You are on page 1of 35

การทดลองที่ 8

ปรากฏการณ์ ซีมาน
(Zeeman Effect)

ใส่ รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับ Adv. Phys. Lab. นั้นๆ

Members Group#1:
นางสาวจุฑามาศ เหล็กเพชร ID: 581031331
นางสาวเกวริ นทร์ ชูบุญ ID: 581031332
นายจิรายุส มุณีพรหม ID: 581031333
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

การทดลองที่ 8
ปรากฏการณ์ ซีมาน
(Zeeman Effect)

คาถามการทดลอง (Questions from Observation)


เมื่ออะตอมวางอยูใ่ นสนามแม่เหล็กจะส่ งผลต่อเส้นสเปกตรัมของอะตอมนั้นอย่างไร

สมมติฐาน (Hypothesis)
ถ้าอะตอมวางอยูใ่ นสนามแม่เหล็กที่มีความเข้มสู งพอ จะเผยให้เห็นเส้นสเปกตรัมย่อยออก
จากเส้นสเปกตรัมเดี่ยว

วัตถุประสงค์ (Objectives)
1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มของสนามแม่เหล็ก กับกระแสไฟฟ้า
2. เพื่อศึกษาการแบ่งแยกของเส้นสเปกตรัม
3. เพื่อคานวณหาค่าโมเมนต์แม่เหล็กของโบร์

ทฤษฎี (Theories)
1. แบบจาลองอะตอมของโบร์

รู ปที่ 1 แบบจาลองอะตอมของโบร์
นี ล โบร์ (Niels Bohr) นักวิทยาศาสตร์ ช าวเดนมาร์ ก ได้ทาการศึ กษาการเกิ ดสเปกตรั มของก๊ า ซ
ไฮโดรเจน และได้ส ร้ า งแบบจาลองอะตอมเพื่ อใช้อธิ บายลัก ษณะการเคลื่ อ นที่ ข องอิ เล็ก ตรอนรอบ ๆ
นิวเคลียสเป็ นวงคล้ายกับวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ แต่ละวงจะมีระดับพลังงานเฉพาะตัว และ

1
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

เรี ย กระดับ พลัง งานของอิ เล็ ก ตรอนที่ อยู่ใ กล้นิวเคลี ย สที่ สุ ด ซึ่ ง มี ระดับ พลัง งานต่ า ที่ สุ ด เรี ย กว่า ระดับ
พลังงาน K และเรี ยกระดับพลังงานถัดออกมาว่า ระดับพลังงาน L,M,N,… ตามลาดับ

เขาศึกษาสเปกตรัมการเปล่งแสงของธาตุ โดยบรรจุแก๊สไฮโดรเจนในหลอดปล่อยประจุ จากนั้นให้


พลังงานเข้าไป อิเล็กตรอนเคลื่ อนจากขั้วบวกไปขั้วลบชนกับแก๊สไฮโดรเจน จากนั้นเปล่งแสงออกมาผ่าน
ปริ ซึมทาให้เราเห็นเป็ นเส้นสเปกตรัมสี ต่าง ๆ ตกบนฉากรับภาพ
สรุ ปได้วา่ การเปล่งแสงของธาตุไฮโดรเจน เกิดจากอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจากวงโคจรสู ง
ไปสู่ วงโคจรต่า พร้อมทั้งคายพลังงานในรู ปแสงสี ต่าง ๆ
นีลส์ โบร์ ได้เสนอแบบจาลองอะตอมขึ้นมา สรุ ปได้ดงั นี้
1. อิเลคตรอนจะอยูก่ นั เป็ นชั้น ๆ แต่ละชั้นเรี ยกว่า “ระดับพลังงาน”
2. แต่ละระดับพลังงานจะมีอิเลคตรอนบรรจุได้ 2n 2

3. อิเลคตรอนที่อยูใ่ นระดับพลังงานวงนอกสุ ดเรี ยกว่า เวเลนซ์อิเลคตรอน (Valent electron) จะเป็ น


อิเลคตรอนที่เกิดปฏิกิริยาต่าง ๆ ได้
4. เมื่ออิเล็กตรอนที่อยูว่ งในสุ ด (n = 1) พลังงานของอะตอมจะมีค่าต่าสุ ด ซึ่ งเรี ยกสภาวะของอะตอม
ที่ ร ะดับ พลัง งานต่ า สุ ด ว่า สถานะพื้ น (ground state) เพราะเป็ นสภาวะที่ อ ะตอมมี เ สถี ย รมากที่ สุ ด ถ้า
อิเล็กตรอนอยูใ่ นระดับ พลังงานสู งกว่าสถานะพื้น (n มีค่าตั้งแต่ 2 ขึ้นไป) เรี ยกสภาวะนี้ ว่า สถานะกระตุน้
(excited state) อะตอมที่ อ ยู่ใ นสถานะ กระตุ ้น พร้ อ มจะกลับ สู่ ส ถานะพื้ น ตลอดเวลาและจะปลดปล่ อย
พลังงานออกมาในรู ปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า และเมื่ออิเล็กตรอน อยู่ในวงโคจรนอกสุ ดคือ n = ∞ แสดงว่า
พลังงาน ของอะตอมจะเป็ นศูนย์ ในกรณี น้ ีอิเล็กตรอนจะไม่ถูกยึดไว้กบั นิวเคลียสอีกต่อไป
5. ระดับพลังงานที่ n =1 และ n = 2 จะอยูห่ ่างกันมากที่สุด ส่ วนระดับพลังงานถัดมาจะอยูช่ ิดกัดมาก
ขึ้นเรื่ อย
6. การเปลี่ ยนระดับพลังงานของอิ เลคตรอน ไม่จาเป็ นต้องเปลี่ ยนในระดับถัดกันอาจเปลี่ ยนข้าม
ระดับพลังงานกันก็ได้

2. ระดับพลังงานควอนตัม
เนื่องจากทฤษฎีอะตอมของโบร์ ใช้ได้ดีกบั อะตอมไฮโดรเจนหรื อไอออนที่มีอิเล็กตรอนตัวเดียว
เท่านั้น เมื่อมีอะตอมของธาตุมีอิเล็กตรอนมากขึ้นจะอาศัยกลศาสตร์ ควอนตัม(quantum mechanics) ซึ่งผู ้
ค้นพบคือ ชเรอดิงเงอร์
เขาพบสมการพื้นฐานที่ใช้บรรยายพฤติกรรมของอิเล็กตรอน
H  E

2
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

เมื่อ H = เฮมิลโตเนียน(Hamiltonian) เป็ นตัวจัดกระทา(operator)


E = พลังงาน
 = ฟังก์ชน ั คลื่น เนื่องจากอิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็ นคลื่น
เราไม่ทราบว่าฟังก์ชนั คลื่นเป็ นบวกหรื อลบ ดังนั้นจึงนาฟังก์ชนั คลื่นมายกกาลังสองเพื่อให้ค่าที่ได้
ออกมาเป็ นบวก เราจึงได้ค่าของการพบอิเล็กตรอนเป็ นบวกหมด แล้วให้นิยามว่า
 2 = โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน ณ บริ เวณต่าง ๆ รอบนิวเคลียส หรื อเรี ยกว่า "ออร์ บิทลั
อะตอม"(atomic orbital)
เมื่อแก้สมการของชเรอดิงเงอร์ จะได้เลขควอนตัม(quantum number) 3 ชนิดคือ
1. เลขควอนตัมหลัก (principal quantum number; n) บอกให้ทราบถึงระดับพลังงาน (shell) ของ
อิเล็กตรอนโดยมีค่าตั้งแต่ n=1 n=2 n=3 n=4 n=5 n=6 และ n=7 …
2. เลขควอนตัม โมเมนตัม เชิ ง มุ ม (angular momentum quantum number, l ) บางครั้ งเรี ยกว่ า
ควอนตัม ออร์ บิ ท ัล (orbital quantum number) ตัว เลขนี้ จะบอกให้ ท ราบถึ ง จ านวนและชนิ ด ของระดับ
พลังงานย่อย (subshell) ทาให้ทราบว่ามีออร์ บิทลั ทั้งหมดกี่ออร์ บิทลั จะเริ่ มจาก 0 สิ้ นสุ ดที่ n-1 หรื อเขียน
ในรู ปสมการว่า ; l = 0 ถึง n – 1
3. เลขควอนตัม แม่ เ หล็ ก (magnetic quantum number, ml ) บอกสมบัติ ใ นการจัด ทิ ศ ทางของ
ออร์ บิทลั เมื่ออยูใ่ นสนามแม่เหล็กค่าของ ml อาจเป็ นลบ ( - ) หรื อ ศูนย์ หรื อเป็ นบวก (+) ก็ได้ โดยทัว่ ไป
จะเขียนว่ามีค่าอยูร่ ะหว่าง -1 , 0 , + 1 และจานวนค่าของ ml = (2l + 1) ค่า
4. เลขควอนตัม สปิ น (spin quantum number, ms) เป็ นการบอกลักษณะการหมุนรอบตัวเองของ
อิเล็กตรอนมี 2 ค่าได้แก่  1 แทนการหมุนรอบตัวเองแบบตามเข็มนาฬิกา และ  1 แทนการหมุนรอบ
2 2
ตัวเองแบบทวนเข็มนาฬิกา

รู ปที่ 2 การหมุนรอบตัวเองพร้อมหมุนรอบนิวเคลียสของอิเล็กตรอน
3
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

ผลสื บ เนื่ องจากการหมุ นของอิ เล็ ก ตรอนก็ คื อ มี โมเมนต์แม่ เหล็ ก ภายในเกิ ดขึ้ นกับ อิ เล็ ก ตรอน
ผลดังกล่าวเป็ นที่คาดกันว่าก็เพราะประจุหมุนเทียบได้กบั กระแสไฟฟ้าไหลในวงจรปิ ดโมเมนต์แม่เหล็(  )
ของระบบประจุหมุนมีความสัมพันธ์กบั โมเมนต์ตมั เชิงมุม โดยที่

 qL

2m q

เมื่อแทน q ด้วย e และแทน mq  me จะได้



 eL

2m e

นาไปประยุกต์ใช้กบั อะตอมไฮโดรเจน จะได้



 eL e
  l (l  1)h  l (l  1)  B
2 me 2me

และ

 eL eh m
z   mh    m B
2me 2me


เราเรี ยกค่า  ว่า Bohr’s Magneton ซึ่ งมีค่า  B  9.27  10 24 J / T  5.79  10 5 eV / T
B

3. ปรากฏการณ์ซีมาน (Zeeman Effect)


ปรากฏการณ์ ซี ม าน เป็ นปรากฏการณ์ อ ย่า งหนึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ วางอะตอมไว้ใ นสนามแม่ เหล็ ก
แล้วเส้นสเปกตรัมแตกแยกออกเป็ นหลายเส้น ซึ่งค้นพบโดยปี เตอร์ ซีมาน ชาวเนเธอร์แลนด์ ถ้าปรากฏการณ์
ซี มานใดไม่มีอิเล็กตรอนสปิ นเข้ามาเกี่ ยวข้องจะเรี ยกว่า ปรากฏการณ์ ซีมานปกติ (Normal Zeeman effect)
ส่ วนปรากฏการณ์ ซีมานที่ มีอิเล็กตรอนสปิ นเข้ามาเกี่ ยวข้องเรี ยกว่า ซี มานไม่ปกติ (Anomalous Zeeman
effect)

4
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

รู ปที่ 3 การแยกออกของเส้นสเปกตรัมในสนามแม่เหล็กและการเปลี่ยนระดับชั้นพลังงานที่เป็ นไปได้

จากรู ปที่ 1 มีการเปลี่ยนระดับพลังงาน 9 เส้น มีเพียง 3 เส้นเท่านั้นที่มีระดับพลังงานและความยาว


คลื่นใกล้เคียงกัน เพราะฉะนั้นจึงสามารถมองเห็นได้เพียง 3 เส้นเท่านั้น เมื่อใส่ สนามแม่เหล็กเข้าไปทาให้
ระดับพลังงานแยกออกเป็ น 2L + 1 ซึ่ งการเปลี่ยนระดับพลังงานนี้จะเป็ นไปตามกฎการเลือก (Section Rule)

M L  1 ; M L  0 ; M L  1

ชุด M L  1 จะให้  -line ซึ่งเป็ นเส้นแสงที่ถูกโพลาไรซ์ในแนวดิ่งตามสนามแม่เหล็ก


ชุ ด M L  0 จะให้  -line ซึ่ งเป็ นเส้ น แสงที่ ถู ก โพลาไรซ์ ใ นแนวขนานกั บ ทิ ศ ทางของ

สนามแม่เหล็ก
ชุด M L  1 จะให้  -line ซึ่งเป็ นเส้นแสงที่ถูกโพลาไรซ์อีกครั้งในแนวดิ่งตามสนามแม่เหล็ก

ในกรณี ที่ไม่มีเครื่ องวิเคราะห์ (Analyser) จะสามารถมองเห็นทั้ง 3 เส้นได้พร้อมกัน วงแหวนแต่ละ


วงที่สังเกตได้ตอนที่ไม่มีสนามแม่เหล็กจะแยกออกเป็ น 3 วงเมื่อให้สนามแม่เหล็กจากภายนอก ถ้าเราใส่
เครื่ องวิเคราะห์ (Analyser) ในแนวตั้งจะสามารถสังเกตเห็ นเฉพาะ  -line 2 เส้น และถ้าเราหมุนเครื่ อง
วิเคราะห์ (Analyser) ไปในแนวนอน  -line ก็จะปรากฏขึ้น (ปรากฏการณ์ ซีมานตามขวาง) จากนั้นหมุน
ขดลวดแม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า ไป 90 องศา จะได้แสงขนานจากหลอดสเปกตรั ม ในทิ ศ ทางของสนามแม่ เ หล็ ก
สามารถใช้ศึกษาได้ ซึ่ งแสงดังกล่ าวจะถู ก โพลาไรซ์ เป็ นรู ปวงแหวน อย่างไรก็ตามตาแหน่ งของเครื่ อง
วิเคราะห์ (Analyser) จะทาให้สามารถมองเห็ นวงแหวนได้ในกรณี ที่ไม่มีสนามแม่เหล็ก ซึ่ งวงแหวนแยก
ออกเป็ น 2 วงอย่างถาวรเมื่อมีสนามแม่เหล็ก (ปรากฏการณ์ซีมานตามยาว) ดังในรู ปที่ 4

5
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

รู ปที่ 4 ปรากฏการณ์ซีมานตามขวางและปรากฏการณ์ซีมานตามยาว

4. อินเตอร์ ฟีโรมิเตอร์ แบบ Frabry-Perot


อินเตอร์ ฟีโรมิเตอร์ แบบ Frabry-Perot เป็ นทัศนู ปกรณ์ชนิ ดหนึ่ งที่อยูบ่ นพื้นฐานของการแทรกสอด
แบบ multiple beam ซึ่งเป็ นการแทรกสอดของลาแสงหลายลา เป็ นการแทรกสอดจากการสะท้อนและหักเห
อินเตอร์ ฟีโร มิเตอร์ แบบ Frabry-Perot มีความละเอียดประมาณ 300,000 หมายความว่า เมื่อความยาวคลื่น
เปลี่ยนไปประมาณ 0.002 nm ก็ยงั สามารถตรวจจับได้

รู ปที่ 5 ลาแสงสะท้อนและลาแสงที่ส่งผ่านกระจก (1) และ (2) ของ etalon ซึ่ งมีระยะห่าง t

Etalon ประกอบด้วยกระจกราบ 2 อันขนานกัน โดยพื้นผิวด้านในเคลือบด้วยชั้นโลหะ เมื่อพิจารณา


การส่ งผ่านรังสี ผา่ นพื้นผิวทั้งสองที่วางห่างกัน t โดยที่รังสี ที่เข้าไปทามุม  กับแนวระดับ ดังแสดงในรู ปที่ 5
ทา ให้รังสี แยกออกเป็ น AB, CD, EF ฯลฯ โดยระยะห่างของหน้าคลื่นที่ติดกัน (เช่น AB กับ CD) หาได้จาก
  BC  CK

โดยที่ CK  BC cos 2 และ BC cos  t

6
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

จะได้
  BC  BC cos 2
  BC (1  cos 2 )
  2 BC cos2  )
  2t cos

สาหรับการแทรกสอดแบบเสริ ม (constructive interference) จะเกิดขึ้นเมื่อความต่างเดินของแสง


ต่างกันมีค่าเป็ นจานวนเท่าของความยาวคลื่น

n  2t cos

เมื่อวัสดุระหว่างแผ่นระนาบ คือ อากาศ จะมีดชั นี =1 จะได้

n  2t cos ; n คือ จานวนเต็ม

ถ้าดัชนีหกั เหของตัวกลาง (  ) ไม่เท่ากับ 1 สมการจะเปลี่ยนไปเป็ น

n  2t cos … (1)

สมการที่ (1) เป็ นสมการพื้นฐานของการแทรกสอด


Frabry-Perot

รู ปที่ 5 การรวมแสงที่ออกมาจาก Frabry-Perot etalon โดยแสงที่เข้าไปทามุม  ถูกรวมไปยังวงแหวนที่มี


รัศมี r  f โดยที่ f คือ ความยาวโฟกัสของเลนส์

เมื่อแทนค่า θ ลงในสมการที่ (1) แถบสว่างของวงแหวนก็จะปรากฏขึ้นบนฉาก ซึ่ งสามารถหารัศมีได้จาก

rn  f tan n  fn … (2)

เมื่อ  n มีค่าน้อย ๆ
2t
n cos n n0 cos 0

7
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

n
 n0 (1  2 sin 2 )
2

และ 2t
n0 

จะได้

 2n
n  n0 (1  )
2

หรื อ
2( n 0  n )
n  … (3)
n0

เมื่อ  n สอดคล้องกับเส้นขอบของแถบสว่าง และ n เป็ นจานวนเต็ม

ถ้า n0 แสดงถึงการแทรกสอดบริ เวณตรงกลางของวงแหวน ( cos  1 หรื อ   0 ) แล้ว n1 เป็ นอันดับ


ของการแทรกสอดของวงแหวนวงที่ 1 โดย n < n0 จะได้ n1  n0 cos n
1 1

ให้ n1  n0   ;0   1

ถ้า n1 เข้าใกล้ n0 จะได้

n p  (n0   )  ( p  1) … (4)

เมื่อรวมสมการที่ (2) (3) และ (4) เข้าด้วยกันจะได้

rp 
2f 2
 ( p  1)   … (5)
n0

ระยะห่างระหว่างวงแหวนสองวงเป็ นค่าคงที่สามารถหาได้จาก

2f 2
r 2 p 1  r 2 p  … (6)
n0

ในกรณี ที่เส้นสเปกตรัม 1 เส้น ถูกแยกออกเป็ น 2 วง ที่มีความยาวคลื่นเป็ น  a และ b ซึ่งมีขนาดใกล้เคียง


กัน

8
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

2t 
a   n1,a  2tva  n1,a
a

2t 
b   n1,b  2tvb  n1,b
b

เมื่อ n1,a และ n1,b คือ อันดับของการแทรกสอดของวงแหวนวงแรก ถ้าวงแหวนไม่มีการซ้อนทับกันทา


ให้ n1,a = n1,b และผลต่างของเลขคลื่น (wave number) ของวงแหวน 2 วง คือ

     b
v  v a  vb  a … (7)
2t

แทนค่าสมการ (5) และ (6) จะได้

r 2 p 1,a
 p  a
r 2 p 1,a  r 2 p ,a

และ

r 2 p 1,b
 p  b
r 2 p 1,b  r 2 p ,b

จากนั้นแทนค่า  a และ  b ลงในสมการที่ (7) จะได้

 1 r 2 p 1,a r 2 p 1,b
v  ( 2  ) … (9)
2t r p 1,a  r 2 p ,a r 2 p 1,b  r 2 p ,b

จากสมการที่ (6) จะได้ผลต่างกาลังสองวงแหวน a และ b ดังนี้

p 1, p 2f 2
 a r 2
p 1, a r 2
p ,a 
n0 , a

2f 2
 pb1, p  r 2 p 1,b  r 2 p ,b 
n 0 ,b

ให้ pa1, p  pb1, p

เมื่อไม่คิด p และให้  แทน ผลต่างของค่า  และให้ค่า   0 จะได้


 1 
v  …(10)
2t 

9
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

โดยที่ 
1 2 2 p , 2 p 1
a  2bp  2 p 1 …(11)
4 p 1

และ 
1 4 p
  a ,b …(12)
4 p 1

และระยะห่างของระนาบกระจก etalon = 3  10 m 3

อุปกรณ์ การทดลอง (Apparatus)


1. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์สเปกตรัมของแสง
2. หลอดแคดเมียม
3. แม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่มีข้ วั
4. แกนสาหรับรองรับขดลวดของสนามแม่เหล็ก
5. โต๊ะหมุนสาหรับวางขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า
6. แหล่งจ่ายไฟให้หลอดสเปกตรัม
7. หม้อแปลงไฟฟ้า *Var. = Variable
8. ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโทรไลต์ ความจุ 22000 ไมโครฟารัต
9. มัลติมิเตอร์แบบดิจิตอล
10. รางโลหะสาหรับวางชุดสาหรับการทดลอง
11. ฐานวางเลนส์
12. ตัวยึดสไลด์แบบปรับได้
13. ตัวยึดจับกับราง สู ง 30 mm
14. ตัวยึดจับกับราง สู ง 80 mm
15. ตัวยึดเลนส์
16. เลนส์พร้อมฐานวาง f = +50 mm
17. เลนส์พร้อมฐานวาง f = +300 mm
18. ไอริ สไดอะแกรม
19. แผ่นโพลารอยด์
20. ตัวอย่างของโพลาไรซ์เซซัน่ ชนิดไมกา
21. ฉากพร้อมสเกลอย่างละเอียด
22. ที่ยดึ จาน
23. Swinging arm
24. ตัววัดระดับน้ า
25. สายเชื่อมขั้วไฟฟ้าสี แดง (+)
10
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

26. สายเชื่อมขั้วไฟฟ้าสี น้ าเงิน (-)

วิธีการและขั้นตอนการทดลอง (Procedures and Methodologies)


การติดตั้งอุปกรณ์
1. วางขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้ าบนโต๊ะหมุนยึดติดโดยใช้ข้ วั แม่เหล็ก (pole-shoes) โดยเว้นระยะห่ างไว้
9 mm สาหรั บวางหลอดแคดเมี ยม จะต้องติ ดขั้วแม่เหล็ก (pole-shoes) ให้แน่ นจนไม่สามารถขยับได้เมื่ อ
สร้างฟลักซ์แม่เหล็กขึ้น
2. ใส่ ห ลอดแคดเมี ย มเข้า ไปในช่ อ งว่า งระวัง ไม่ ใ ห้ สั ม ผัส กับ ขั้ว แม่ เ หล็ ก (pole-shoes) และต่ อ
แหล่งจ่าย ไฟเข้ากับหลอดแคดเมียม โดยที่ขดลวดของแม่เหล็กไฟฟ้าถูกต่อเข้าด้วยกันแบบขนาน จากนั้นต่อ
แอมมิเตอร์ เข้ากับแหล่งจ่ายไฟ 20VDC, 12A และต่อตัวเก็บประจุขนานกับเอ้าต์พุต เพื่อให้ได้กระแสตรงที่
เรี ยบยิง่ ขึ้น
3. วางอุปกรณ์บนรางโลหะ ตามลาดับในรู ปที่ 6
(63) L3 = +50 mm
(57.5) Screen with scale
(38.5) Analyser
(24.5) L2 = +300 mm
(16.5) Fabry-Perot Etalon
(9) L1 = +50 mm
(4) Iris diaphragm
(0) Drilled pole-shoes
CD-spectral lamp
Rotating table

รู ปที่ 6 แสดงส่ วนประกอบต่าง ๆ บนรางโลหะ

11
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

4. ใช้หลอดแคดเมียมเป็ นแหล่งกาเนิ ดแสง จะมีเลนส์ L1 และกระจกเงา ถู กรวมกันอยูใ่ น etalon


ทาให้เกิดลาแสงที่เกือบขนานเพื่อให้เกิดการแทรกสอดที่สมบูรณ์ และ etalon จะประกอบไปด้วยแผ่นกรอง
แสงสี แดง ทาให้ได้เส้นแสงสี แดงที่มีความยาวคลื่น 643.8 nm และเลนส์ L จะทาหน้าที่ขยายการแทรกสอด
2

ทาให้เกิ ดเป็ นรู ปวงแหวนขึ้นบนฉากที่มีสเกลแบบละเอียด 1/100 mm โดยสามารถสังเกตวงแหวนได้ผา่ น


เลนส์ L3
ขั้นตอนการทดลอง

ตอนที่ 1 ตรวจวัดค่าสนามแม่เหล็ก

รู ปที่ 7 ชุดการทดลองปรากฏการณ์ซีมาน

1. ติดตั้งอุปกรณ์ดงั รู ปที่ 7
2. ปรับกระแสไฟฟ้าไปที่ 0 A แล้วใช้เทสลามิเตอร์ วดั สนามแม่เหล็ก
3. ทาเหมือนข้อ 2 แต่เปลี่ยนกระแสไฟฟ้าเป็ น 1, 2, 3 และ 4 A ตามลาดับ
4. บันทึกค่าสนามแม่เหล็กที่ได้ในตารางที่ 1
5. เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มของสนามแม่เหล็ก (B) กับกระแสไฟฟ้า (I )

ตอนที่ 2 หาค่า Bohr’s Magneton


1. ติดตั้งอุปกรณ์ดงั รู ปที่ 6
2. จากอุ ป กรณ์ ที่ ไ ด้ ติ ด ตั้ง ไว้ใ นตอนแรก ปรั บ โต๊ ะ หมุ น ให้ สู ง จากโต๊ ะ 16 cm ปรั บ ขดลวด
แม่เหล็กไฟฟ้ า ให้อยู่ตามแนวนอนแล้วติ ดตั้ง อุ ปกรณ์ ท้ งั หมดบนราง จากนั้นก็เลื่ อนรางไปใกล้ข ดลวด
แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ขยับ จนรู ของขั้ว แม่ เ หล็ ก (pole-shoes) ตรงกับ ต าแหน่ ง ของไอริ สไดอะแฟรมพอดี
และรู ดัง กล่ า วอยู่ร ะยะความยาวโฟกัส ของเลนส์ L ส่ ว นองค์ป ระกอบอื่ น ๆ ค่ อ ยปรั บ ที ห ลัง เพื่ อ ให้
1

สอดคล้องกัน

12
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

3. จ่ายกระแสเข้าลวด 0 A สามารถสังเกตวงแหวนที่เกิดขึ้นได้ผา่ นเลนส์ L3 โดยวงแหวนดังกล่าว


จะต้องอยูต่ รงกลางและปรับให้คมชัดที่สุดด้วยการเลื่อน etalon ไปทางซ้ายหรื อขวา หรื อขยับเลนส์ L ใน 2

แนวตั้งหรื อแนวนอน สุ ดท้ายเลื่ อนฉากแบบสเกลละเอี ยดให้สเกล 0 ตรงกับจุ ดศู นย์กลางของแถบสว่าง


ภายใน วงแหวนพอดี ซึ่ งสเกลบนฉากสามารถขยับไปในแนวนอนตามเส้นผ่านศูนย์กลางของวงแหวน
4. วัดตาแหน่ ง กึ่ ง กลาง ( x0 ) ตาแหน่ ง วงใน ( xa ) และตาแหน่ ง วงนอก ( xb ) ของแต่ ล ะวงแหวน
บันทึก ค่าลงในตารางที่ 2 (ควรวัดหลาย ๆ ครั้งแล้วนามาหาค่าเฉลี่ย)
5. ทาเหมือนข้อ 3 และข้อ 4 แต่เปลี่ยนกระแสไฟฟ้าเป็ น 1, 2, 3 และ 4
6. นาค่า x 0 , x a และ xb จากตารางที่ 2 มาคานวณหาค่า ra และ rb บันทึกในตารางที่ 3
7. นาค่าที่ได้จากข้อที่ 6 มาคานวณหาค่าผลต่างกาลังสองของรัศมี pa1, p , pb1, p และ  a,n b บันทึก
ในตารางที่ 3
8. นาค่าที่ได้จากข้อที่ 7 มาคานวณหาค่าเฉลี่ยผลต่างกาลังสองของรัศมี  และ 
9. นาค่าที่ได้จากข้อที่ 8 มาคานวณหาค่าผลต่างของเลขคลื่น ( v )
10. นาค่าที่ได้จากข้อที่ 9 มาคานวณหาค่า Borh’s Magneton แล้วหาเปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื่ อน
เมื่อเทียบกับทฤษฎี

 v
11. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มของสนามแม่เหล็ก (B) กับค่าเลขคลื่น ( )
2

13
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

ผลการทดลอง (Experimental Results)

ตารางที่ 1 ค่ าสนามแม่ เหล็กทีว่ ดั ได้ จากเทสลามิเตอร์


ครั้งที่ กระแสไฟฟ้ า (A) ค่ าสนามแม่ เหล็ก (mT)
1 0 0
2 0 0
3 0 0
เฉลี่ย 0 0
1 1 195
2 1 198
3 0.99 198
เฉลี่ย 0.997 197
1 2 393
2 2.01 396
3 2.01 399
เฉลี่ย 2.007 396
1 3 590
2 3 586
3 3.01 589
เฉลี่ย 3.003 588.33
1 4.01 770
2 4 769
3 4 767
เฉลี่ย 4.003 768.67

14
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

กราฟแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างความเข้ มของสนามแม่ เหล็ก (B) กับกระแสไฟฟ้ า (I)


900

800

700
ความเข้ มสนามแม่ เหล็ก (mT)

600

500

400

300

200

100

0
0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 4.5

กระแสไฟฟ้ า (A)

15
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

ภาพแสดงการแบ่ งแยกสเปกตรัม

รู ป 1 กระแสไฟฟ้ า 0.00 A รู ป 2 กระแสไฟฟ้ า 0.997 A

รู ป 3 กระแสไฟฟ้ า 2.007 A รู ป 4 กระแสไฟฟ้ า 3.003 A

รู ป 5 กระแสไฟฟ้ า 4.003 A

16
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

ตารางที่ 2 บันทึกตาแหน่ งวงใน ( xa ) และ ตาแหน่ งวงนอก ( xb ) ของแต่ ละวงแหวน

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลีย่


วงที่ 𝑿𝒂 𝑿𝒃 𝑿𝒂 𝑿𝒃 𝑿𝒂 𝑿𝒃 𝑿𝒂 𝑿𝒃
(𝒎𝒎) (𝒎𝒎) (𝒎𝒎) (𝒎𝒎) (𝒎𝒎) (𝒎𝒎) (𝒎𝒎) (𝒎𝒎)
กระแสไฟฟ้ า 0 A
1
ไม่สามารถวัดค่า Xa และ Xb ได้ เนื่องจากไม่มีสนามแม่เหล็กมาเผยระดับชั้น
2
พลังงานย่อยที่ซ่อนอยู่ จึงทาให้มองไม่เห็นเส้นสเปกตรัมย่อย
3
กระแสไฟฟ้ า 1.00 A
1 ไม่สามารถวัดค่า Xa และ Xb ได้ เพราะสนามแม่เหล็กมีความเข้มไม่มากพอที่จะเผยระดับชั้น
2 พลังงานย่อยที่ซ่อนอยูใ่ ห้ชดั เจน จึงทาให้ไม่สามารถสังเกตเห็นเส้นสเปกตรัมย่อยที่เกิดขึ้น
3 ได้
กระแสไฟฟ้ า 2.00 A
1 4.00 5.50 3.80 5.00 3.90 5.10 3.90 5.20
2 7.10 8.00 6.80 7.90 6.70 7.70 6.87 7.87
3 8.40 9.00 8.30 8.90 8.60 9.20 8.43 9.03
กระแสไฟฟ้ า 3.00 A
1 3.80 5.50 3.70 5.40 3.90 5.60 3.80 5.50
2 6.50 7.80 6.60 7.90 6.40 7.70 6.50 7.80
3 8.50 9.40 8.30 9.20 8.40 9.30 8.40 9.30
กระแสไฟฟ้ า 4.00 A
1 3.70 5.60 3.80 5.70 3.90 5.90 3.80 5.73
2 6.50 7.90 6.60 8.00 6.40 7.80 6.50 7.90
3 8.50 9.50 8.70 9.60 8.60 9.50 8.60 9.53

17
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

ตารางที่ 3 ค่ า ra , rb ทีไ่ ด้ จากการคานวณ

𝒓𝒂 𝒓𝒃
วงที่ (mm) (mm)
กระแสไฟฟ้ า 0 A
1 ไม่สามารถคานวณได้ เนื่องจากไม่สามารถวัดค่า Xa และ Xb
2 ได้ เนื่องจากไม่มีสนามแม่เหล็กมาเผยระดับชั้นพลังงานย่อย
3 ที่ซ่อนอยู่ จึงทาให้มองไม่เห็นเส้นสเปกตรัมย่อย
กระแสไฟฟ้ า 1.00 A
1
2 ไม่สามารถคานวณได้ เนื่องจากไม่สามารถวัดค่า Xa และ Xb
3 ได้ เพราะสนามแม่เหล็กมีความเข้มไม่มากพอที่จะเผย
ระดับชั้นพลังงานย่อยที่ซ่อนอยูใ่ ห้ชดั เจน จึงทาให้ไม่สามารถ
สังเกตเห็นเส้นสเปกตรัมย่อยที่เกิดขึ้นได้
กระแสไฟฟ้ า 2.00 A
1 3.90 5.20
2 6.87 7.87
3 8.43 9.03
กระแสไฟฟ้ า 3.00 A
1 3.80 5.50
2 6.50 7.80
3 8.40 9.30
กระแสไฟฟ้ า 4.00 A
1 3.80 5.73
2 6.50 7.90
3 8.60 9.53

18
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

ตารางที่ 4 ค่ า 𝒑+𝟏,𝒑
𝜟𝒂
𝒑+𝟏,𝒑
, 𝜟𝒃 และ 𝜹𝒏𝒂,𝒃
𝒑+𝟏,𝒑
𝜟𝒂
𝒑+𝟏,𝒑
𝜟𝒃 𝜹𝒏𝒂,𝒃
วงที่ (𝒎𝒎𝟐 )
(𝒎𝒎𝟐 ) (𝒎𝒎𝟐 )
กระแสไฟฟ้ า 0 A
1 ไม่สามารถคานวณได้ เนื่องจากไม่สามารถวัดค่า Xa และ Xb ได้ เนื่องจากไม่มี
2 สนามแม่เหล็กมาเผยระดับชั้นพลังงานย่อยที่ซ่อนอยู่ จึงทาให้มองไม่เห็นเส้นสเปกตรัม
3 ย่อย
กระแสไฟฟ้ า 1.00 A
1 ไม่สามารถคานวณได้ เนื่องจากไม่สามารถวัดค่า Xa และ Xb ได้ เพราะสนามแม่เหล็กมี
2 ความเข้มไม่มากพอที่จะเผยระดับชั้นพลังงานย่อยที่ซ่อนอยูใ่ ห้ชดั เจน จึงทาให้ไม่
3 สามารถสังเกตเห็นเส้นสเปกตรัมย่อยที่เกิดขึ้นได้
กระแสไฟฟ้ า 2.00 A
1 31.99 34.90 11.83
2 23.87 19.60 14.74
3 - - 10.48
กระแสไฟฟ้ า 3.00 A
1 27.81 30.59 15.81
2 28.31 25.65 18.59
3 - - 15.93
กระแสไฟฟ้ า 4.00 A
1 27.81 29.58 18.39
2 31.71 28.41 20.16
3 - - 16.86

19
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

ตารางที่ 5 ค่ าผลต่ างกาลังสองของรัศมี  และ  เลขคลื่น ( v ) Borh’s Magneton


I △ 𝜹 ⃑
𝜟𝒗 ⃑ /𝟐
𝜟𝒗
(A) (𝑚𝑚2 ) (𝑚𝑚2 ) −𝟏
(𝒎 ) (𝒎−𝟏 )

ไม่สามารถคานวณได้ เนื่องจากไม่สามารถวัดค่า Xa และ Xb ได้ เนื่องจากไม่มี


0 สนามแม่เหล็กมาเผยระดับชั้นพลังงานย่อยที่ซ่อนอยู่ จึงทาให้มองไม่เห็นเส้นสเปกตรัม
ย่อย
ไม่สามารถคานวณได้ เนื่องจากไม่สามารถวัดค่า Xa และ Xb ได้ เพราะสนามแม่เหล็กมี
1.00 ความเข้มไม่มากพอที่จะเผยระดับชั้นพลังงานย่อยที่ซ่อนอยูใ่ ห้ชดั เจน จึงทาให้ไม่สามารถ
สังเกตเห็นเส้นสเปกตรัมย่อยที่เกิดขึ้นได้
2.00 27.59 12.35 74.60 37.30
3.00 28.09 16.78 99.56 49.78
4.00 29.38 18.47 104.78 52.39

การคานวณผล
เมื่อ r1,a คือ รัศมีภายในของวงที่ 1
r2,a คือ รัศมีภายในของวงที่ 2
r3,a คือ รัศมีภายในของวงที่ 3
r1,b คือ รัศมีภายนอกของวงที่ 1
r2,b คือ รัศมีภายนอกของวงที่ 2
r3,b คือ รัศมีภายนอกของวงที่ 3

 หาค่ า 𝒓𝒂และ 𝒓𝒃
 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 2.00 A
o รัศมีวงใน (𝑟𝑎 ) = |ตาแหน่งกึ่งกลาง (𝑥0)- ตาแหน่งวงใน(𝑥𝑎 ) |

(𝑟1,𝑎 ) = |𝑥0 - 𝑥1,𝑎 |


= |0 mm - 3.90 mm|
= 3.90 mm
(𝑟2,𝑎 ) = |𝑥0 - 𝑥2,𝑎 |
= |0 mm – 6.87 mm|
= 6.87 mm
20
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

(𝑟3,𝑎 ) = |𝑥0 - 𝑥3,𝑎 |


= |0 mm – 8.43 mm|
= 8.43 mm
o รัศมีวงนอก (𝑟𝑏 ) = |ตาแหน่งกึ่งกลาง (𝑥0)- ตาแหน่งวงนอก(𝑥𝑏 )|
(𝑟1,𝑏 ) = |𝑥0 - 𝑥1,𝑏 |
= |0 mm – 5.20 mm|
= 5.20 mm
(𝑟2,𝑏 ) = |𝑥0 - 𝑥2,𝑏 |
= |0 mm – 7.87 mm|
= 7.87 mm
(𝑟3,𝑏 ) = |𝑥0 - 𝑥3,𝑏 |
= |0 mm – 9.03 mm|
= 9.03 mm

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 3.00 A


o รัศมีวงใน (𝑟𝑎 ) = |ตาแหน่งกึ่งกลาง (𝑥0)- ตาแหน่งวงใน(𝑥𝑎 ) |
(𝑟1,𝑎 ) = |𝑥0 - 𝑥1,𝑎 |
= |0 mm – 3.80 mm|
= 3.80 mm
(𝑟2,𝑎 ) = |𝑥0 - 𝑥2,𝑎 |
= |0 mm – 6.50 mm|
= 6.50 mm
(𝑟3,𝑎 ) = |𝑥0 - 𝑥3,𝑎 |
= |0 mm – 8.40 mm|
= 8.40 mm
o รัศมีวงนอก (𝑟𝑏 ) = |ตาแหน่งกึ่งกลาง (𝑥0)- ตาแหน่งวงนอก(𝑥𝑏 ) |
(𝑟1,𝑏 ) = |𝑥0 - 𝑥1,𝑏 |
= |0 mm – 5.50 mm|
= 5.50 mm

21
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

(𝑟2,𝑏 ) = |𝑥0 - 𝑥2,𝑏 |


= |0 mm – 7.80 mm|
= 7.80 mm
(𝑟3,𝑏 ) = |𝑥0 - 𝑥3,𝑏 |
= |0 mm –9.30 mm|
= 9.30 mm

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 4.00 A


o รัศมีวงใน (𝑟𝑎 ) = |ตาแหน่งกึ่งกลาง (𝑥0)- ตาแหน่งวงนอก(𝑥𝑎 ) |
(𝑟1,𝑎 ) = |𝑥0 - 𝑥1,𝑎 |
= |0 mm – 3.80 mm|
= 3.80 mm
(𝑟2,𝑎 ) = |𝑥0 - 𝑥2,𝑎 |
= |0 mm – 6.50 mm|
= 6.50 mm
(𝑟3,𝑎 ) = |𝑥0 - 𝑥3,𝑎 |
= |0 mm – 8.60 mm|
= 8.60 mm
o รัศมีวงนอก (𝑟𝑏 ) = |ตาแหน่งกึ่งกลาง (𝑥0)- ตาแหน่งวงนอก(𝑥𝑏 ) |
(𝑟1,𝑏 ) = |𝑥0 - 𝑥1,𝑏 |
= |0 mm – 5.73 mm|
= 5.73 mm

(𝑟2,𝑏 ) = |𝑥0 - 𝑥2,𝑏 |


= |0 mm – 7.90 mm|
= 7.90 mm
(𝑟3,𝑏 ) = |𝑥0 - 𝑥3,𝑏 |
= |0 mm – 9.53 mm|
= 9.53 mm

22
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

 หา △𝒂
𝒑+𝟏,𝒑

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 2.00 A


o ที่ p=1
△2,1
𝑎
2
= 𝑟2,𝑎 2
− 𝑟1,𝑎
= (6.87𝑚𝑚)2 − (3.90𝑚𝑚)2
= 31.99 𝑚𝑚2
o ที่ p=2
△3,2
𝑎
2
= 𝑟3,𝑎 2
− 𝑟2,𝑎
= (8.43 𝑚𝑚)2 − (6.87 𝑚𝑚)2
= 23.87 𝑚𝑚2

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 3.00 A


o ที่ p=1
△2,1
𝑎
2
= 𝑟2,𝑎 2
− 𝑟1,𝑎
= (6.50𝑚𝑚)2 − (3.80 𝑚𝑚)2
= 27.81 𝑚𝑚2
o ที่ p=2
△3,2
𝑎
2
= 𝑟3,𝑎 2
− 𝑟2,𝑎
= (8.40 𝑚𝑚)2 − (6.50 𝑚𝑚)2
= 28.31 𝑚𝑚2

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 4.00 A


o ที่ p=1
△2,1
𝑎
2
= 𝑟2,𝑎 2
− 𝑟1,𝑎
= (6.50 𝑚𝑚)2 − (3.80 𝑚𝑚)2
= 27.81 𝑚𝑚2
o ที่ p=2
△3,2
𝑎
2
= 𝑟3,𝑎 2
− 𝑟2,𝑎
= (8.60 𝑚𝑚)2 − (6.50 𝑚𝑚)2

23
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

= 31.71 𝑚𝑚2

 หา 𝜟𝒑+𝟏,𝒑
𝒃

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 2.00 A


o ที่ p=1
△2,1
𝑏
2
= 𝑟2,𝑏 2
− 𝑟1,𝑏
= (7.87)2 − (5.20)2
= 34.90 𝑚𝑚2
o ที่ p=2
△3,2
𝑏
2
= 𝑟3,𝑏 2
− 𝑟2,𝑏
= (9.03)2 − (7.87)2
= 19.60 𝑚𝑚2

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 3.00 A


o ที่ p=1
△2,1
𝑏
2
= 𝑟2,𝑏 2
− 𝑟1,𝑏
= (7.80)2 − (5.50)2
= 30.59 𝑚𝑚2
o ที่ p=2
△3,2
𝑏
2
= 𝑟3,𝑏 2
− 𝑟2,𝑏
= (9.30)2 − (7.80)2
= 25.65 𝑚𝑚2

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 4.00 A


o ที่ p=1
△2,1
𝑏
2
= 𝑟2,𝑏 2
− 𝑟1,𝑏
= (7.90)2 − (5.73)2
= 29.58 𝑚𝑚2
o ที่ p=2
△3,2
𝑏
2
= 𝑟3,𝑏 2
− 𝑟2,𝑏
= (9.53)2 − (7.90)2

24
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

= 28.41 𝑚𝑚2

 ค่ า 𝛅𝐧𝐚,𝐛
จากสมการ 𝛿 𝑛𝑎,𝑏 = | 𝑟𝑝+1,𝑎
2 2
− 𝑟𝑝+1,𝑏 |

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 2.00 A


1 2 2
𝛿𝑎,𝑏 = | 𝑟1,𝑎 − 𝑟1,𝑏 |
= |(3.90 𝑚𝑚)2 − (5.20 𝑚𝑚)2 |

= 11.83 𝑚𝑚2
2 2 2
𝛿𝑎,𝑏 = | 𝑟2,𝑎 − 𝑟2,𝑏 |
= |(6.87 𝑚𝑚)2 − (7.87 𝑚𝑚)2 |

= 14.74 𝑚𝑚2
3 2 2
𝛿𝑎,𝑏 = | 𝑟3,𝑎 − 𝑟3,𝑏 |
= |(8.43 𝑚𝑚)2 − (9.03 𝑚𝑚)2 |

= 10.48 𝑚𝑚2

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 3.00 A


1 2 2
𝛿𝑎,𝑏 = | 𝑟1,𝑎 − 𝑟1,𝑏 |
= |(3.80 𝑚𝑚)2 − (5.50 𝑚𝑚)2 |

= 15.81 𝑚𝑚2
2 2 2
𝛿𝑎,𝑏 = | 𝑟2,𝑎 − 𝑟2,𝑏 |
= |(6.50 𝑚𝑚)2 − (7.80 𝑚𝑚)2 |

= 18.59 𝑚𝑚2
3 2 2
𝛿𝑎,𝑏 = | 𝑟3,𝑎 − 𝑟3,𝑏 |
= |(8.40 𝑚𝑚)2 − (9.30 𝑚𝑚)2 |

= 15.93 𝑚𝑚2

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 4.00 A


1 2 2
𝛿𝑎,𝑏 = | 𝑟1,𝑎 − 𝑟1,𝑏 |

25
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

= |(3.80 𝑚𝑚)2 − (5.73 𝑚𝑚)2 |

= 18.39 𝑚𝑚2

2 2 2
𝛿𝑎,𝑏 = | 𝑟2,𝑎 − 𝑟2,𝑏 |
= |(6.50 𝑚𝑚)2 − (7.90 𝑚𝑚)2 |

= 20.16 𝑚𝑚2

3 2 2
𝛿𝑎,𝑏 = | 𝑟3,𝑎 − 𝑟3,𝑏 |
= |(8.60 𝑚𝑚)2 − (9.53 𝑚𝑚)2 |

= 16.86 𝑚𝑚2

 หา 𝜟

1 2𝑝,2𝑝−1
จาก 𝛥 = ∑2𝑝=1(∆𝑎 2𝑝,2𝑝−1 + 𝛥𝑏
4
)
 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 2.00 A
1
𝛥 = 4 (𝛥2,1 2,1 3,2 3,2
𝑎 + 𝛥𝑏 + 𝛥𝑎 + 𝛥𝑏 )
1
= 4
(31.99 + 34.90 + 23.87 + 19.60)
= 27.59 𝑚𝑚2

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 3.00 A


1
𝛥 = 4 (𝛥2,1 2,1 3,2 3,2
𝑎 + 𝛥𝑏 + 𝛥𝑎 + 𝛥𝑏 )
1
= 4
(27.81 + 30.59 + 28.31 + 25.65)
= 28.09 𝑚𝑚2

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 4.00 A


1
𝛥 = 4 (𝛥2,1 2,1 3,2 3,2
𝑎 + 𝛥𝑏 + 𝛥𝑎 + 𝛥𝑏 )
1
= 4
(27.81 + 29.58 + 31.71 + 28.41)
= 29.38 𝑚𝑚2

 หาค่ า 𝜹
จาก 1 𝑝
𝛿 = 3 ∑3𝑝=1 𝛿𝑎,𝑏

26
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 2.00 A


𝛿 = 13 (𝛿𝑎,𝑏
1 2
+ 𝛿𝑎,𝑏 3
+ 𝛿𝑎,𝑏 )
= 3 (11.83 + 14.74 + 10.48)
1

= 12.35 𝑚𝑚2

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 3.00 A


𝛿 = 13 (𝛿𝑎,𝑏
1 2
+ 𝛿𝑎,𝑏 3
+ 𝛿𝑎,𝑏 )
= 13 (15.81 + 18.59 + 15.93)
= 16.78 𝑚𝑚2

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 4 .00A


𝛿 = 13 (𝛿𝑎,𝑏
1 2
+ 𝛿𝑎,𝑏 3
+ 𝛿𝑎,𝑏 )
= 13 (18.39 + 20.16 + 16.86)
= 18.47 𝑚𝑚2

 หา 𝜟𝒗

1 𝛿
จาก 𝛥𝑣 =
2𝑡 𝛥
 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 2.00 A
1 12.35 𝑚𝑚2
𝛥𝑣 =
2×3×10−3 𝑚−1 27.59 𝑚𝑚2

𝛥𝑣 = 74.60 𝑚−1

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 3.00 A


1 16.78 𝑚𝑚2
𝛥𝑣 =
2×3×10−3 𝑚−1 28.09 𝑚𝑚2

𝛥𝑣 = 99.56 𝑚−1

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 4.00 A


1 18.47 𝑚𝑚2
𝛥𝑣 =
2×3×10−3 𝑚−1 29.38 𝑚𝑚2

𝛥𝑣 = 104.78 𝑚−1

27
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟


𝜟𝒗
 หาค่ า
𝟐
 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 2.00 A
𝛥𝑣 74.60 𝑚−1
=
2 2

= 37.30 𝑚−1

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 3.00 A


𝛥𝑣 99.56 𝑚−1
=
2 2
= 49.78 𝑚−1

 เมื่อจ่ ายกระแสไฟฟ้ า 4.00 A


𝛥𝑣 104.78 𝑚−1
=
2 2

= 52.39 𝑚
−1

28
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเลขคลืน่ กับความเข้ มของสนามแม่เหล็ก


60
y = 0.0408x + 22.673
50

40
เลขคลื่น (1/m)

30

20

10

0
0 100 200 300 400 500 600 700 800 900

สนามแม่ เหล็ก (mT)

จากสมการของกราฟ
y = 0.0408x + 22.673
1
Slope = 0.0408
𝑚.𝑇

 หา 𝝁𝑩
𝛥𝑣/2
 จาก 𝜇𝐵 = ℎ𝑐
𝐵

𝜇𝐵 = ℎ𝑐 × 𝑆𝑙𝑜𝑝𝑒
1
𝜇𝐵 = 6.626 × 10−34 × 3 × 108 × 0.0408 ×
10−3

𝜇𝐵 = 8.11 x 10-24 𝐽/𝑇

 หาค่ าความคลาดเคลื่อน
𝜇𝐵,𝑒𝑥𝑝 −𝜇𝐵,𝑠 𝑡𝑎𝑛 𝑑
 เปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อน =| | × 100
𝜇𝐵,𝑠 𝑡𝑎𝑛 𝑑

(8.11×10-24 )−(9.27×10−24 )
=| (9.27×10−24 )
| ×100
= 12.51

29
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

วิเคราะห์ และอภิปรายผลการทดลอง (Analysis and Discussions)

จากการปฏิ บ ัติ ก ารทดลองเรื่ องปรากฏการณ์ ซี ม าน (Zeeman Effect) ตอนที่ 1 ตรวจวัด ค่ า


สนามแม่เหล็ก โดยการจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั ขดลวดเฮล์มโฮลตซ์ พบว่าค่าความเข้มสนามแม่เหล็กที่วดั ได้
เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้า 0.00 , 0.997, 2.007, 3.003 และ 4.003 A ตามลาดับ นี้มีค่าเท่ากับ 0.00, 197, 396, 588.33
และ 768.67 mT ตามลาดับ ซึ่ งเมื่อนาข้อมูลจากการวัดที่ได้ไปเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความ
เข้มของสนามแม่เหล็ก(B) กับกระแสไฟฟ้ า(A) จะได้เป็ นกราฟเส้นตรง นัน่ แสดงว่าสนามแม่เหล็กมี ความ
สม่าเสมอ และแปรผันตรงกับกระแสไฟฟ้าที่ให้แก่ขดลวดเฮล์มโฮลตซ์ คือ เมื่อกระแสไฟฟ้าที่ให้แก่ขดลวด
𝜇0 𝐼
⃑ =
มีค่ามาก ค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กก็จะมากขึ้นด้วย ซึ่ งเป็ นไปตามกฎของแอมแปร์ 𝐵 หรื อ
2𝜋𝑟
⃑ 𝛼𝐼
𝐵
การทดลองตอนที่ 2 หาค่า Bohr’s Magneton (𝜇𝐵 ) เมื่อให้กระแสไฟฟ้ าแก่หลอดแคดเมียมจะเกิด
แสงสี ม่วงและเปลี่ยนเป็ นสี ฟ้าเปล่งออกมา เนื่ องจากความแตกต่างของระดับชั้นพลังงานที่อิเล็กตรอนที่เกิด
การเปลี่ยนสถานะมีค่าพลังงานอยูใ่ นช่วงของคลื่นแสงสี ฟ้า แต่ในการทดลองมีการใส่ แผ่นกรองแสงสี แดง
เพื่อให้มองเห็ นปรากฏการณ์ ได้ชดั เจนยิ่งขึ้ น โดยแสงจากหลอดแคดเมียมจะเกิ ดการแทรกสอดโดยผ่าน
Fabry-Perot Etalon จะสังเกตเห็ นริ้ วการแทรกสอดเป็ นแถบวงกลม เมื่ อให้กระแสไฟฟ้ าแก่ ขดลวดเฮล์ม
โฮลตซ์ที่มีมากพอ ทาให้เกิ ดสนามแม่เหล็กที่ มีความเข้มสู งไปรบกวนระบบของอะตอมจนสามารถเผย
ระดับชั้นพลังงานย่อยของอิเล็กตรอนที่ซ่อนอยู่ ทาให้เราเห็นจากแถบสเปกตรัมเดี่ยวแยกออกเป็ นเส้นย่อยๆ
ภายในได้ ดังที่ได้จากผลการทดลองดังนี้ คือเมื่อไม่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้แก่ขดลวดเฮล์มโฮลตซ์ จะ
สังเกตเห็ นริ้ วการแทรกสอดเป็ นวงกลม โดยไม่สามารถสังเกตเห็นเส้นสเปกตรัมย่อยที่ถูกแยกออกมาจาก
เส้ น สเปกตรั ม เดี่ ย วได้ เนื่ อ งจากไม่ มี ส นามแม่ เ หล็ ก ไปรบกวนระบบของอะตอมแคดเมี ย ม เมื่ อ จ่ า ย
กระแสไฟฟ้ า 0.997 A ให้แก่ขดลวดเฮล์มโฮลตซ์ จะสังเกตเห็ นผลเช่ นเดี ยวกันกับเมื่อไม่ให้กระแสไฟฟ้ า
เพราะสนามแม่เหล็กที่เกิดจาการจ่ายกระแสไฟฟ้ า 0.997 A มีความเข้มไม่มากพอที่จะเผยระดับชั้นพลังงาน
ย่อยที่ซ่อนอยูใ่ ห้ชดั เจน ทาให้ไม่สามารถสังเกตเห็นเส้นสเปกตรัมย่อยที่เกิดขึ้นได้และเมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้า
2.007, 3.003 และ 4.003 A ตามลาดับ พบว่าเมื่อสังเกตจะเห็นริ้ วการแทรกสอดเป็ นวงกลมเช่นกัน แต่ในแต่
ละวงจะเกิ ดการแยกออกเป็ น 3 วงย่อย และจะสังเกตได้ว่า ระยะห่ างระหว่างเส้นจะมากขึ้ นเรื่ อยๆ และมี
ความชัดเจนมาขึ้ นเมื่ อจ่ายกระแสไฟฟ้ าแก่ ขดลวดมากขึ้ น เนื่ องจากสนามแม่เหล็กภายนอกจากการจ่า ย
กระแสไฟฟ้าให้แก่ขดลวดเฮล์มโฮลตซ์จะไปทาให้ระดับชั้น พลังงานที่อิเล็กตรอนถูกกระตุน้ ไปนั้นเกิดการ
แบ่งแยกออก กล่ าวคื ออิ เล็กตรอนจะมี โอกาสรั บพลังงานและ กระโดดขึ้ นไปในระดับชั้นพลังงานที่ สู ง

30
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

กว่าเดิ มได้มากกว่า 1 ค่า ซึ่ งเป็ นไปตามกฎของการเลื อก อันเนื่ องมาจากระดับชั้นพลังงานที่สูงกว่า มี การ


แบ่งย่อยของระดับชั้นพลังงานเพิ่มขึ้น และเมื่ออิเล็กตรอนจะกลับเข้าสู่ สถานะพื้นจะต้องปลดปล่อยออกมา
ในรู ป ของโฟตอน ส่ ง ผลให้เห็ นเป็ นแสงที่ มี ค วามยาวคลื่ นใกล้เคี ย งกัน 3 เส้ น เรี ย ก ปรากฏการณ์ น้ ี ว่า
ปรากฏการณ์ซีมาน
จากนั้นเมื่อนาค่ารัศมีวงใน (𝑟𝑎 ) และรัศมีวงนอก (𝑟𝑏 ) ของริ้ วการแทรกสอดของแสงสี แดงที่เกิ ด
𝑝+1,𝑝 𝑝+1,𝑝 𝑛
จากหลอดแคดเมี ย มมาคานวณหาค่ า ∆𝑎 , ∆𝑏 , 𝛿𝑎,𝑏 , 𝛥 , 𝛿 , 𝛥𝑣̅ และเขี ย นกราฟแสดง
∆𝑣̅ 1
ความสัมพันธ์ระหว่างเลขคลื่น ( ) และค่าสนามแม่เหล็ก (B) ได้ค่า slope เท่ากับ 0.0408 สามารถ
2 𝑚.𝑇
ℎ𝑐∆𝑣
นามาคานวณหาค่า Bohr’s magnetron จากความสัมพันธ์ 𝜇𝐵 = ได้เท่ากับ 8.11 x 10-24 J/T และมี
2𝐵
ค่าความคลาดเคลื่อนจากค่ามาตรฐานเท่ากับ 12.51 % ซึ่ งเป็ นความคลาดเคลื่อนดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการ
ทดลองมีขอ้ ผิดพลาดเกิ ดขึ้ น โดยข้อผิดพลาดที่ เกิ ดขึ้ นนี้ มีหลายสาเหตุ ดังนี้ 1.เครื่ องวัดค่าสนามแม่เหล็ก
ไม่ได้ให้ค่าสนามแม่เหล็กที่ถูกต้อง เพียงแต่สามารถตรวจสอบได้ว่า สนามแม่เหล็กมีค่าคงที่ และแปรผัน
ตรงตามขนาดของกระแสไฟฟ้า 2.ผูท้ ดลองอ่านค่ารัศมีผิดพลาด ใช้หวั วัดความเข้มสนามแม่เหล็กผิดพลาด
โดยอาจจะไม่ได้ให้หวั วัด อยูร่ ะหว่างขดลวดพอดี จึงทาให้ค่าที่ได้คลาดเคลื่อน 3.สเกลที่ใช้วดั ไม่ได้อยูท่ ี่จุด
ศูนย์กลางของวงแหวนพอดี 4. ระดับพลังงานย่อยทั้ง 3 เส้น แยกออกจากกันไม่ชดั เจน เนื่ องจากความเข้ม
สนามแม่เหล็กมี ค่าไม่มากพอที่จะสามารถกระตุ น้ ให้อิเล็กตรอนกระโดดไปอยู่ในระดับพลังงานย่อยได้
ทั้งหมด 5.รัศมีภายในและภายนอกแตกต่างกันน้อยมาก สเกลที่ใช้อ่านค่ารัศมีมีความละเอียดน้อยจึงทาให้วดั
ค่ารัศมีภายในและภายนอกคลาดเคลื่อน 6. ห้องทดลอง ไม่ได้มืดสนิ ท ทาให้ผทู ้ ดลองเห็นวงแหวนที่เกิดขึ้น
ได้ไม่ชดั เจน ทาให้การอ่านค่ารัศมีเกิดความผิดพลาด

สรุ ปผลการทดลอง (Summary and Conclusion)


จากการทดลองปฏิ บ ตั ิการที่ 8 เรื่ องปรากฏการณ์ ซี มาน (Zeeman Effect) พบว่าสนามแม่เหล็ ก มี
ความสม่ า เสมอ และแปรผัน ตรงกับ กระแสไฟฟ้ า ดัง ที่ ไ ด้ จ ากผลของกราฟความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า ง
𝜇0 𝐼
⃑ =
สนามแม่เหล็กกับกระแสไฟฟ้ า ซึ่ งเป็ นไปตามกฎของโอห์ ม 𝐵 ⃑ 𝛼 𝐼 และการที่เราให้
หรื อ 𝐵
2𝜋𝑟
กระแสไฟฟ้ า แก่ ข ดลวดเฮล์ ม โฮลตซ์ จะท าให้ เ กิ ด สนามแม่ เ หล็ ก ซึ่ งถ้า ให้ ก ระแสไฟฟ้ า ที่ ท าให้ เ กิ ด
สนามแม่เหล็กที่มีความเข้มมากพอจนไปรบกวนระบบของอะตอมแคดเมียม ทาให้สามารถเผยระดับชั้น
พลังงานย่อยที่อิเล็กตรอนจะมี โอกาสเปลี่ยนแปลงระดับชั้นพลังงานได้มากกว่า 1 ค่า ซึ่ งเป็ นไปตามกฎของ
การเลือก ทาให้เราเห็นเส้นสเปกตรัมย่อยที่แยกออกจากเส้นสเปกตรัมเดี่ยว ด้วยผลจากสนามแม่เหล็กนี่ เองที่

31
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

ท าให้ เ กิ ด ปรากฎการณ์ ดัง กล่ า ว ซึ่ งเรี ย กว่า ปรากฏการณ์ ซี ม าน และเราสามารถค านวณหาค่ า Bohr’s
ℎ𝑐∆𝑣 ∆𝑣̅
magnetron ได้ จ าก 𝜇𝐵 = โดยอาศั ย กราฟความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งเลขคลื่ น ( ) และค่ า
2𝐵 2
สนามแม่เหล็ก (B) ที่ได้จากการทดลอง ซึ่ งมีค่าเท่ากับ 8.11 x 10-24 J/T และมีค่าคลาดเคลื่อนจากค่ามาตรฐาน
เท่ากับ 12.51 %

ข้ อเสนอแนะ(Comments)
1. ตรวจสอบอุปกรณ์บนรางให้ในตาแหน่งที่ตรงกัน เพื่อให้การสังเกตุปรากฎการณ์ชดั เจนที่สุด
2. ปรับตาแหน่งของเลนส์ L3 เพื่อให้ได้ภาพที่ชดั ที่สุด แล้วปรับสเกลบนฉากให้สเกล 0 อยูต่ รง
กลางของวงแหวนพอดีก่อนจะวัดตาแหน่งวงในและวงนอก
3.ในการวัดความเข้มของสนามแม่เหล็ก ควรตั้งหัววัดให้ต้ งั ฉากกับสนามแม่เหล็กและอยูร่ ะหว่าง
ขดลวด
4. ควรวัดหลาย ๆ ครั้งแล้วนามาหาค่าเฉลี่ย
5. เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้า 2.007 A เกิดการแยกของเส้นสเปกตรัม แต่เมื่อถ่ายรู ปจะไม่เห็นการแยก
ของ เส้นสเปกตรัม ดังนั้นควรใช้กล้องถ่ายรู ปที่มีประสิ ทธิ ภาพ

32
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

การนาความรู้ จาก Lab ไปประยุกต์ ใช้ (How to Apply)


เครื่ อง FT-NMR (Fourier Transform NMR)

เครื่ อง FT-NMR (Fourier Transform NMR) หมายถึง เครื่ องที่ใช้วเิ คราะห์ตรวจหาชนิดและปริ มาณ
ของสารประกอบอินทรี ยท์ ี่ใช้แสงอินฟราเรดทั้งในช่วง Mid-IR ครอบคลุมเลขคลื่น (wave number) ในช่วง
8,000 - 340 เซนติเมตร-1

หลักการทางาน
การวัดสัญญานของเครื่ อง FT-NMR จะใช้เทคนิ คที่เรี ยกว่า Pulsed NMR โดยเครื่ อง NMR จะส่ ง
สัญญาณคลื่ นวิทยุทุกความถี่ ในช่ วงที่สนใจเข้าไปยังตัวอย่างที่ วิเคราะห์ การทาเช่ นนี้ จะส่ งผลให้เกิ ดการ
เปลี่ ยนสปิ นของนิ วเคลี ยสทั้งหมดทันที ซึ่ งเราจะเรี ยกสภาวะดังกล่าวว่าสถานะถู กกระตุน้ (excited state)
จากนั้นนิวเคลียสดังกล่าวจะกลับสู่ สถานะพื้น (ground state) โดยการคายพลังงานออกมาในรู ปของคลื่นวิทยุ
ในรู ปของคลื่ นที่ซ้อนกันที่เรี ยกว่าสัญญาณ FID (free induction decay) ซึ่ งเราสามารถแยกออกเป็ นความถี่
ต่างๆ ที่มีความแรงของสัญญาณแตกต่างกันได้ โดยกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ที่เรี ยกว่าฟูเรี ยร์ ท รานส
ฟอร์ ม (Fourier transform) ซึ่ งเป็ นที่มาของการเรี ยกชื่ อเครื่ อง NMR สมัยใหม่ว่า FT NMR ในการคานวณ
ดังกล่าวนั้นมีการคานวณที่ซบั ซ้อนมากจึงจาเป็ นต้องใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับเก็บข้อมูลและประมวลผล ซึ่ ง
ผลที่ได้จากกระบวนการดังกล่าวคือสเปคตรัม NMR ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นพีค ดังรู ปที่ 1 โดยมีแกนนอน (x-axis)
เป็ นค่า chemical shift

33
Adv. Phys. Lab 2018 กศ.บ. ฟิ สิ กส์ 4𝑡ℎ 𝑦𝑒𝑎𝑟

เอกสารอ้างอิง (References)

Background correction in Atomic Absorption Spectroscopy. (2556). สื บค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2560 ,


จาก http://lab-training.com/2013/05/08/background-correction-in-atomic-absorption-
spectroscopy/
จตุพร วุฒิกนกกาญจน์. (2560). การวิเคราะห์ พอลิเมอร์ ด้วยเทคนิคทางเปคโตรสโคปี . ราชบุรี :
ธงชัย สุ ธีรศักดิ์. (2547). ฟิ สิ กส์ แผนใหม่ เบื้องต้ น. ภูเก็ต : มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ .
ธารง เมธาศิริ. (2536). ฟิ สิ กส์ แผนใหม่ . กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แบบจาลองอะตอมของโบร์ . (2553). สื บค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2561, จาก http://atomic-model.
blogspot.com/2010/12/blog-post_6752.html.
พงษ์ศกั ดิ์ ชินนาบุญ. (2556). ฟิ สิ กส์ มหาวิทยาลัย 2 เล่ม1 .กรุ งเทพฯ : วิทยพัฒน์
เพียร์ สันเอ็ดดูเคชัน่ อินโดไชน่า.
มงคล ทองสงคราม.(2560).สนามแม่ เหล็ก : กรุ งเทพฯ .สานักพิมพ์ ห้างส่ วนจากัด วี .เจ พริ้ นติง้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล. (2555). เลขควอนตัม. กรุ งเทพ ฯ. สื บค้นเมื่อ 25
พฤศจิกายน 2561 ,จาก http://www.satriwit3.ac.th/external_newsblog.php?links=1255
สมพงษ์ ใจดี. (2542). ฟิ สิ กส์ มหาวิทยาลัย 4. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

34

You might also like