You are on page 1of 117

วิชาไฟฟ้ าเบื้องต้น

นิยามคําศัพท์ เกีย่ วกับไฟฟ้า


นิยามคําศัพท์เกี่ยวกับไฟฟ้ า
แรงดัน (Voltage) คือ ค่าความสามารถในการผลักดันให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนํา
( เป็ นการเปรี ยบเทียบค่าแรงดันระหว่างตัวนํา 2 จุด ในวงจรเดียวกันที่มี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านสองจุดนัน้ )
โวลต์ (V หรื อ Volt) คือ หน่วยของแรงดันไฟฟ้า
( E = Electromotive Force ) แรงเคลื่อนไฟฟ้า
ระดับแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับในประเทศไทย แบ่งเป็ น 2 ระดับ คือ
แรงดันตํ่า 0-1000 โวลท์
แรงดันสูง ตังแต่
้ 1000 โวลท์ ขึ ้นไป
การไฟฟ้านครหลวง แรงดัน ตํ่า(ในบ้ าน) 220-240 โวลท์
แรงดันสูง 24 – 115 กิโลโวลท์

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค แรงดัน ตํ่า(ในบ้ าน) 230 โวลท์


แรงดันสูง 22 – 115 กิโลโวลท์
การไฟฟ้าฝายผลิตแห่งประเทศไทย แรงดันสูง 22 – 500 กิโลโวลท์
กระแสไฟฟ้า
กระแส ไฟฟ้า(Current) คือ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากอะตอมหนึง่ ไปอีกอะตอมหนึง่ หรื อ
เรี ยกว่ากระแสไหลในตัวนํา
แอมป์ หรื อ แอมแปร์ (A หรื อ Ampere) คือ หน่วยของปริ มาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน
ตัวนํา
(1 กิโลแอมแปร์ (kA) เท่ากับ 1,000 แอมแปร์ ) หรื อ (1 แอมแปร์ = 1,000 มิลลิแอมแปร์ )
ความต้านทานไฟฟ้ า
ความต้ านทาน (Resistance)

โอห์ม ( ) คือ หน่วยของความต้ านทาน


กําลังไฟฟ้ า Electrical Power
วัตต์ (W หรื อ Watt) คือ หน่วยที่ใช้ เรี ยกขนาดกําลังไฟฟ้าจริง เช่น เตารี ดมี
กําลังไฟฟ้า 1,000 วัตต์
สูตรคํานวณ กําลัง แรงดัน กระแส ไฟฟ้า

P = า ฟ้(W)
ฟไงั ล
P I = กระแสไฟฟ้ า(A)
I E E = า้(V)ฟฟไนั
กําลังไฟฟ้ า Electrical Power

W W = า(W)
ฟ้ ฟไงั ล
I = กระแสไฟฟ้ า(A)
I V V = า้(V)ฟฟไนั
ตัวอย่าง เตารี ดไฟฟ้ ามีกาํ ลัง 2300 W ใช้กระแสกี่แอมแปร์

I = 10(A)
ตัวอย่าง เตารี ดไฟฟ้ าใช้กระแส 2 แอมแปร์ มีกาํ ลังไฟฟ้ า?

W
W = 2x230 = 460 W
I X V
สิ่ งสําคัญที่ควรทราบ

ไฟฟ้ าดูดกระแสไหลผ่านร่ างกายกี่แอมป์


กระแสไฟฟ้ าที่เป็ นอันตรายต่อร่ างกายมีกี่แอมป์
RCD (Residual current device)

30 mA 0.04s
ความรุ นแรงจากการโดนไฟฟ้ าดูดขึ้นกับอะไรบ้าง
ขนาดของแรงดันไฟฟ้าและปริ มาณกระแสไฟฟ้าที่สมั ผัส (ยิ่งมากยิ่งรุนแรง)

ระยะเวลาที่สมั ผัสกับกระแสไฟฟ้า( ยิ่งนานยิ่งอันตราย)

ความต้ านทานของร่างกาย (ยิ่งมากยิ่งดี)

สภาวะสิง่ แวดล้ อมต่างๆในขณะที่สมั ผัส เช่น พื ้นเปี ยกจะทําให้ ความรุนแรงเพิ่มขึ ้น

ความถี่(Frequency) ความถี่ยิ่งสูงยิ่งอันตราย
ผลของกระแสไฟฟ้าทีม่ ีต่อมนุษย์
การช็อต (กระตุก)

เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย จะทําให้ สว่ นที่สมั ผัสโดนนันรู


้ ้ สกึ เจ็บปวดมาก ซึง่
ทําให้ กล้ ามเนื ้ออ่อนเพลียหัวใจทํางานผิดปกติอาจทําให้ สลบหรื อถึงแก่ความตายได้
แผลไหม้
ส่วนของร่างกายที่สมั ผัสกับกระแสไฟฟ้าจะเกิดรอยไหม้ ซึง่ แผลที่เกิดขึ ้นนันจะ

ต่างกับแผลไฟไหม้ คือรอยไหม้ จะแห้ งและลึก
ผิวหนังจะขาวและเหี่ยว เมื่อถูกไฟไหม้ ใหม่ ๆ และใน 3-4 วันต่อมา แผลจะขยาย
ลึกลงไปมากกว่าเดิม
ปริ มาณกระแสไฟฟ้ าที่มีผลต่อร่ างกาย
• น้ อยกว่า 1mA ไม่มีผลต่อความรู้สกึ
• 1 -16 mA รู้สกึ ว่าไฟดูด บางทีร้ ูสกึ เจ็บปวดและอาจเกิดการสูญเสีย
กล้ ามเนื ้อ
• 16-100 mA เกิดความเจ็บปวดเนื่องจากโดนไฟฟ้าดูด กล้ ามเนื ้อ
หดตัว หายใจติดขัด การเต้ นของหัวใจผิดปกติ
• 100 -250 mA กล้ ามเนื ้อหัวใจกระตุกอย่างรุนแรง หัวใจหยุดเต้ น
อาจเสียชีวิตได้ หากไม่ได้ รับการปฐมพยาบาลอย่างถูกต้ อง
• มากกว่า 250 mA เกิดแผลไฟไหม้ บริเวณที่สมั ผัสและจุดที่มี
กระแสไฟไหลออกอย่างแรง หัวใจจะหยุดเต้ นทันที
ปริ มาณกระแสไฟฟ้ าที่มีผลต่อร่ างกาย
ความต้านทานของร่ างกาย
• กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านร่างกายมากหรื อน้ อย ขึ ้นอยูก่ บั ความต้ านทาน
ซึง่ เป็ นองค์ประกอบที่สําคัญอย่างหนึง่ ความต้ านทานของร่างกายคน
เปลี่ยนแปลงได้ ขึ ้นอยูก่ บั คุณสมบัตทิ างกายภาพ ของแต่ละคน สภาวะ
ทางด้ านอารมณ์และความชื ้นบนผิวหนัง ความต้ านทานของร่างกายจะ
ลดลงอย่างมากเมื่อผิวหนังเปี ยกชื ้น
ค่าความต้านทานต่อการไหลของกระแสไฟฟ้ าของร่ างกาย
ส่วนต่างๆของร่างกาย ความต้ านทาน (โอห์ม)

ผิวหนังแห้ ง 100,000 – 600,000

ผิวหนังเปี ยกชื ้น 1,000

ภายในร่างกาย จากมือถึงเท้ า 400 -600

หูซ้ายถึงหูขวา ประมาณ 100


สายดินช่วยเราได้อย่างไร
• สายดิน หมายถึง ตัวนําหรือสายไฟที่ต่อจากส่ วนที่เป็ นตัวนํา
ไฟฟ้าหรือเปลือกโลหะของอุปกรณ์ ไฟฟ้าซึ่งปกติเป็ นส่ วนที่ไม่ มี
ไฟและเพื่อให้ เป็ นเส้ นทางที่สามารถนํากระแสไฟฟ้ากรณีท่ มี ีไฟ
รั่ วให้ ไหลลงดินโดยผู้ใช้ ไฟไม่ เกิดอันตราย
• ประโยชน์ ของสายดิน ป้องกันไม่ ให้ มีผ้ ูถูกไฟฟ้าดูด กรณีท่ มี ี
กระแสไฟฟ้ารั่วจากเครื่องใช้ ไฟฟ้า
การป้ องกันอันตราย เมื่อปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟ้ า
• 1.สวมใส่อปุ กรณ์ค้ มุ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล โดยเฉพาะรองเท้ า
นิรภัยและถุงมือยางป้องกันแรงดันไฟฟ้า
• 2.เลือกใช้ อปุ กรณ์ไฟฟ้าที่ได้ มาตรฐานและไม่ชํารุด
• 3.ใช้ เต้ ารับ – เต้ าเสียบที่ได้ มาตรฐานและไม่ชํารุด
• 4.การติดตั ้งอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างถูกต้ อง เช่น ติดตั้งระบบสายดิน
• 5.การใช้ เครื่ องจักรและอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี
• 6.ใช้ ไขควงทดสอบไฟก่อนใช้ มือสัมผัสอุปกรณ์
• 7.ตรวจสภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า ก่อนการใช้ งาน (ประจําวัน เดือน ไตรมาส ทุก 6
เดือน ทุก 1ปี )
การป้ องกันอันตราย เมื่อปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟ้ า
• 8.การใช้ ป้ายเตือน เช่น ป้ายห้ ามแตะ ป้ายห้ ามเข้ า
• 9.การปฏิบตั ติ ามกฎความปลอดภัยในการทํางานให้ เหมาะกับอันตราย
และความเสี่ยง
มาตรการป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ า
1 เลือกอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ได้ รับมาตรฐานความปลอดภัย

2 เลือกใช้ เครื่ องป้องกันวงจรไฟฟ้า ที่ถกู ต้ องและเหมาะสม

3 เลือกอุปกรณ์ไฟฟ้าหรื อเดินสายไฟฟ้าให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อม

4 การต่อสาย ต้ องต่อให้ แน่นสนิทและเรี ยบร้ อย เช่นใช้ Sleeve ต่อสายไฟ

5 มีการตรวจสอบสภาพอุปกรณ์ไฟฟ้าและสายไฟฟ้าตามระยะเวลาที่กําหนด
Sleeve ต่อสายไฟฟ้ า
ThermoScan
ตัวอย่าง Report ThermoScan
มาตรการป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ า
6 การติดตังอุ
้ ปกรณ์ไฟฟ้า
ติดตังโดยผู
้ ้ มีความรู้ความชํานาญ และถูกต้ องตาม วสท.
7 การป้องกันไม่ให้ เกิด กระแสไฟฟ้าลัดวงจร
หลีกเลี่ยง การทํางานขณะที่มีกระแสไฟฟ้า
ป้องกันการเกิดประกายไฟ โดยใช้ เบรกเกอร์ ที่เหมาะสม
เช่น ใช้ ACB ใช้ ในกระแสสูงๆ
8 เมื่อเลิกใช้ ให้ ปิ ดสวิทช์ หรื อถอดปลัก๊ ออก
โดยเฉพาะอุปกรณ์ไฟฟ้าประเภทที่ให้ ความร้ อน
9 ปฏิบตั ิตามมาตรฐานกฎหมายต่างๆ ที่กําหนด
ไขควงวัดไฟ
ไขควงวัดไฟ

หลอดนีออน
นาทนา ต้ มา วค
500 ม์หอโลโ กิ
ไขควงวัดไฟ

วงจรกระแสไหลผ่านร่างกาย
ไขควงใช้วดั แรงดัน 380VAC ได้หรื อไม่
ไขควงใช้วดั แรงดัน 380VAC ได้หรื อไม่
ไขควงวัดไฟชนิดต่างๆ
ไขควงวัดไฟชนิดต่างๆ
เครื่ องวัดแรงดันไฟฟ้ าโดยไม่ตอ้ งสัมผัส 20 -600V
NON-CONTACT 20V-600V AC VOLTAGE DETECTOR ( CAT IV )
ไขควงวัดไฟชนิดต่างๆ
ข้อควรระวังในการใช้งานของไขควงวัดไฟ ไขควงลองไฟ
เมื่อใช้ ไขควงลองไฟหรื อไขควงวัดไฟต้ องระวังอะไรบ้ าง? เพื่อความปลอดภัย
ของผู้ใช้ งาน ดังนี ้
• 1. ควรเลือกไขควงวัดไฟที่มขี นาดเหมาะสมกับชนิดของไฟฟ้า โดยไฟฟ้ากระแสตรง DC คือ ไฟฟ้าที่ใช้
ในรถยนต์ หรื อไฟฟ้ากระแสสลับ AC จะใช้ กบั ไฟที่มาจากการไฟฟ้า

• 2. นอกจากชนิดของไฟฟ้า ขนาดแรงดันของไฟฟ้าก็ต้องพอเหมาะ ไม่สงู หรื อตํ่าเกินไป เช่น การวัด


กระแสไฟฟ้าในบ้ านซึง่ ใช้ ไฟ 200-250 โวลต์ ไม่ควรใช้ ไขควงวัดไฟสําหรับแรงดัน 80-125 โวลต์ เป็ นต้ น
และห้ ามนําไขควงวัดไฟ ไปใช้ ทดสอบกับไฟฟ้าที่ไม่ร้ ูคา่ แรงดัน หรื อไฟฟ้าแรงสูงเด็ดขาด

• 3. การจับไขควงวัดไฟขณะใช้ งาน ต้ องระวังไม่ไปแตะบริ เวณปลายไขควงส่วนที่เปลือยเด็ดขาด ควรใช้ ไข


ควงวัดไฟที่ด้ามจับอยู่ในสภาพสมบูรณ์ หุ้มด้ วยฉนวนที่ไม่นําไฟฟ้าอย่างแก้ ว หรื อพลาสติก และอาจใช้
เทปพันสายไฟพันให้ รอบ เพื่อช่วยป้องกันการเกิดไฟฟ้าลัดวงจรจากการใช้ งาน ที่ไม่ระมัดระวังเพียงพอ
ด้ วย

• 4. การใช้ ไขควงวัดไฟที่ถกู วิธี คือการนําปลายไขควงเช็คไฟไปแตะที่ตวั นําที่ต้องการทดสอบก่อน แล้ วจึง


ใช้ นิ ้วแตะปุ่ มโลหะบริ เวณด้ ามจับ ในขณะที่ถอดรองเท้ า และไม่ยืนอยู่บนพื ้นฉนวน เพื่อให้ ไฟฟ้าไหลครบ
วงจร และสามารถแสดงค่าแรงดันที่ถกู ต้ องได้
ข้อควรระวังในการใช้งานของไขควงวัดไฟ ไขควงลองไฟ
• 5. ทุกครัง้ ที่ใช้ งานไขควงวัดไฟ ให้ ระมัดระวัง และนึกเสมอว่าอาจมีอนั ตราย เช่น ตัวไขควงวัดไฟอาจชํารุด
หรื อมีการลัดวงจรภายในได้ การใช้ งานจึงต้ องแตะพียงเล็กน้ อยเท่านัน้

• 6. เวลาแตะตัวนําไฟฟ้าต้ องระมัดระวังไม่ให้ ไขควงวัดไฟไปแตะโดนส่วนอื่น ที่เป็ นขัวไฟฟ


้ ้ าคนละขัวพร้้ อม ๆ
กัน โดยเฉพาะในพื ้นที่แคบ ๆ เช่น การแตะโดนขัวไฟต่
้ างเฟส หรื อขัวมี
้ ไฟแตะกับขัวดิ ้ น เป็ นต้ น เพราะจะทํา
ให้ เกิดการลัดวงจร และประกายไฟพุ่งออกมาใส่ผ้ ใู ช้ งานจนอาจบาดเจ็บรุนแรงได้

• 7. ในสถานการณ์ที่มีขวไฟฟ
ั ้ ้ าเปิ ดโล่ง หรื อเปลือย เช่น บริ เวณแผงสวิตช์ หรื อเต้ ารับที่เปิ ดฝาออก ต้ องใช้ ช่าง
ไฟฟ้ามืออาชีพที่มีความชํานาญเฉพาะทางเป็ นผู้ดําเนินการวัดไฟให้ เท่านัน้

• 8. สําหรับไขควงวัดไฟที่ไม่ได้ ใช้ งานมานาน หลอดนีออน หรื อตัวต้ านทานภายในอาจชํารุด ใช้ การไม่ได้ จึง
ควรทดสอบก่อนการใช้ งานจริ ง โดยทดสอบกับส่วนที่ร้ ูวา่ มีไฟแน่นอนเสียก่อน เช่น การแตะปลายไขควงเช็ค
ไฟ เข้ าไปในรูเต้ ารับผนัง จะมีรูหนึง่ เท่านันที
้ ่มีไฟ เป็ นต้ น
แนวทางและวิธีการป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ าดูด
• หลักพื ้นฐาน คือ การไม่สมั ผัสส่วนทีมีไฟฟ้า
• การป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ารั่วที่ดี คือ การมีระบบสายดิน
• มีการตรวจสอบเครื่ องใช้ ไฟฟ้าเป็ นประจํา
กฎของโอห์ม
เป็ นความสัมพันธ์ระหว่าง กระแส แรงดัน ความต้ านทาน ค้ นพบโดย
George Simon Ohm นักฟิ สกิ ส์ชาวเยอรมัน
กฎของโอห์ม

E= า้ ฟฟไนั ดงรแ
E
I = กระแสไฟฟ้า
I X R
R = ความต้ านทานไฟฟ้า
ความต้านทานไฟฟ้ าของร่ างกายมนุษย์
สูตรการคํานวณหากระแสไหลผ่านร่ างกาย

E = 220 V
E I=
R = 1000
I R
I = 0.22 A
สูตรการคํานวณหากระแสไหลผ่านร่ างกาย
สูตร แรงดัน กระแส และ ความต้ านทาน

E = 110 V E = 220 V
R = 1000 R = 1000

I = 0.11 A I = 0.22 A
เมื่อสัมผัสกระแสไฟฟ้ าที่มีค่าต่างกันผลจะเป็ นอย่างไร

20 A 150 A
เมื่อสัมผัสกระแสไฟฟ้ าที่มีค่าต่างกันผลจะเป็ นอย่างไร

20 A 150 A

0.22A 0.22A
เมื่อถูกไฟฟ้ าดูดเบรกเกอร์จะตัดหรื อไม่
เมื่อถูกไฟฟ้ าดูดเบรกเกอร์จะตัดหรื อไม่
10 A

MCCB
0.22 A
MOLDED CASE CIRCUITBREAKER
เมื่อถูกไฟฟ้ าดูดเบรกเกอร์จะตัดหรื อไม่

10 A

MCCB

30mA
RCCB
0.04S
Residual Current Circuit Breaker

0.22 A
เมื่อถูกไฟฟ้ าดูดเบรกเกอร์จะตัดหรื อไม่
MCCB

MOLDED CASE CIRCUITBREAKER


+

RCBO
Residual Current Circuit Breaker With
Overload & Short Circuit Protection

RCCB
Residual Current Circuit Breaker
RCCB เครื่ องตัดกระแสเหลือที่ตดั กระแสลัดวงจรไม่ได้
มอก.2425-2552 ใหม่! เครื่ องตัดไฟรั่วแบบไม่มีอปุ กรณ์ป้องกันกระแสเกิน
Residual Current Circuit Breaker
IEC 61008

RCBO เครื่ องตัดไฟรั่ว ที่ตดั กระแสลัดวงจรได้


มอก.909-2548 เครื่ องตัดไฟรั่วที่ตดั กระแสลัดวงจรและกระแสเกินได้
Residual Current Circuit Breaker With
Overload & Short Circuit Protection
IEC 61009
RCCB
RCBO
การพิจารณาการใช้สายไฟฟ้ าอย่างปลอดภัย

MCCB =100A

2.5 ตร.มม.
การพิจารณาการใช้สายไฟฟ้ าอย่างปลอดภัย
การพิจารณาการใช้สายไฟฟ้ าอย่างปลอดภัย

I =50A MCCB =100A

2.5 ตร.มม. (สายไฟทนกระแสได้ 21Amp)


การพิจารณาการใช้สายไฟฟ้ าอย่างปลอดภัย
การพิจารณาการใช้สายไฟฟ้ าอย่างปลอดภัย

I =50A MCCB =100A

35 ตร.มม. (สายไฟทนกระแสได้ 109 Amp)


อันตรายจากไฟฟ้ า
แบ่ งออกเป็ น 3 แบบ
• กระแสไฟฟ้าไหลผ่ านร่ างกายลงดิน
• ร่ างกายเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบไฟฟ้า
• ไฟฟ้าลัดวงจร
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่ างกายลงดิน
ร่ างกายเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบไฟฟ้ า
ไฟฟ้ าลัดวงจร

R= 100 ม์ หอโ R= 0 ม์ หอโ

V I V I
ไฟฟ้ าลัดวงจร
ไฟฟ้าลัดวงจร หรื อไฟฟ้าชอร์ ต (อังกฤษ: short circuit) เป็ นสภาพผิดปกติ ที่
เกิดจากวงจรไฟฟ้ามีเส้ นทางให้ กระแสไหลจากจุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้าสูง ไปยังจุดที่มี
ศักย์ไฟฟ้าตํ่า โดยแทบไม่ผา่ นความต้ านทานใดๆ, ซึง่ จะทําให้ มีกระแสไฟฟ้าไหล
ผ่านวงจรในปริมาณสูงมาก และเกิดความร้ อนสูงในจุดต่างๆ ของวงจร, ซึง่ หาก
กระแสไม่ถกู ตัดอย่างทันท่วงที มักจะสร้ างความเสียหายกับแหล่งจ่ายไฟ สายไฟ
หรื ออุปกรณ์ไฟฟ้าที่กระแสนันไหลผ่
้ าน, และในบางกรณีที่มีกระแสไฟฟ้าสูงมาก
พอ ในเวลาที่นานพอ ความร้ อนจะสูงจนเกิดประกายไฟ และเป็ นเหตุนําไปสู่
อัคคีภยั ได้
กระแสไฟฟ้ ารั่ว

กระแสไฟฟ้ารั่ว ก็คือการที่กระแสไฟฟ้าได้ ร่ัวไหลจาก


วงจรไฟฟ้าไปที่ผิวของสายไฟฟ้า หรื อโครงของอุปกรณ์
ไฟฟ้า เครื่ องใช้ ไฟฟ้า หรื อรั่วไปที่ผิวของโครง หรื อผนัง
ของจุดติดตังระบบ
้ ไฟฟ้า เช่น เสาโลหะโคมไฟส่องสว่าง
เป็ นต้ น หากเกิดไฟฟ้ารั่วแล้ วมีคนไปสัมผัสอาจทําให้ เกิด
อันตรายถึงชีวิตได้
กระแสไฟฟ้ ารั่ว

10 Amp

220 VAC

10 Amp
กระแสไฟฟ้ ารั่ว

10 Amp

220 VAC

10 Amp
0 Amp
กระแสไฟฟ้าไม่ร่ัว
กระแสไฟฟ้ ารั่ว

10 A

220 VAC

10 A-30mA
30 mA
มีกระแสไฟฟ้ารั่ว 30mA
ไม่มีสายดิน
การป้ องกันไฟฟ้ าดูดโดยการต่อสายดิน
ระบบสายดิน
ระบบสายดิน
ระบบสายดิน
ตู้ MDB : MAIN DISTRIBUTION BOARD
การป้ องกันไฟฟ้ าดูดโดยการต่อสายดิน
a

A N 240V 416V

12 kV,24kV b

B 240V 416V

12 kV,24kV 12 kV,24kV c
240V
C
N

G
นิ งด่ แท

Ground Rod
การต่อสายไฟฟ้ าในตูM
้ ain หลัก 3 เฟส
การต่อสายลงดินไฟ 3 เฟส
นิวทรัลบาร์และกราวด์บาร์ของตู้ MDB
นิวทรัลบาร์ และ กราวด์บาร์ของตู้ MDB ขนาดใหญ่
การต่อสายนิวทรัลบาร์และกราวด์บาร์ของตู ้ MDBกับตูย้ อ่ ย
การต่อสายนิวทรัลบาร์และกราวด์บาร์ของตู้ ย่อย
การต่อสายนิวทรัลบาร์และกราวด์บาร์ของตู ้ MDBกับตูย้ อ่ ย
การต่อสายนิวทรัลบาร์และกราวด์บาร์ของตู ้ MDBกับตูย้ อ่ ย
ค่าความต้านทานของสายดินในตู้ MDB
การต่อระบบสายดินที่ถูกต้อง
ขนาดสายดินเมื่อเทียบกับสายประธาน
ขนาดสายดินต่อกับอุปกรณ์ไฟฟ้ า
การลดค่าความต้านทานของสายดิน
Exothermic Welding
Exothermic Welding
Exothermic Welding
Exothermic Welding
Exothermic Welding
Exothermic Welding
Exothermic Welding
Exothermic Welding
มาตรฐาน IEC 60536
มาตรฐาน IEC 60536
มาตรฐาน IEC 60536
ปลัก๊ ไฟฟ้ าที่ไม่ได้มาตรฐาน
ปลัก๊ ไฟฟ้ าที่ได้มาตรฐาน มอก.
ปลัก๊ ไฟฟ้ าที่ได้มาตรฐาน มอก.
ใช้รถเข็นมีไฟดูด
3x35 SQmm./ NT1x35 SQmm/G 1x25 SQMM.

1
3x50 SQMM./ NT1x35 SQMM./G 1x25 SQMM.

M/C
CB 3P 100A (IC=10KA)

ตู
้ MDB

2
3x50 SQMM./ NT1x35 SQMM./G 1x25 SQMM.

ชนิดทองแดง

M/C
CB 3P 100A (IC=10KA)

BUSBAR

MDB
กาจกออนิดเ ฟไ ยาส

M/C
3x35 SQMM./ NT1x35 SQMM./G 1x25 SQMM.
CB 3P 100A (IC=10KA)

Ladder
ยดโ รกั จงอ่ ื ครขนาด

4
3x35 SQMM./ NT1x35 SQMM./G 1x25 SQMM.

M/C
CB 3P 100A (IC=10KA)

เงั ยปไ100X300 mm.

5
3x35 SQMM./ NT1x35 SQMM./G 1x25 SQMM.
CB 3P 100A (IC=10KA)

LIGHTING
6

3x35 SQMM./ NT1x35 SQMM./G 1x25 SQMM.


CB 3P 100A (IC=10KA)

MACHINE
WELDING

MDB
Lighting Arrester 24 KVx3

CB 3P 600A (IC=40KA)

CTx3 (600/5 A)

3x16 SQMM./ NT1x16 SQMM./G 1x10 SQMM.

CRANE
CB 3P 63A (IC=10KA)
5Ax3
PEA 22 KV ( Over Head)

AS
VS

AIR
3x16 SQMM./ NT1x16 SQMM./G 1x10 SQMM.
A
V

CB 3P 63A (IC=10KA)
R

COMPRESSOR
S
T
Oil Immersed Type

0-500V
การออกแบบวงจรไฟฟ้ า

3x35 SQMM./ NT1x35 SQMM.G 1x25 SQMM.


M/C
่ ใส

CB 3P 100A (IC=10KA
Tranformer 3P4W 22KV/400V-230V/315 KVA
Drop Cut Out Fuse 3 Set 100 A (Fuse Link 15 A)

THW 3X240 sqmm.,N 1x240 sqmm. WireWay ขนาด 4x4"

DRAW BY

SHEET NO.
10

KITRUNGROJ ENGINEERING & SUPPLY CO.LTD APPROVE BY


M/C

3x50 SQMM./ NT1x35 SQMM./G 1x25 SQMM.


CB 3P 150A (IC=25KA)
11

M/C

3x50 SQMM./ NT1x35 SQMM./G 1x25 SQMM.


N

CB 3P 150A (IC=25KA)
G

Suraphol Chotikawan
Ground Rod ø 5/8"-6'

1/1
(G =THW 1X35 SQmm.)

กฟภ
.3861
ณรรว กิ ตชโ ลพ
การกําหนดค่าพิกดั กระแสของเบรคเกอร์
• ค่า IC Interrupting Capacity (IC) เป็ นพิกดั การทนกระแส
ลัดวงจรสูงสุดโดยปลอดภัยของเบรคเกอร์ นนๆ ั ้ โดยปกติกําหนดค่าการ
ทนกระแสเป็ น KA. ค่า IC จะบอกให้ ร้ ูวา่ เบรคเกอร์ ที่ใช้ นนมี
ั ้ ความ
ปลอดภัยมากน้ อยเพียงใด การเลือกค่ากระแส IC จะต้ องรู้คา่ กระแส
้ เสียก่อน ตามมาตรฐาน IEC947-2 แล้ ว
ลัดวงจร ณ. จุดนันๆ
สามารถแบ่งเป็ น 4 ประเภทคือ In Iu Icu. Ics.
กระแสใช้งาน หรื อ กระแสพิกดั (In or Iu)
1.1 Amp Trip (AT) เบรกเกอร์จะเริ่ มทริ ปเมื่อไร
1.2 Amp Frame (AF) Size เบรกเกอร์สูงสุ ดกี่แอมป์
ข้อแนะนาในการเลือกใช้เบรคเกอร์

1. ตรวจเช็คข้ อมูลที่สําคัญก่อนการเลือก อาทิ


• มาตรฐานอ้ างอิงอะไร IEC , UL , …
• In = กระแสใช้ งาน, Amp trip
• Iu = กระแสพิกดั , Amp Frame (A)
• Icu = กระแสช็อตเซอร์ กิตสูงสุด (kA)
• Ue = แรงดันใช้ งาน AC/DC
• Poles = จํานวนโพลของเบรกเกอร์
ข้อแนะนาในการเลือกใช้เบรคเกอร์
• ความทนกระแส Short circuit (Icu , Ics)

• 1.3 Icu (kA)


• 1.4 Ics (kA) = %Icu
พิกดั เบรคเกอร์
เขตการไฟฟ้ านครหลวงที่ตอ้ งSet ค่า IC 50KA
• เขตพระนคร
• เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย
• เขตสัมพันธวงศ์
แรงดันช่วงก้าว Step Voltage
• ลักษณะการเกิด จะเกิดในระดับแรงดันไฟฟ้า สูงกว่า 1000 โวลท์
• การเกิดฟ้าผ่า
ที่มาของข้อมูล
• การบรรยายของ อ.ธีรเทพ พราหมณ์มณี
• ผศ.ศักรินทร์ โสนันทะ
ไฟฟ้ ามองไม่เห็นตายแล้วกลับมาบอกไม่ได้
จบการบรรยาย

ขอบคุณครับ

You might also like