You are on page 1of 17

จุดประสงค์

คำนวณค่ำศักย์ไฟฟ้ำมำตรฐำนของเซลล์และระบุประเภทของเซลล์เคมีไฟฟ้ำ ขัว้ ไฟฟ้ำ และปฏิกิรยิ ำที่เกิดขึน้


e-
e-
e- e-
Zn(s) Cu(s)

SO42- SO42-
Zn2+ Cu2+

ควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงขัว้ ไฟฟ้ำที่ทำให้เกิดแรงขับเคลื่อนอิเล็กตรอนไปยังวงจร เรียก แรงเคลื่อนไฟฟ้ำ


(Electromotive force , emf) ค่ำ emf ของเซลล์แทนด้วย 𝐸𝑐𝑒𝑙𝑙 หรือ ศักย์ไฟฟ้ำของเซลล์ (cell potential)
• ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เป็นค่าความแตกต่างระหว่างศักย์ไฟฟ้าของ 2 ครึ่งเซลล์ แต่ไม่สามารถวัดค่า
ศักย์ไฟฟ้าของแต่ละครึ่งเซลล์ได้โดยตรง
• นักวิทยาศาสตร์กาหนดครึ่งเซลล์อ้างอิงเท่ากับ 0 โวลต์ โดยใช้ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยารีดักชันของ
ไฮโดรเจนไอออน (H+) ได้แก๊สไฮโดรเจน (H2) บนขั้วแพลทินัม (Pt) ดังรูป 11.4
เรียกว่า ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน (standard hydrogen half cell) นิยมเรียกกันทั่วไปว่า
ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน (standard hydrogen electrode, SHE)

ค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ขึ้นอยู่กับชนิดของสารที่เกิดปฏิกิริยาและภาวะที่
ทาการวัด ซึ่งได้มีการกาหนดภาวะมาตรฐานสาหรับการวัดคือ ความ
เข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลต์เป็น 1.0 โมลต่อลิตร ความดัน 1
บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
• เมื่อนาครึ่งเซลล์ที่ต้องการทราบศักย์ไฟฟ้าต่อเข้ากับ SHE ที่ภาวะมาตรฐาน โดยต่อขั้วโลหะ
ในครึ่งเซลล์ที่สนใจเข้ากับขั้วบวกของโวลต์มิเตอร์ ค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ที่ได้จะเรียกว่า
ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชัน (standard reduction potential, E0) เช่น
ควำมสำมำรถในกำรออกซิไดส์
พิจารณาตาราง 11.3 และตอบคาถามต่อไปนี้
1. ลาดับความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์จากมากไปน้อยของ Na+, Mg2+, Zn2+, Pb2+, H+,
Cu2+ และ Ag+ เป็นอย่างไร
Ag+ > Cu2+ > H+ > Pb2+ > Zn2+ > Mg2+ > Na+

2. ลาดับความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์จากมากไปน้อยของ Sn, Na, Au, Mg และ Zn เป็นอย่างไร


Na > Mg > Zn > Sn > Au
เมื่อนาสองครึ่งเซลล์ใด ๆ มาต่อกัน สามารถคานวณค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ได้จาก
ผลต่างของค่าศักย์ไฟฟ้ารีดกั ชันที่แคโทด (Ecathode) และแอโนด (Eanode) ดังนี้

ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ = ศักย์ไฟฟ้ารีดกั ชันที่แคโทด – ศักย์ไฟฟ้ารีดักชันที่แอโนด


Ecell = Ecathode – Eanode
ตัวอย่าง 15 คานวณค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานเมื่อจุ่มโลหะอะลูมิเนียม (Al) ลงในสารละลาย
คอปเปอร์(II)ซัลเฟต (CuSO4) ซึ่งเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ดังสมการ
2Al(s) + 3Cu2+(aq) 2Al3+(aq) + 3Cu(s)
วิธีทา จากตาราง 11.3 ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันเป็นดังนี้
Al3+(aq) + 3e- Al(s) E0 = -1.66 V
หรือ 2Al3+(aq) + 6e- 2Al(s) E0 = -1.66 V
Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) E0 = +0.34 V
หรือ 3Cu2+(aq) + 6e- 3Cu(s) E0 = +0.34 V
ข้อสังเกต การคูณสัมประสิทธิ์ในสมการไม่ทาให้ค่า E0 เปลี่ยนแปลง
1. กาหนดแผนภาพเซลล์ให้ดังนี้
Cr(s) | Cr3+(aq) || Sn4+(aq), Sn2+ (aq) | Pt(s)
1.1 จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชันและปฏิกิริยารีดอกซ์
1.2 จงหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์
2. จงหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ต่อไปนี้
2.1 Ni(s) | Ni2+(aq) || Cu+(aq) | Cu(s)

2.2 Fe(s) | Fe2+(aq) || Ag+(aq) | Ag(s)


2. จงหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ต่อไปนี้
2.3 Mg(s) | Mg2+(aq) || Fe3+(aq), Fe2+(aq) | Pt(s)
3. จงหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์จากปฏิกิริยาต่อไปนี้

3.1 Mg(s) + 2Ag+(aq) Mg2+ (aq) + 2Ag(s)

3.2 Zn(s) + Cl2(g) Zn2+(aq) + 2Cl-(aq)


4. ภาชนะที่ทาด้วยเหล็กเหมาะสมที่จะใช้บรรจุสารละลายทิน(II)คลอไรด์ (SnCl2) หรือไม่
เพราะเหตุใด

ไม่ควร เพราะจากค่า E0 Sn2+ (aq) รับอิ เล็ก ตรอนได้ ดี กว่ า Fe2+ (aq) กล่า วคือ โลหะ Fe(s) เสี ย
อิเล็กตรอนได้ง่ายกว่าโลหะ Sn(s) ดังนั้นจึงไม่ควรบรรจุสารละลาย SnCl2 ในภาชนะที่ทาด้วยเหล็ก
เพราะว่า Fe(s) จะเสียอิเล็กตรอนให้แก่ Sn2+(aq) ทาให้ภาชนะเกิดการกรัดกร่อน
5. คำนวณค่ำศักย์ไฟฟ้ำมำตรฐำนของเซลล์ของปฏิกิรยิ ำที่กำหนดให้ และระบุว่ำปฏิกิรยิ ำ
ต่อไปนีเ้ ป็ นปฏิกิรยิ ำที่เกิดขึน้ ได้เองหรือไม่ เพรำะเหตุใด
2Mn2+(aq) + 8H2O(l) + 5Fe2+(aq) 2MnO4-(aq) + 16H+(aq) + 5Fe(s)
6. จงเขียนแผนภาพเซลล์กัลวานิกและหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์จากปฏิกิริยาต่อไปนี้
6.1 2Cr(s) + 3Cl2(g) 2Cr3+(aq) + 6Cl-(aq)

You might also like