You are on page 1of 52

Electrons: Particles

behaving as Waves
ผศ.ดร. ยิ่งยศ อินฟ้าแสง
สาขาวิชาฟิ สิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

100 nm
Electron Waves
•In 1924 – Prince Louis de Broglie เสนอว่าอิเล็กตรอนหรือโปรตอน
ที่คิดว่าเป็ นอนุภาค อาจจะมีพฤติกรรมเป็ นคลื่นได้
•Photon momentum – โมเมนตัมของโฟตอน 𝑝 = ℎ/𝜆
•The de Broglie wavelength – อนุภาคมีความยาวคลื่นเป็ น
ℎ ℎ
𝜆= =
𝑝 𝑚𝑣
เมื่อ h คือค่าคงที่ของพลังค์

2
Observing the Wave Nature of Electrons

การทดลองของ Davisson และ Germer ที่พบ


การเลีย้ วเบนของอิเล็กตรอน
3
Observing the Wave Nature of Electrons

• โดยการใช้แนวคิดงาน-พลังงาน eVba = K
• โดยที่ K = ½ mv2 = p2/2m ดังนัน้
𝑝2
𝑒𝑉𝑏𝑎 =
2𝑚
และ 𝑝 = 2𝑚𝑒𝑉𝑏𝑎
ซึง่ จะได้วา่
ℎ ℎ
𝜆= =
𝑝 2𝑚𝑒𝑉𝑏𝑎
de Broglie wavelength of an electron

4
Observing the Wave Nature of Electrons

5
Example
ในการทดลองการเลีย้ วเบนของอิเล็กตรอน ความต่างศักย์เร่งขนาด 54 โวลต์ ทา
ให้มคี วามเข้มการเลีย้ วเบนสูงสุดทีม่ มุ 50 องศา รูปแบบการเลีย้ วเบนบอกว่า
ระยะห่างระหว่างอะตอมของเป้ า d = 2.18x10-10 m สมมติวา่ อิเล็กตรอนไม่มี
พลังงานจลน์ก่อนถูกเร่ง จงหาความยาวคลื่นของอิเล็กตรอน

6
Electron Microscope
Transmission Electron Microscope, TEM
AMI IMAGES / SCIENCE PHOTO LIBRARY

Scanning Electron Microscope, SEM


Journal of Physics: Conference Series, 1380 (2019) 01214

www.technologynetworks.com 7
Example
ในกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน เมื่อลาอิเล็กตรอนแบบไม่คิดสัมพัทธภาพ ถูกสร้างขึน้ โดยชุดการ
ทดลองแบบเดียวกับ Davisson-Germer สมมติให้อิเล็กตรอนไม่มีพลังงานจลน์ก่อนถูก
เร่ง จะต้องใช้ความต่างศักย์เร่งเท่าใด จึงจะทาให้อิเล็กตรอนมีความยาวคลื่น 10 pm

8
The nuclear atom
• Rutherford ศึกษาโครงสร้างของอะตอมโดยการยิงอนุภาคอัลฟาเข้าไปในแผ่นทองบาง

9
Atomic line spectra
สเปกตรัม (Spectrum)
– การแจกแจงความเป็ นไปได้ตามความยาวคลื่น (distribution of wavelengths)
– วัตถุท่ีมีอณ
ุ หภูมิทกุ ชนิดจะปลดปล่อยการแผ่รงั สีความร้อน (Thermal radiation) ที่
ความเป็ นไปได้ตามความยาวคลื่นแบบต่อเนื่อง
– เป็ นสมบัติเฉพาะตัวของอะตอม ธาตุ สสาร
Distribution
Distribution

Wavelength (nm) Wavelength (nm)


Continuous spectrum Discrete line spectrum

10
Atomic line spectra

11
Two types of Spectra
• แสงขาวสามารถกระจาย (Disperse) ออกมาเป็ นสเปกตรัมของสีได้ โดยใช้ปริซมึ
(Prism) เนื่องจากความยาวคลื่นแต่ละตัวจะมีการหักเหที่แตกต่างกัน
• ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1800 การทดลองในหลอด gas discharge แสดงให้เห็นถึง
สเปกตรัม 2 ชนิด
• Line emission spectra แสดงเส้นสเปกตรัมที่บางความถี่
• Line absorption spectra แสดงเส้นสเปกตรัมแถบมืดที่หายไป

12
Two types of Spectra

13
Continuous Spectrum of Visible Light

14
Line Emission Spectrum for Hydrogen

15
Line Absorption Spectrum for Hydrogen

16
The failure of Classical Physics

17
Early Concepts of the Atom
• นักปรัชญาชาวกรีก (400 B.C.) ได้มีการโต้เถียงเกี่ยวกับความต่อเนื่องและไม่ตอ่ เนื่องของสสารต่างๆ แต่
เหล่านักปรัชญาสมัยนัน้ ก็ไม่สามารถหาคาตอบได้

• Continuous – สามารถแบ่งแยกได้อย่างไม่มีกาหนด
• Discrete – อนุภาคไม่สามารถแบ่งแยกได้อย่างที่สดุ

• นักปรัชญาส่วนใหญ่ รวมถึงอริสโตเติล (Aristotle) สรุปว่าสสารสามารถแบ่งแยกได้


• ลุสซิปสุ (Leucippus) และเดโมเครตุส (Democritus) เสนอว่าส่วนที่เล็กที่สดุ ของสสาร ซึ่งแบ่ง
ไม่ได้อีกแล้ว เรียกว่า อะตอม (Atoms)

18
Early Concepts of the Atom
• Neolithic Stone Balls (ca. 2000 BCE) แสดงแนวคิด Platonic Solids ที่เป็ นลักษณะ
รูปทรงเรขาคณิตต่างๆ เชื่อกันว่าเป็ นรูปแบบของการสร้างทางกายภาพพืน้ ฐาน ประกอบด้วย earth,
air, fire, water, และ ether

www.ancient-wisdom.com/scotlandballs.htm

19
Dalton’s Model –
“The Billiard Ball Model”
• ในปี 1807 ดาลตัน (John Dalton) เสนอข้อเท็จจริงว่าสสาร
สามารถแบ่งแยกได้เป็ นอนุภาคย่อยๆ โดยมีสมมติฐานว่า
• องค์ประกอบทางเคมีของธาตุตา่ งๆ ประกอบไปด้วยอนุภาคที่
แบ่งแยกไม่ได้ขนาดเล็กที่เรียกว่า อะตอม (Atoms)
• ในธาตุเดียวกัน อะตอมจะเหมือนกัน ในธาตุตา่ งกัน อะตอมจะ
ต่างกัน
• ดาลตันเสนอ แบบจาลองลูกบิลเลียด (Billiard ball model)
สาหรับอะตอมที่แบ่งแยกไม่ได้ ขนาดเล็ก ความหนาแน่นสม่าเสมอ
และเป็ นทรงกลมตัน

20
Thomson’s Model –
“Plum Pudding Model”
• ในปี 1903 ทอมสัน (J.J. Thomson) ค้นพบอิเล็กตรอน
(Electron)
• Electron mass: m = 9.11 x 10-31 kg
• Electric charge: q = –1.60 x 10-19 C.
• ทอมสันสร้าง รังสี (rays) โดยใช้หลอดรังสีแคโทด (Cathode-
ray tubes) โดยใช้ก๊าซต่างๆ กัน เขาพบว่า รังสีเหล่านีเ้ บี่ยงเบน
ได้โดยสนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก ทอมสันสรุปว่า รังสีเหล่านี ้
ประกอบไปด้วยอนุภาคประจุลบ หรือ อิเล็กตรอน
• ทอมสันเสนอ แบบจาลองพุดดิง้ พลัม (Plum pudding
model) สาหรับอะตอมที่เป็ นทรงกลมประจุบวก โดยมีประจุลบ
(อิเล็กตรอน) ตรึงอยูภ่ ายใน

21
Ernest Rutherford’s Model
• ในปี 1911 รัทเธอฟอร์ด (Ernest Rutherford) พบว่า
99.97% ของมวลอะตอมกระจุกตัวอยูแ่ กนกลางขนาดเล็ก ที่เรียกว่า
นิวเคลียส (Nucleus)
• รังสีประจบวกแอลฟากระทบและกระเจิงจากเป้าฟลอยด์บาง การ
เบี่ยงเบนขนาดใหญ่ไม่สามารถอธิบายได้โดยแบบจาลองของทอม
สัน
• รัทเธอฟอร์ดเสนอ แบบจาลองนิวเคลียร์ (Nuclear model)
สาหรับอะตอมที่มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรอบแกนกลาง
ประจุบวก แบบเดียวกับแบบจาลองโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
(Planetary model)

22
Difficulties with the Rutherford Model
• อะตอมมีการปลดปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มีความถี่เฉพาะตัว
ค่าๆ หนึ่ง อย่างไม่ตอ่ เนื่อง
• แบบจาลองรัทเธอฟอร์ดไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นีไ้ ด้
• อิเล็กตรอนในแบบจาลองรัทเธอฟอร์ด มีการเคลื่อนที่เป็ นวงกลม ซึง่
จะมีความเร่งเข้าสูศ่ นู ย์กลาง
• อิเล็กตรอนควรจะแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาด้วยความถี่เดียว
• รัศมีของอิเล็กตรอนควรจะเล็กลงเรื่อยๆ เมื่อมีการแผ่รงั สีออกมา
• ดังนัน้ อิเล็กตรอนควรจะหมุนควงเข้าชนนิวเคลียส

23
The Bohr Theory of Hydrogen
• ในปี 1913 นีลส์ บอห์ร (Niels Bohr) เสนอการอธิบาย
สเปกตรัมของอะตอมว่าเป็ นผลจากควอนตัม (Quantum
effect) โดยประยุกต์ใช้แนวคิดของแพลงค์เกี่ยวกับระดับพลังงาน
ที่ไม่ตอ่ เนื่องกับแนวคิดของรัทเธอฟอร์ดเกี่ยวกับอิเล็กตรอนที่
เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส
• ปั จจุบนั แนวคิดของบอห์รได้ลา้ สมัยไปแล้ว และถูกแทนที่ดว้ ย
ทฤษฎีความน่าจะเป็ นทางกลศาสตร์ควอนตัม
• อย่างไรก็ตาม แนวคิดนีย้ งั คงถูกใช้ในการพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับ
ความไม่ตอ่ เนื่องของพลังงานและโมเมนตัมเชิงมุม (Energy
quantization and Angular momentum
quantization) สาหรับระบบขนาดของอะตอม

บอห์รได้รบั รางวัลโนเบลในปี 1922 for structure of atoms


and the radiation emanating from them

24
Bohr’s Postulates for Hydrogen, 1
• อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรอบประจุบวก (โปรตรอน,
Proton) ภายใต้แรงดึงดูดทางไฟฟ้า
• แรงคูลอมบ์ทาให้เกิดความเร่งเข้าสูศ่ นู ย์กลาง
Σ𝐹𝑐 = 𝑚𝑎𝑐
𝑘𝑒 𝑒 2 𝑣2 2
𝑘𝑒 𝑒 2
𝐹𝑐 = 2 = 𝑚𝑒 𝑣 =
𝑟 𝑟 𝑚𝑒 𝑟

1 2
𝑒2
𝐸 = 𝐾 + 𝑈 = 𝑚𝑒 𝑣 − 𝑘𝑒
2 𝑟
𝑒2
𝐸 = −𝑘𝑒
2𝑟 𝑘 = 8.988 × 109 𝑁 ∙ 𝑚2 /𝐶 2
25
Bohr’s Postulates for Hydrogen, 2
• วงโคจรอิเล็กตรอนบางวงเท่านัน้ ทีค่ งที่ บอห์รเรียกสถานะนี้วา่ สถานะ
คงที่ (Stationary states)

• วงโคจรในสถานะคงที่ อะตอมจะไม่มกี ารปลดปล่อยพลังงานในรูปของ


คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้ าออกมา ถึงแม้วา่ อิเล็กตรอนจะมีความเร่ง

• ดังนัน้ พลังงานรวมของอะตอมจะคงที่ และกลศาสตร์ยคุ เก่าสามารถ


ใช้อธิบายการเคลือ่ นทีข่ องอิเล็กตรอนได้

• ในลักษณะแบบนี้ อิเล็กตรอนทีม่ คี วามเร่งเข้าสูศ่ นู ย์กลางจะไม่


ปลดปล่อยพลังงานอย่างต่อเนื่องและไม่หมุนควงเข้าสูน่ ิวเคลียส

26
Bohr’s Postulates for Hydrogen, 3
• การแผ่รงั สีโดยอะตอมจะเกิดขึน้ ก็ต่อเมือ่ อิเล็กตรอนได้เปลีย่ นจากสถานะ
คงตัวเริม่ ต้นพลังงานสูง (Ei) ไปยังสถานะคงตัวพลังงานต่า (Ef) ซึง่ การ
เปลีย่ นสถานะนี้ไม่สามารถอธิบายได้โดยฟิ สกิ ส์ยคุ เก่า
• ความถีท่ ป่ี ลดปล่อยจากการเปลีย่ นสถานะจะสัมพันธ์กบั การเปลีย่ น
พลังงานของอะตอม แต่จะไม่ขน้ึ อยูก่ บั ความถีข่ องการเคลื่อนที่ในวงโคจร
ของอิเล็กตรอน
ℎ𝑐
• ความถีข่ องการแผ่รงั สีหาได้โดย 𝐸𝑖 − 𝐸𝑓 = ℎ𝑓 =
𝜆
• ถ้าโฟตอน (Photon) ถูกดูดกลืน (Absorb) อิเล็กตรอนจะเปลีย่ นสถานะ
คงตัวเริม่ ต้นพลังงานต่า (Ei) ไปยังสถานะคงตัวพลังงานสูงกว่า (Ef)

27
Bohr’s Postulates for Hydrogen, 4
• ขนาดของวงโคจรหรือรัศมีของอิเล็กตรอนทีเ่ ป็ นไปได้ กาหนดโดย
โมเมนตัมเชิงมุมของวงโคจรอิเล็กตรอน

• วงโคจรของอิเล็กตรอนดังกล่าว จะมีคา่ ไม่ต่อเนื่อง (Quantized) และมี


ค่าเท่ากับจานวนเต็มเท่าของ ℏ=ℎ/2𝜋

𝐿𝑛 = 𝑚𝑒 𝑣𝑟 = 𝑛ℏ
n = 1,2,3,… Quantization of angular momentum

h = 6.626x10-34 Js
𝑛ℎ
• ความเร็วของอิเล็กตรอนในวงโคจร 𝑣=
2𝜋𝑚𝑒 𝑟
28
Bohr’s Postulates for Hydrogen, 4
• จากกฎของคูลอมบ์และกฎข้อทีส่ องของนิวตัน จะได้วา่
Orbital radii in the Bohr model

𝑛2 ℎ2 2𝑎
𝑟𝑛 = 𝜖0 = 𝑛 0
𝜋𝑚𝑒 2
Bohr raius
ℎ2
𝑎0 = 𝜖0 2
= 5.29 × 10−11 𝑚
𝜋𝑚𝑒

Orbital speeds in the Bohr model

1 𝑒2
𝑣𝑛 =
𝜖0 2𝑛ℎ
29
Bohr Radius
• รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนแบบบอห์รจะมีคา่ ไม่ตอ่ เนื่อง (Quantized)
𝑛ℏ 𝑘𝑒 𝑒 2
𝑣= 𝑣2 =
𝑚𝑒 𝑟 𝑚𝑒 𝑟

𝑛 2 ℏ2 1
𝑟𝑛 = 𝑘𝑒 =
4𝜋𝜖0
𝑚𝑒 𝑘𝑒 𝑒 2
• จากสมการแสดงว่า อิเล็กตรอนสามารถครอบครองวงโคจรได้เพียงเฉพาะค่า ซึง่ กาหนดโดย
เลข n
• เมื่อ n = 1 วงโคจรจะมีรศั มีเล็กที่สดุ เรียกว่า รัศมีบอห์ร (Bohr radius, ao)
• ao = 0.0529 nm

30
Bohr’s Postulates
• สมมติฐานของบอห์ร เป็ นการผสมทฤษฎีพืน้ ฐานร่วมกับแนวคิดใหม่
• Postulate 1 – จากกลศาสตร์ยคุ เก่า
• พิจารณาอิเล็กตรอนในวงโคจรรอบนิวเคลียส เช่นเดียวกับวงโคจรโลกโคจรรอบดวง
อาทิตย์
• Postulate 2 – แนวคิดใหม่
• เป็ นแนวคิดที่ประหลาดสุดขัว้ เนื่องจากความเข้าใจในแม่เหล็กไฟฟ้าในสมัยนัน้ ยังไม่
ชัดเจนเพียงพอ
• Postulate 3 – พืน้ ฐานทางด้านการอนุรกั ษ์พลังงาน
• Postulate 4 – แนวคิดใหม่
• ใช้พืน้ ฐานทางด้านควอนตัม โดยไม่ได้ใช้พืน้ ฐานของฟิ สิกส์ยคุ เก่า

31
Energy of Obits
• พลังงานของแต่ละวงโคจรคือ
𝑘𝑒 𝑒 2 1
𝐸𝑛 = − 𝑛 = 1,2,3, …
2𝑎0 𝑛2
• หรือเขียนได้วา่
13.606 𝑒𝑉
𝐸𝑛 = −
𝑛2

32
Energy Level Diagram
• ระดับชัน้ บนสุด E = 0 แสดงสถานะซึง่ อิเล็กตรอนถูกดึงออกจากอะตอม
• ความถี่ของโฟตอนที่ถกู ปลดปล่อยเมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะจากวงโคจร
นอกมายังวงโคจรในคือ
𝐸𝑖 − 𝐸𝑓 𝑘𝑒 𝑒 2 1 1
𝑓= = −
ℎ 2𝑎0 ℎ 𝑛𝑓2 𝑛𝑖2

33
Energy Level Diagram

34
Energy Level Diagram
• เขียนในรูปความยาวคลื่นได้วา่
1 𝑓 𝑘𝑒 𝑒 2 1 1
= = − Rydberg constant
𝜆 𝑐 2𝑎0 ℎ𝑐 𝑛𝑓2 𝑛𝑖2
𝑘𝑒 𝑒 2 𝑚𝑒 4
𝑅𝐻 = = 2 3 = 1.097 × 107 𝑚−1
2𝑎0 ℎ𝑐 8𝜖0 ℎ 𝑐
1 1 1
= 𝑅𝐻 2 − 2
𝜆 𝑛𝑓 𝑛𝑖

35
Example
จงหาพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ และพลังงานรวมของอะตอม
ไฮโดรเจนที่สถานะกระตุน้ อันดับแรก และหาความยาวคลื่นที่
ปลดปล่อยออกมาจากการเปลี่ยนระดับชัน้ พลังงานไปที่สถานะพืน้

36
Extension to Other Atoms
แบบจาลองบอห์รสาหรับอะตอมไฮโดรเจนสามารถนาไปใช้สาหรับธาตุอ่ืนๆ ได้ เฉพาะกลุม่ ที่มี
การย้ายอิเล็กตรอนเพียงหนึ่งตัวเท่านัน้
𝑎0
𝑟𝑛 = 𝑛2
𝑍
𝑘𝑒 𝑒 2 𝑍 2
𝐸𝑛 = − 𝑛 = 1,2,3, …
2𝑎0 𝑛2

Z คือเลขอะตอม (atomic number) ของธาตุ และคือจานวนโปรตอนในนิวเคลียส


𝑍2
𝐸𝑛 = −13.6 𝑒𝑉 2
𝑛

37
Difficulties with the Bohr Model
• ด้วยเทคนิคทางสเปกโทรสโกปี ท่ีพฒ ั นาขึน้ พบว่าเส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจน
ไม่ใช่เส้นเดี่ยว แต่ประกอบด้วยกลุม่ ของเส้นที่อยูใ่ กล้กนั มากๆ
• เส้นสเปกตรัมเดี่ยวบางเส้น สามารถแยกได้เป็ น 3 เส้นเมื่ออยูส่ นามแม่เหล็ก
• แบบจาลองของบอห์รไม่สามารถใช้ได้สาหรับสเปกตรัมของอะตอมที่ซบั ซ้อน
• การทดลองการกระเจิง แสดงให้เห็นว่าอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนไม่ได้
เคลื่อนที่เป็ นวงกลมเรียบ แต่เป็ นทรงกลม
• โมเมนตัมเชิงมุมที่สถานะพืน้ ของอะตอมมีคา่ เป็ นศูนย์

38
Bohr’s Correspondence Principle
• Bohr’s correspondence
principle กล่าวว่าฟิ สิกส์ควอนตัม
สอดคล้องกับฟิ สิกส์ยคุ เก่า เมื่อผลต่าง
ระหว่างระดับความไม่ตอ่ เนื่อง มีค่าน้อย
มากจนสามารถละได้
• จากปั ญหาเกี่ยวกับแบบจาลองของบอห์ร
พร้อมกับทฤษฎีควอนตัม แสดงให้เห็นว่า
ตาแหน่งการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเป็ น
แค่ความน่าจะเป็ น ไม่ใช่ตาแหน่งวงโคจร
ที่แน่นอน ซึง่ ทาให้เกิดแบบจาลอง
Electron Cloud

39
Questions
1. อะตอมไฮโดรเจนอยูใ่ นสถานะพืน้ โฟตอนพลังงาน 10.5 eV ตกกระทบ
อะตอมไฮโดรเจน ข้อใดถูกต้อง
1. อะตอมถูกกระตุน้ ไปยังสถานะทีส่ งู กว่า
2. อะตอมถูกไอออไนซ์
3. โฟตอนผ่านอะตอมไปโดยไม่เกิดอะไรขึน้

2. อะตอมไฮโดรเจนทาให้เกิดการเปลีย่ นสถานะจากระดับ n = 3 ไปยัง n = 2


หลังจากนัน้ จึงเปลีย่ นสถานะจากระดับ n = 2 ไปยัง n = 1 การเปลีย่ นแปลง
สถานะไหนทีท่ าให้เกิดการปลดปล่อยโฟตอนความยาวคลื่นยาว
1. การเปลีย่ นสถานะจาก n = 3 ไปยัง n = 2
2. การเปลีย่ นสถานะจาก n =2 ไปยัง n = 1
3. ความยาวคลื่นทัง้ สองมีคา่ เท่ากัน

40
X-Ray Spectra
• X-rays เป็ นผลจากการช้าลงของอิเล็กตรอนพลังงานสูงที่
วิง่ ชนเป้ าโลหะ
• การสูญเสียพลังงานจลน์สามารถเป็ นไปได้ตงั ้ แต่ 0 ถึง
พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนทัง้ หมด
• สเปกตรัมทีต่ ่อเนื่องเรียกว่า bremsstrahlung, เป็ น
ภาษาเยอรมันแปลว่า “braking radiation”
• เส้นทีไ่ ม่ต่อเนื่องเรียกว่า characteristic x-rays
• อิเล็กตรอนพุง่ ชนอะตอมของเป้ า
• อิเล็กตรอนชัน้ ในสุด (inner shell electron) หลุดออกมา
• อิเล็กตรอนจากชัน้ บนเปลีย่ นสถานะตกลงมาแทนทีช่ นั ้ ในสุด

41
X-Ray Spectra
• โดยทัวไป
่ พลังงานของการเปลีย่ นสถานะจะ
มากกว่า 1 000 eV และโฟตอนของ x-ray ที่
ปลดปล่อยออกมา มีความยาวคลื่นในช่วง
0.01 nm ถึง 1 nm.
𝐸𝐾 = −𝑍 2 13.6 𝑒𝑉

42
Moseley Plot
• Henry G. J. Moseley แสดงกราฟเลขอะตอมและความ
ยาวคลื่นตามรูป
• λ คือค่าความยาวคลื่นเส้น K ของแต่ละธาตุ
• จากกราฟ, Moseley พัฒนาตารางธาตุซง่ึ สอดคล้องกับ
คุณสมบัตทิ างเคมี

43
Questions
1. ในหลอด X-ray เราสามารถเพิม่ พลังงานของอิเล็กตรอนทีต่ กกระทบเป้ า
โลหะ ความยาวคลื่นของ characteristic x-rays จะเปลีย่ นไปอย่างไร
1. เพิม่ ขึน้
2. ลดลง
3. คงเดิม
2. เป็ นไปได้หรือไม่ทส่ี เปกตรัม x-ray จะแสดงสเปกตรัมต่อเนื่องของ x-rays
โดยไม่มcี haracteristic x-rays.
3. จงประมาณพลังงานของ characteristic x-ray ทีถ่ กู ปลดปล่อยจากเป้ า
ทังสเตน (Tungsten) เมือ่ อิเล็กตรอนตกลงจากชัน้ M (n = 3) ไปยังชัน้ ที่
ว่าง K (n = 1) เมือ่ เลขอะตอมของทังสเตน ZK = 74 และ ZM = 65

44
The laser
อะตอมปล่ อ ยโฟตอนออกมาตามธรรมชาติท่ี
ความถี่ f เมือ่ มีการเปลีย่ นระดับชัน้ พลังงานจาก
สถานะกระตุ้นมายังสถานะต่ากว่า อะตอมที่อยู่
ในสถานะกระตุ้น สามารถปล่ อ ยโฟตอนแบบ
กระตุน้ ได้ เมือ่ มีอะตอมถูกกระตุน้ เพิม่ โดยแสง

LASER = Light Amplification by


Stimulated Emission of Radiation

45
Stimulated Absorption
เมื่อ โฟตอนมีพ ลัง งานเท่ า กับ ผลต่ า งของระดั บ
พลังงาน โฟตอนนัน้ จะถูกดูดกลืนได้โดยอะตอม
การดูดกลืนนี้จะเรียกว่า stimulated absorption
เพราะว่าโฟตอนกระตุ้น (stimulates) อะตอมให้
สถานะเพิม่ ขึน้
ทีอ่ ุณหภูมปิ กติ อะตอมส่วนใหญ่จะอยู่ท่สี ถานะพืน้
(Ground states)
การดูดกลืนโฟตอน เป็ นผลให้อะตอมอยูใ่ นสถานะ
กระตุน้ (Excited states)

46
Spontaneous Emission
เมื่อ อะตอมอยู่ในสถานกระตุ้น อะตอมนั ้นจะ
เปลีย่ นสถานะไปยังระดับพลังงานทีต่ ่ากว่า
เรียกกระบวนการนี้วา่ spontaneous emission

47
Stimulated Emission
Stimulated emission จะเกิดขึน้ เมื่อสถานะ
กระตุน้ อยู่ในสถานะกึง่ เสถียร (metastable state)
ซึง่ มีชว่ งชีวติ (lifetime) มากกว่า 10-8 s
โฟตอนที่ก ระทบเข้า มาท าให้อ ะตอมกลับ มาที่
สถานะพืน้ โดยทีไ่ ม่ถกู ดูดกลืน
ดัง นั ้น แล้ ว จะได้ โ ฟตอนสองตัว ที่ ม ีพ ลัง งาน
เหมือนกันทุกประการ ซึ่ง โฟตอนทัง้ สองตัวจะมี
เฟสและทิศการเคลื่อนทีต่ รงกัน

48
Properties of Laser Light
• แ ส ง เ ล เ ซ อ ร์ ม ี ค ว า ม เ ป็ น อ า พั น ธ์
(Coherent)
• รัง สีแ ต่ ล ะตัว ในล าเลเซอร์ จ ะมี เ ฟสที่
สัมพันธ์ซง่ึ กันละกัน
• แ ส ง เ ล เ ซ อ ร์ เ ป็ น แ ส ง สี เ ดี ย ว
(Monochromatic)
• แสงเลเซอร์มชี ่วงความยาวคลื่นที่แคบ
มากๆ
• แสงเลเซอร์มมี ุมการขยาย (angle of
divergence) ขนาดเล็กมากๆ
• ล าของเลเซอร์ จ ะขยายออกเพี ย ง
เล็กน้อย ถึงแม้ทเ่ี ส้นทางไกลๆ

49
Energy-Level Diagram for Neon in a He-Ne Laser

• อะตอมจะปลดปล่ อ ยโฟตอนที่ค วาม


ยาวคลื่น632.8 nm ผ่านกระบวนการ
stimulated emission.
• การเปลีย่ นสถานะเกิดจาก E3* to E2
• * คือสถานะกึง่ เสถียร

50
Exercises
1. ทาไม stimulated emission จึงสาคัญต่อกระบวนการเกิดแสงเลเซอร์
2. สมมติวา่ อิเล็กตรอนไฮโดรเจน เป็ นแบบกลศาสตร์ยคุ เก่า ไม่ใช่กลศาสตร์ควอนตัม ทาไมก๊าซตามข้อ
สมมตินี ้ จึงควรปลดปล่อยสเปกตรัมแบบต่อเนื่องมากกว่าแบบเส้น
3. จาก energy level diagram จงหา
1. ค่าพลังงาน E2 เมื่อให้โฟตอนความยาวคลื่น 543 nm ออกมา
2. ความยาวคลื่นของโฟตอนสีแดง

51
Exercises
1. จงหาระดับพังงาน E1 E2 E3 E4 และ E5

52

You might also like