You are on page 1of 19

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทิน
2. ระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทิน
ปฏิกิรยิ าเคมีระหว่างสารละลายกรดและเบสที่พอดีกนั เรียกว่า ปฏิกิรยิ าสะเทิน (neutralization reaction)
ซึง่ อาจเขียนในรูปสมการเคมีท่วั ไปได้ดงั นี ้

HA + BOH BA + H2O
กรด เบส เกลือ นา้

หรือ H3O+(aq) + OH-(aq) 2H2O(l)

น้าซึ่งมีสมบัติเป็นกลาง เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) จากกรดท้าปฏิกิริยา


กับไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) จากเบส ส่วนผลิตภัณฑ์ที่เป็นเกลือ (BA) อาจมีสมบัติเป็นกลาง กรด
หรือเบส ขึนอยู่กับชนิดของกรดและเบสที่ท้าปฏิกิริยากัน
ปฏิกริ ิยาเคมีระหว่างกรดแก่กับเบสแก่
เมื่อน้าสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) และสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) มาท้า
ปฏิกิริยากัน เขียนสมการเคมีได้ดังนี

HCl(aq) + NaOH(aq) NaCl(aq) + H2O(l)

ผลิตภัณฑ์เกลือที่เกิดขึนคือโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ซึ่งมีสมบัติเป็นกลาง


ปฏิกริ ิยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่
ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดแอซีติก (CH3COOH) และสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
(NaOH) เขียนสมการเคมีได้ดังนี

CH3COOH(aq) + NaOH(aq) CH3COONa(aq) + H2O(l)

ผลิตภัณฑ์เกลือที่เกิดขึนคือ เกลือโซเดียมแอซีเตต (CH3COONa) ซึ่งมีสมบัติเป็นเบส เนื่องจาก


CH3COO- สามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสได้ OH-
ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน
ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) และสารละลายแอมโมเนีย (NH3) เขียน
สมการเคมีได้ดังนี

HCl(aq) + NH3(aq) NH4Cl(aq)

ผลิตภัณฑ์เกลือที่เกิดขึนคือ แอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) ซึ่งมีสมบัติเป็นกรด เนื่องจาก NH4+


สามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสได้ H3O+
ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน
ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) และแก๊สแอมโมเนีย (NH3) เขียนสมการเคมีได้
ดังนี
HCl(g) + NH3(g) NH4Cl(s)

ปฏิกิริยาที่กรดกับเบสจะท้ากันเกิดเกลือเพียงอย่างเดียว เพราะปฏิกิริยานีปราศจากน้า
ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสอ่อน
ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดแอซิติก (𝐶𝐻3𝐶𝑂𝑂𝐻)และสารละลายแอมโมเนีย (NH3) เขียน

%faCH3C00ia.pt|

สมการเคมีได้ดังนี NH ip

[
C-113100

/

ๆ ประ บวก เจอ ประ ลบ

CH3 COOH aq + 𝑁𝐻3 𝑎𝑞 → 𝐶𝐻3 𝐶𝑂𝑂𝑁𝐻4 (𝑎𝑞)

ผลิตภัณฑ์เกลือที่เกิดขึนคือ แอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) ซึ่งมีสมบัติเป็นกรด เนื่องจาก NH4+


สามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสได้ H3O+
จุ
จุ
แบบฝึ กหัด
เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดและเบสต่อไปนี พร้อมทังระบุความเป็น
กรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทิน
1. HBr และ LiOH
แบบฝึ กหัด
เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดและเบสต่อไปนี พร้อมทังระบุความเป็น
กรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทิน
2. HNO2 และ NaOH
แบบฝึ กหัด
เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดและเบสต่อไปนี พร้อมทังระบุความเป็น
กรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทิน
3. H2CO3 และ Ca(OH)2
แบบฝึ กหัด
ระบุเกลือความเป็น กรด เบส หรือ กลาง และความกรด-เบส
ของสารละลาย
โต๊ะด้านหน้า : HCl และ Ba(OH)2
โต๊ะด้านหลัง : HNO3 และ NH3
งai
7
#20 (1)
2 HCI
Balatbcap Ba 42 +
+ หm
cap µ
เก อ เบส
หุ๋
ลื
กิ้

ญื๊ ④ ใน
HN 031 NH
3
นʰN µ
+
Ntkap นʰ NH 4N
03mi
Iap
ฑู๋
หั๋
ห้
อู้
แบบฝึ กหัด
6.ยาลดกรดที่มีขายทั่วไปในตลาดมักมีแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) แมกนีเซียมคาร์บอเนต
(MgCO3) แมกนีเซียมออกไซด์ (MgO) หรือ แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (Mg(OH)2) เป็นส่วนประกอบ
จงเขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึนระหว่างสารประกอบเหล่านีกับ กรดไฮโดรคลอริก
(HCl) และถ้ายาลดกรดเหล่านีมีราคาต่อกรัมเท่ากัน ควรจะเลือกซือ ยาลดกรดชนิดใดจึงจะ
เสียเงินน้อยที่สุด
แบบฝึ กหัด
7.ค้านวณปริมาตรของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 0.10 โมลต่อลิตร ที่ใช้ท้าปฏิกิริยา
พอดีกับสารละลายกรดซัลฟิวริก (H2SO4) 0.040 โมลต่อลิตร ปริมาตร 50 มิลลิลิตร
แบบฝึ กหัด
8.เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 0.10 โมลต่อลิตร ปริมาตร 25.00 มิลลิลิตร ลงใน
สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) 0.10 โมลต่อลิตร ปริมาตร 20.00 มิลลิลิตร สารละลายที่ได้จะ
มี pH เท่าใด
9.KCN เข้มข้น 0.05 โมลต่อลิตร มีค่า pH เท่าใด (HCN มีค่า Ka = 5 𝑥 10−10)

You might also like