You are on page 1of 13

สมบัติของ

ธาตุ
และแนวโน้มตามตาราง
ธาตุ
สมบัติของ
ธาตุ
1.ขนาดอะตอม

จากแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก ทำให้เราทราบว่าการ
กระจายตัวจะหนาแน่นมากบริเวณใกล้นิวเคลียส และหนาแน่นน้อย
ลงเมื่ออยู่ห่างจากนิวเคลียสออกไป ดังนัน
้ อะตอมจึงมีขนาดไม่
แน่นอน การบอกขนาดของอะตอมจึงสามารถบอกได้ด้วย รัศมีของ
อะตอม (atomic radius) โดยเป็ นค่าประมาณเท่านัน ้ ทำได้โดย
สมมุตว่าอะตอมมีลักษณะเป็ นทรงกลมที่เกิดพันธะกับอะตอมอื่น
แล้ววัดระยะห่างระหว่างนิวเคลียสทัง้ สองอะตอม มีค่าครึ่งหนึ่งของ
ระยะห่างระหว่างนิวเคลียสทัง้ สองอะตอม ซึ่งรัศมีของอะตอม แบ่ง
ออกเป็ น 3 ชนิด ดังนี ้
1. รัศมีโคเวเลนต์ คือ ระยะครึ่งหนึ่งของความยาวพันธะโคเว
เลนต์ ระหว่างอะตอมชนิดเดียวกัน ซึ่งการเกิดพันธะโคเวเลนต์
นีอ
้ ะตอมทัง้ สองจะมีการนำอิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกัน (หาได้จาก
ความยาวพันธะของโมเลกุลโคเวเลนต์ หารด้วย 2)
2. รัศมีแวนเดอร์วาลส์ คือ ระยะครึ่งหนึ่งของระยะ
ระหว่างนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่
ใกล้ที่สุด (หาได้จากโมเลกุลของก๊าซเฉื่อย หรือโมเลกุลโค
เวเลนต์ 2 โมเลกุลที่
สัมผัสกัน หารด้วย 2)
3. รัศมีโลหะ คือ ระยะครึ่งหนึ่งของระยะระหว่างนิวเคลียส
ของโลหะ 2 อะตอมที่อยู่ใกล้กันมากที่สุด (หาได้จากความ
ยาวของพันธะโลหะ หารด้วย 2)
การศึกษารัศมีอะตอมของธาตุ ทำให้ทราบขนาดอะตอมและ
สามรถเปรียบเทียบขนาดอะตอมของธาตุที่อยู่ในหมู่หรือคาบ
เดียวกันได้ ถ้าธาตุมจำ
ี นวนระดับพลังงานมาก ขนาดของ
อะตอมก็จะใหญ่มากขึน ้ ไปด้วย
สมบัติของ
ธาตุ
แนวโน้มของขนาดอะตอมของธาตุกลุ่ม A
ในหมู่เดียวกัน อะตอมจะมีขนาดใหญ่ขน
ึ ้ เมื่อมีเลขอะตอม
เพิ่มขึน
้ เช่น K > Na > Li
ในคาบเดียวกัน อะตอมจะมีขนาดเล็กลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่ม
ขึน
้ เช่น Li > Be > B
2.ขนาดไอออน
อะตอมมีจำนวนโปรตอนเท่ากันกับอิเล็กตรอน เมื่อรับ
อิเล็กตรอนเข้ามาหรือเสียอิเล็กตรอนออกไปจะกลายเป็ น ไอออน
ซึ่งมีผลต่อรัศมีของธาตุ จากรัศมีอะตอมจะกลายเป็ น รัศมีไอออน
(Ionic radius) พิจารณาจากระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของ
ไอออนคู่หนึ่งๆ ที่มีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกันในโครงผลึก
ไอออนลบ เมื่ออะตอมได้รับอิเล็กตรอนเข้ามา ทำให้มี
อิเล็กตรอนมากกว่าโปรตอน อัตราส่วนของแรงดึงดูดระหว่าง
โปรตอนกับอิเล็กตรอนจะลดลง ขนาดของไอออนจึงมีขนาด
ใหญ่กว่าอะตอมปกติของธาตุชนิดเดียวกัน เช่น Cl- > Cl
ไอออนบวก เมื่ออะตอมสูญเสียอิเล็กตรอน ทำให้มีอิเล็กตรอน
น้อยกว่าโปรตอน อัตราส่วนของแรงดึงดูดระหว่างโปรตอนกับ
อิเล็กตรอนจะมากขึน้ ขนาดของไอออนจึงเล็กกว่าอะตอมปกติ
ของธาตุชนิดเดียวกัน เช่น Na > Na+
สมบัติของ
ธาตุ
แนวโน้มของขนาดไอออนของธาตุกลุ่ม A
- ในหมู่เดียวกัน อะตอมจะมีขนาดใหญ่ขน ึ ้ เมื่อมีเลขอะตอม
เพิ่มขึน

- เมื่อมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเท่ากัน ไอออนบวกจะมี
ขนาดเล็กกว่าไอออนลบ
- ไอออนบวกที่มีประจุมาก จะมีขนาดเล็กกว่าไอออนบวกที่
มีประจุน้อย แต่ไอออนลบที่มีประจุมาก จะมีขนาดใหญ่
กว่าไอออนลบที่มีประจุน้อย
THANK
YOU

You might also like