You are on page 1of 26

แบบจำลองอะตอม

แบบจำลองอะตอม
ประกอบด้วย 5 แบบจำลอง ได้แก่
1.แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
2.แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
3.แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
4.แบบจำลองอะตอมขอโบร์
5.แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
มารู จกั แบบจำลองอะตอมกันก่อนเลยจ๊ะ
อะตอม คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสาร มาจากภาษา
กรี ก แปลว่า เล็กที่สุด ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก ซึ่ง ดิ
โมคริ ตุส และลูซิพปุส นักปราชญ์ชาวกรี กใช้เรี ยก
หน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร

แบบจำลองอะตอม คือ มโนภาพที่สร้าง


ขึ้นเพื่ออธิบายลักษณะของอะตอมซึ่งมองไม่เห็น
โดยแบบจำลองมีววิ ฒั นาการจากนักวิทยาศาสตร์
หลายท่าน
1.แบบจำลองอะตอมของจอร์ น ดอลตัน

จอห์น ดอลตัน ชาวอังกฤษ เสนอทฤษฎี


อะตอมของดอลตัน
- อะตอมเป็ นอนุภาคที่เล็กที่สุด แบ่งแยกอีกไม่ได้
- อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน
-อะตอมต้องเกิดจากสารประกอบเกิดจากอะตอม
ของธาตุต้ งั แต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันทางเคมี
ลักษณะแบบจำลองอะตอมของดอลตัน

ทรงกลมตันมีขนาดเล็กทีส่ ุ ดซึ้งแบ่ งแยกอีกไม่ ได้


2.แบบจำลองอะตอมของเจ เจ ทอมสัน
เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (J.J Thomson) นัก
วิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้สนใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
ในหลอดรังสี แคโทด  จึงทำการทดลองเกี่ยวกับการนำ
ไฟฟ้ าของแก๊สขึ้นในปี พ.ศ. 2440 (ค.ศ. 1897)ทอมสัน
ศึกษาแนวคิดที่วา่ ก๊าซสามารถนำไฟฟ้ าได้ ถ้ามีสภาพ
เหมาะสม ซึ่งได้แก่ การจัดสภาพให้มีความต่างศักย์สู
งมากๆ และความดันต่ำ โดยใช้หลอดแก้วสุ ญญากาศ ซึ่ง
ประกอบด้วยวงจรไฟฟ้ ากระแสตรงที่มีความต่างศักย์ 
10,000  โวลต์ ขั้วไฟฟ้ าที่ต่อกับขั้วบวก เรี ยกว่า
แอโนด และขั้วลบ เรี ยกว่า  แคโทด  เมื่อผ่านไฟฟ้ าเข้าไป
ในหลอดพบว่า เกิดลำแสงพุง่ จากแคโทด ไปยังแอโนด
เรี ยกลำแสงนี้วา่   รังสี แคโทด
การค้นพบอิเล็กตรอน
ทอมสัน ทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้ าของก๊าซในหลอดรังสี
แคโทด พบว่าไม่วา่ จะใช้ก๊าซใดบรรจุในหลอดหรื อใช้โลหะใดเป็ นแคโทด
จะได้รังสี ที่ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ พุง่ มาที่ฉากเรื องแสงเหมือน
เดิม เมื่อคำนวณหาอัตราส่ วนของประจุต่อมวล (e/m) ของอนุภาค จะได้ค่า
คงที่ทุกครั้งเท่ากับ 1.76 x 108 คูลอมบ์ต่อกรัม สรุ ปว่า อะตอมทุกชนิดมี
อนุภาคที่มีประจุลบเป็ นองค์ประกอบ เรี ยกว่า อิเล็กตรอน
การเบนของรังสี แคโทดเข้าหาขั้วบวก
สมบัตขิ องรังสี
สรุ ปสมบัติของรังสี ไว้หลายประการ  ดังนี้
    1. รังสี แคโทดเดินทางเป็ นเส้นตรงจากขั้วแคโทดไปยังขั้วแอโนด 
เนื่องจากรังสี แคโทดทำให้เกิดเงาดำของวัตถุได้  ถ้านำวัตถุไปขวางทาง
เดินของรังสี  
    2. รังสี แคโทดเป็ นอนุภาคที่มีมวล เนื่องจากรังสี ทำให้ใบพัดที่ขวาง
ทางเดินของรังสี หมุนได้เหมือนถูกลมพัด
    3. รังสี แคโทดประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ  เนื่องจากเบี่ยงเบน
เข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้ า
นอกจากนั้นทอมสันยังพบว่าไม่วา่ จะจะเปลี่ยนชนิดของก๊าซ
หลอด หรื อเปลี่ยนชนิดของโลหะที่ใช้ทำขั้วแคโทดเป็ นชนิดใด 
รังสี แคโทดก็ยงั มีสมบัติเหมือนเดิม ค่าประต่อมวลก็คงที่เสมอ   
ทอมสันสรุ ปว่า  อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าลบเป็ นองค์ประกอบ ของ
อะตอมของธาตุทุกชนิด  เรี ยกอนุภาคนี้วา่   อิเล็กตรอน จากการทดลอง
ของทอมสัน  สรุ ปได้วา่   อะตอมไม่ใช่สิ่งที่เล็กที่สุด แต่อะตอมจะ
ประกอบด้วยอิเล็กตรอน  และอนุภาคอื่นๆอีก
การค้นพบโปรตอน
เนื่องจากอะตอมเป็ นกลางทางไฟฟ้ า และการที่พบว่าอะตอมของธาตุทุกชนิด
ประกอบด้วยอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุไฟฟ้ าเป็ นลบ ทำให้นกั วิทยาศาสตร์เชื่อว่าองค์
ประกอบอีกส่ วนหนึ่งของอะตอม จะต้องมีประจุบวกด้วย
ในปี พ.ศ. 2409 (ค.ศ. 1866) ออยเกน  โกลด์ชไตน์  นักวิทยาศาสตร์ชาว
เยอรมัน  ได้ทำการทดลองโดยเจาะรู ที่ข้วั แคโทดในหลอดรังสี แคโทด  พบว่าเมื่อ
ผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าไปในหลอดรังสี แคโทดจะมีอนุภาคชนิดหนึ่ง
เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงไปในทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของ รังสี
แคโทดผ่านรู ของขั้วแคโทด  และทำให้ฉากด้านหลังขั้วแคโทด เรื องแสง
ได้  โกลด์ชไตน์ได้ต้ งั ชื่อว่า “รังสี แคแนล” (canal ray) 
หรื อ “รังสี บวก” (positive ray)
สมบัติของรังสี
1.  เดินทางเป็ นเส้นตรงไปยังขั้วแคโทด
2.  เมื่อผ่านรังสี น้ ีไปยังสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้ า  รังสี น้ ีจะเบี่ยงเบน
ไปในทิศทางตรงข้ามกับรังสี แคโทด  แสดงว่ารังสี น้ ีประกอบด้วย
อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวก
3.  มีอตั ราส่ วนประจุต่อมวลไม่คงที่  ขึ้นอยูก่ บั ชนิดของแก๊สในหลอด  และ
ถ้าเป็ นแก๊สไฮโดรเจนรังสี น้ ีจะมีอตั ราส่ วนประจุต่อมวลสู งสุ ด  เรี ยก
อนุภาคบวกในรังสี แคแนลของไฮโดรเจนว่า “โปรตอน”
4.  มีมวลมากกว่ารังสี แคโทด  เนื่องจากความเร็ วในการเคลื่อนที่ต ่ำกว่ารังสี
แคโทด

“โปรตอน” มีอนุภาคทีม่ ปี ระจุเป็ นบวก


มีมวล 1.66 x 10-24 g
 
จากการทดลองหลายครั้ง ๆ
- โดยการเปลี่ยนชนิดของก๊าซในหลอดแก้ว ปรากฏว่าอนุภาคที่มีประจุ
บวกเหล่านี้มี อัตราส่ วนของประจุต่อมวลไม่เท่ากัน ขึ้นอยูก่ บั ชนิดของ
ก๊าซที่ใช้
- เมื่อทดลองโดย เปลี่ยนโลหะที่ใช้ทำขั้วไฟฟ้ าหลาย ๆ ชนิด แต่ใช้ก๊าซ
ในหลอด แก้วชนิดเดียวกัน ปรากฏว่าผลการทดลองได้ อัตราส่ วนของ
ประจุต่อมวลเท่ากัน
*แสดงว่ าอนุภาคบวกในหลอดรังสี แคโทดเกิดจากก๊ าซ ไม่ ได้ เกิด
จากขั้วไฟฟ้ า
“อะตอมมีลกั ษณะเป็ นทรง
กลม  ประกอบด้ วยอนุภาค
โปรตอนทีม่ ีประจุบวกและ
อนุภาคอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุ
ลบกระจายอยู่ทวั่ ไปอย่ าง
สม่ำเสมอในอะตอม  อะตอม
ในสภาพทีเ่ ป็ นกลางทาง
ไฟฟ้ าจะมีจำนวนประจุบวก
เท่ ากับประจุลบ”
3.แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ในปี ค.ศ.1909 รัทเทอร์ฟอร์ด ได้ทำการทดลองร่ วมกับฮันส์ไกเกอร์และเอ
อร์เนสต์ มาร์เดน เพื่อศึกษาว่าถ้ายิงอนุภาคแอลฟาที่เกิดจากการสลายตัวของสาร
กัมมันตรังสี และอนุภาคที่มีประจุบวกไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ จะได้ผลอย่างไร โดย
ก่อนการทดลองรัทเทอร์ฟอร์ดได้ใช้แบบจำลองอะตอมของทอมสันคาดคะเนผล
การทดลองคืออะตอมของแผ่นทองคำมีโปรตอนกระจายอยูท่ วั่ ไปในอะตอม ดังนั้น
เมื่อยิงอนุภาคแอลฟาเข้าใกล้กบั โปรตอนของแผ่นทองคำซึ่งมีประจุบวกเหมือนกัน
จะผลักกันการเคลื่อนที่ ของอนุภาคแอลฟาน่าจะเบนไปจากแนวเดิมเป็ นส่ วนมาก
มีส่วนน้อยที่เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรง แต่ไม่มีอนุภาคแอลฟาสะท้อน กลับมา
การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด
ผลการทดลอง
          อนุภาคแอลฟาส่ วนใหญ่จะเดินทางเป็ นเส้นตรง ส่ วน
น้อยจะมีการเบี่ยงเบนทิศทาง และนาน ๆ ครั้งจะมีการสะท้อน
กลับอย่างแรง

สรุปผลการทดลอง
          - ส่ วนใหญ่จะเดินทางเป็ นเส้นตรง แสดงได้วา่ ภายในอะตอมจะต้องมีที่วา่ งมากมาย
          - ส่ วนน้อยจะมีการเบี่ยงเบนทิศทาง แสดงว่าภายในต้องมีอนุภาคที่เป็ นบวกอยูแ่ ต่มี
ขนาดเล็กนิดเดียว
          - นาน ๆ ครั้งจะมีการสะท้อนกลับอย่างแรง แสดงว่าต้องมีอนุภาคที่มีมวลมากแต่มี
ขนาดเล็กรวมกันเป็ นกลุ่มอยูภ่ ายในอะตอม
อะตอมประกอบด้ วยนิวเคลียสที่
มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง
นิวเคลียสมีขนาดเล็ก แต่ มีมวล
มากและมีประจุเป็ นบวก ส่ วน
อิเล็กตรอนซึ่งมีประจุเป็ นลบ
และมีมวลน้ อยมาก จะวิง่ อยู่รอบ
นิวเคลียสเป็ นบริเวณกว้ าง
4.แบบจำลองอะตอมของโบร์
นักวิทยาศาสตร์ได้พยายามศึกษาเรื่ องเกี่ยวกับอะตอม โดยได้
เสนอแบบจำลองอะตอมจากการทดลองที่เกิดขึ้น ซึ่งแบบจำลองของ
รัทเธอร์ฟอร์ดได้รับการยอมรับแต่กย็ งั ไม่สมบูรณ์ จึงมีผพู ้ ยายามหา
คำอธิบายเพิ่มเติม โดยในปี 1913 นีล โบร์ (Niels Bohr) นัก
วิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ได้ทำการศึกษาการเกิดสเปกตรัมของก๊าซ
ไฮโดรเจน และได้สร้างแบบจำลองอะตอมเพื่อใช้อธิบายลักษณะ
การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเป็ นวงคล้ายกับวง
โคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ แต่ละวงจะมีระดับพลังงาน
เฉพาะตัว และเรี ยกระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่อยูใ่ กล้นิวเคลียส
ที่สุด ซึ่งมีระดับพลังงานต่ำที่สุด เรี ยกว่า ระดับพลังงาน K และเรี ยก
ระดับพลังงานถัดออกมาว่า ระดับพลังงาน L,M,N,... ตามลำดับ
วิธีทำการทดลอง
          เขาศึกษาสเปกตรัมการเปล่งแสงของธาตุ โดยบรรจุแก๊สไฮโดรเจนใน
หลอดปล่อยประจุ จากนั้นให้พลังงานเข้าไป
สเปกตรัม หมายถึง อนุกรมของแถบสี หรื อเส้นที่ได้จากการผ่านพลังงาน
รังสี เข้าไปในสเปกโตรสโคป ซึ่งทำให้พลังงานรังสี แยกออกเป็ นแถบหรื อเป็ นเส้น ที่มี
ความยาวคลื่นต่างๆเรี ยงลำดับกันไป

ผลการทดลอง
          อิเล็กตรอนเคลื่อนจากขั้วบวกไปขั้วลบชนกับแก๊สไฮโดรเจน จากนั้นเปล่งแสงออกมาผ่านปริ ซึม
ทำให้เราเห็นเป็ นเส้นสเปกตรัมสี ต่าง ๆ ตกบนฉากรับภาพ

สรุปผลการทดลอง
          การเปล่งแสงของธาตุไฮโดรเจน เกิดจากอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจากวงโคจรสูงไปสู่ วง
โคจรต่ำ พร้อมทั้งคายพลังงานในรู ปแสงสี ต่าง ๆ 2.18  10 18 J
  ระดับพลังงานแต่ละชั้น คำนวณจาก      En   n2
                               
                                 เมื่อ 2.18 X 10-18 J = ค่าคงที่ของริ ดเบิร์ก(Rydberg constant)
                                     n = เลขควอนตัมหลัก = 1, 2, 3
นีลส์ โบร์   ได้ เสนอแบบจำลองอะตอมขึน้ มา สรุปได้ ดงั นี้
1. อิเลคตรอนจะอยูก่ นั เป็ นชั้น ๆ แต่ละชั้นเรี ยกว่า "ระดับพลังงาน"
2. แต่ละระดับพลังงานจะมีอิเลคตรอนบรรจุได้ดงั นี้
   จำนวนอิเลคตรอน = 2n2                                       
ระดับพลังงาน K
ระดับพลังงาน L
ระดับพลังงาน M
ระดับพลังงาน N
ระดับพลังงาน O
ระดับพลังงาน P
ระดับพลังงาน Q
3. อิเลคตรอนที่อยูใ่ นระดับพลังงานวงนอกสุ ดเรี ยกว่า เวเลนซ์อิเลคตรอน (Valent electron) จะ
เป็ นอิเลคตรอนที่เกิดปฏิกิริยาต่าง ๆ ได้
4. อิเลคตรอนที่อยูใ่ นระดับพลังงานวงในอยูใ่ กล้นิวเคลียส จะเสถียรมาก เพราะประจุบวกจาก
นิวเคลียสดึงดูดไว้อย่างดี ส่ วนอิเลคตรอนระดับพลังงานวงนอก จะไม่เสถียร เพราะนิวเคลียสส่ ง
แรงไปดึงดูดได้นอ้ ยมาก อิเลคตรอนพวกนี้จึงมีพลังงานสูงหลุดออกจากอะตอมได้ง่าย
5. ระดับการพลังงานวงในจะอยูห่ ่างกันมาก ส่ วนระดับพลังงานวงนอกจะอยูช่ ิดกันมาก
6. การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเลคตรอน ไม่จำเป็ นต้องเปลี่ยนในระดับถัดกัน อาจเปลี่ยน
ข้ามระดับพลังงานกันก็ได้
แบบจำลองอะตอมของนิลส์ โบร์
5.แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

เนื่องจากแบบจำลองอะตอมของโบร์ ใช้อธิบายเกี่ยวกับเส้น
สเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจนได้ดี  แต่ไม่สามารถอธิบายเส้นสเปกตรัม
ของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอนได้ จึงได้มีการศึกษาเพิ่มเติมทาง กล
ศาสตร์ควอนตัม แล้วสร้างสมการสำหรับใช้คำนวณโอกาสที่จะพบ
อิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ ขึ้นมาจนได้แบบจำลองใหม่ ที่
เรี ยกว่า แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
สรุปแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
1.อิเล็กตรอนไม่สามารถวิง่ รอบนิวเคลียสด้วยรัศมีที่แน่นอน  บางครั้งเข้าใกล้บาง
ครั้งออกห่าง จึงไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอน
ได้ แต่ถา้ บอกได้แต่เพียง  ที่พบอิเล็กตรอนตำแหน่งต่างๆภายในอะตอมและ
อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่เร็ วมากจนเหมือนกับอิเล็กตรอนอยูท่ ว่ั ไปในอะตอมลักษณะ
นี้เรี ยกว่า "กลุ่มหมอก"
     2.กลุ่มหมอกองอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆจะมีรูปทรงต่างกันขึ้นอยูก่ บั
จำนวนอิเล็กตรอน และระดับพลังงานอิเล็กตรอน
      3.กลุ่มหมอกที่มีอิเล็กตรอนระดับพลังงานต่ำจะอยูใ่ กล้นิวเคลียสส่ วนอิเล็กตรอนที่
มีระดับพลังงานสูงจะอยูไ่ กลนิวเคลียส
 4.อิเล็กตรอนแต่ละตัวไม่ได้อยูใ่ นระดับพลังงานใดพลังงานหนึ่งคงที่
      5.อะตอมมีอิเล็กตรอนหลายๆระดับพลังงาน
แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

You might also like