You are on page 1of 3

[วิทยาศาสตร์ ป.

6 - (ชุดที่ 1)] Science-Prathom6(1)

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 4 วงจรไฟฟ้า และแม่เหล็กไฟฟ้า

1. การต่อวงจรอย่างง่าย
วงจรไฟฟ้า หมายถึง ทางเดินของกระแสไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ
1) แหล่ ง ก าเนิด ไฟฟ้ า หมายถึ ง แหล่ ง จ่ า ยกระแสไฟฟ้ า ให้ กั บ วงจนไฟฟ้ า แหล่ ง ก าเนิ ด ไฟฟ้ า ได้ แ ก่
ถ่านไฟฉาย (เซลล์ไฟฟ้า) แบตเตอรี่
2) ตัวนาไฟฟ้า หมายถึง สิ่งที่นากระแสไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้า ตัวนากระแสไฟฟ้า
คือสายไฟ
3) เครื่องใช้ไฟฟ้าฟ้า หมายถึง สิ่งที่สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานรูปอื่น เช่น หลอดไฟ
มอเตอร์ไฟฟ้า ออดไฟฟ้า เป็นต้น

อุปกรณ์ที่ใช้ตัดต่อวงจรไฟฟ้า เรียกว่า สวิตซ์ไฟฟ้า


 วงจรไฟฟ้าปิด หมายถึง การต่อวงจรไฟฟ้าครบวงจนทาให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานได้
 วงจรไฟฟ้าเปิด หมายถึง การต่อวงจรไฟฟ้าไม่ครบวงจร ส่งผลให้เครื่องใช้ไฟฟ้าไม่ทางาน
 ขณะปิดสวิตซ์ไฟฟ้า เป็นการตัดวงจรไฟฟ้า เรียกว่า วงจรไฟฟ้าเปิด ขณะที่เปิดสวิตซ์ไฟฟ้า เป็นการต่อ
วงจรไฟฟ้า เรียกว่า วงจนไฟฟ้าปิด

การเขียนสัญลักษณ์แทนอุปกรณ์ไฟฟ้า
อุปกรณ์ไฟฟ้า สัญลักษณ์
1. สายไฟ

2. เซลล์ไฟฟ้า 1 เซลล์
(ขีดยาวแทนขัว้ บวก ขีดสั้นแทนขั้วลบ )
เซลล์ไฟฟ้า 2 เซลล์
(เรียกว่า แบตเตอรี่)
3. หลอดไฟฟ้า
4. สวิตซ์ไฟฟ้า (เปิดสวิตซ์ไฟฟ้า)
สวิตซ์ไฟฟ้า (เปิดสวิตซ์ไฟฟ้า)

1
[วิทยาศาสตร์ ป.6 - (ชุดที่ 1)] Science-Prathom6(1)

อุปกรณ์ไฟฟ้า สัญลักษณ์
5. มอเตอร์ไฟฟ้า
6. แอมมิเตอร์

การต่อเซลล์ไฟฟ้าตั้งแต่ 2 เซลล์ขึ้นไป เรียกว่า แบตเตอรี่


แอมมิเตอร์ คือ เครื่องมือที่ใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้า มีหน่อยเป็น แอมแปร์ (A)

2. ตัวนาไฟฟ้า และฉนวนไฟฟ้า
ตัวนาไฟฟ้า หมายถึง วัสดุที่ มีสมบัตินาไฟฟ้า โดยยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ เช่น วัสดุที่เป็นโลหะ
ต่าง ๆ ได้แก่ ทองแดง เหล็ก สังกะสี อลูมิเนียม ตะกั่ว เงิน ฯลฯ
ฉนวนไฟฟ้า หมายถึง วัสดุ ที่มีสมบัตินาไฟฟ้า โดยยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ เช่น วัสดุที่เป็นโลหะ
ต่าง ๆ ได้แก่ ทองแดง เหล็ก สังกะสี อลูมิเนียม ตะกั่ว เงิน ฯลฯ

3. การต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลล์ไฟฟ้า หรือถ่านไฟฉายต่อได้ 2 แบบ คือ
1) การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม คือ การนาเอาเซลล์ไฟฟ้าต่อกัน โดยต่อขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หนึ่ง
เข้ากับขั้วลบของเซลล์ไฟฟ้าอีกเซลล์หนึ่ ง ผลของการต่อเซลล์แบบอนุกรม จะทาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
เครื่องใช้ไฟฟ้ามากขึ้น

2) การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน คือ การนาเซลล์ไฟฟ้าวางขนานกันทุกก้อนต่อขั้วบวกเข้าด้วยกันก่อน และ


ต่อขั้วลบเข้ากันก่อน แล้วจึงต่อขั้วทั้งสองเข้ากับเครื่องใช้ไฟฟ้า ผลของการต่ อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนานจะได้
ค่ากระแสไฟฟ้าเท่ากับเซลล์ไฟฟ้าเดียว แต่จะช่วยให้ใช้งานได้นานขึ้นกว่าเดิม

2
[วิทยาศาสตร์ ป.6 - (ชุดที่ 1)] Science-Prathom6(1)

4. การต่อหลอดไฟฟ้า
การต่อหลอดไฟฟ้า มี 2 แบบ คือ
1) การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงเป็นวงจรเดียวกัน หาก
หลอดไฟฟ้าดวงหนึ่งชารุด จะทาให้หลอดไฟฟ้าอีกดวงดับไปด้วย

2) การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน โดยหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงจะมีวงจรเป็นของตัวเอง ถ้าหากหลอดไฟฟ้าดวง


หนึ่งชารุด หลอดไฟฟ้าอีกดวงหนึ่งยังคงสว่างอยู่

5. แม่เหล็กไฟฟ้า
ฮันส์ คริสเตียน เออร์สเตด ชาวเดนมาร์ก ได้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างแม่เหล็ กกับกระแสไฟฟ้าว่า เมื่อมี
กระแสไฟฟ้าไหลในลวดตัวนาใด ๆ จะเกิดอานาจแม่เหล็กขึ้นรอบ ๆ ตัวนานั้น
เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าไปตามขดลวดที่พันรอบตะปู จะเกิดอานาจแม่เหล็ กขึ้นรอบ ๆ ขดลวด ส่งผลให้ตะปู
กลายเป็นแม่เหล็ก เรียกแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้านี้ว่า แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้ามีประโยชน์ เชน ใช้สร้างปั้นจั่น เพื่อคัดแยกเศษเหล็ก กระดิ่งไฟฟ้า มอเตอร์

You might also like