิริยาไปทางซ้าย ค่าการละลายลดลง

ถ้าเติมเบส H+ : ปฏิกิริยาไปทางขวา ค่าการละลายเพิ มขึน

96

48
Ex 33. ทีสมดุล 25 o C การละลายของ Mg(OH)2 จะมี pH เท่าใด
Mg(OH)2 (s) Mg2+(aq) + 2OH- (ค่า Ksp = 1.2 ×10-11 )

97

Ex34. คํานวณการละลายของ Mg(OH)2 ในบัฟเฟอร์ทีมี pH


ก. 12
ข. 9

98

49
Ex35. คํานวณความเข้มข้นของสารละลายแอมโมเนียทีใช้ในการตกตะกอน
Iron (II) hydroxide จาก 0.0030 M FeCl2 soln

99

แบบฝึ กหัด 6
1. ถ้าทําการผสมสารละลาย 5.00 ml ของ 0.015 M Ca(NO3)2 กับสารละลาย
20.00 ml ของ 0.005 M Na2SO4 จะเกิดตะกอน CaSO4 หรื อไม่

100

50
แบบฝึ กหัด 6 (ต่อ)
2. Calculate the molar solubility of AgCO3 in a solution That is
0.0200 M in Na2CO3

101

แบบฝึ กหัด 6 (ต่อ)


3. สารละลายหนึงประกอบด้วย Pb2+ 0.15 M และAg+ 0.20 M
ถ้าค่อย ๆ เติมของแข็ง Na2SO4 ลงในสารละลายนี จะเกิดตะกอน
PbSO4 หรื อ Ag2SO4 ก่อน

102

51

You might also like