You are on page 1of 56

Direct Current Circuits

วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
Direct Current Circuits
วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
What do you see ?

3
Outline
• แรงเคลื่อนไฟฟ้า ความต้านทานภายใน
• การวัดความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน

• การคํานวณความต้านทานสมมูลที่ต่อแบบอนุกรม แบบขนาน และแบบผสม

• การวิเคราะห์วงจรโดยใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์
• วงจรบริดจ์
• วงจร RC
• วงจร RL

4
จุดประสงค์การเรียนรู้ หลังจากเรียนบทเรียนนี้จบแล้ว นักศึกษาควรที่จะ...
1) อธิบายความหมายของแรงเคลื่อนไฟฟ้า และความต้านทานภายในได้
2) คํานวณแรงเคลื่อนไฟฟ้า และความต้านทานภายในได้
3) อธิบายวิธีการวัดความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า และความต้านทานได้

แรงเคลื่อนไฟฟ้า ความต้านทานภายใน
และการวัดปริมาณทางไฟฟ้า

5
แรงเคลื่อนไฟฟ้า (Electromotive force: EMF)
• แรงเคลื่อนไฟฟ้า (electromotive force, emf) คือ งานที่
แบตเตอรี่ (แหล่งกําเนิดพลังงานไฟฟ้า) ให้ต่อประจุไฟฟ้า 1 คู
ลอมบ์ที่เคลื่อนที่ผ่าน
emf ใช้สัญลักษณ์ ℰ มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)

6
ตัวอย่างของอุปกรณ์ที่ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้า
• อุปกรณ์ที่ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะรวมถึงเซลล์ไฟฟ้า
เคมี, อุปกรณ์เทอร์โมอิเล็กตริก, เซลล์แสงอาทิตย์,
โฟโตไดโอด, เครื่องกําเนิดไฟฟ้า, หม้อแปลง, และ
แม้แต่เครื่องกําเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์

• ในธรรมชาติ แรงเคลื่อนไฟฟ้าถูกสร้างขึ้นเมื่อใดก็
ตามที่ความผันผวนของสนามแม่เหล็กจะเกิดขึ้นผ่าน
พื้นผิว การเคลื่อนที่ของสนามแม่เหล็กโลกใน
ระหว่างพายุแม่เหล็กทําให้เกิดกระแสในระบบกริด
ไฟฟ้าเมื่อเส้นสนามแม่เหล็กเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ และ
ตัดผ่านตัวนํา

7
ความต้านทานภายใน
• ในการเปลี่ยนพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้าใน
แบตเตอรี่เพื่อนําไปใช้ จะมีการเสียพลังงานบางส่วน
เรามองการเสียพลังงานแบบนี้ว่าแบตเตอรี่มีความ
ต้านทานภายใน (internal resistance) ใช้
สัญลักษณ์ ! มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω)

8
ความต่างศักย์ของแบตเตอรี่
• รูปแสดงการใช้มิเตอร์วัดความต่างศักย์ของถ่านไฟฉายก้อนหนึ่ง โดยมี
กระแสไฟฟ้า และไม่มีกระแสไฟฟ้า
วัดความต่างศักย์ระหว่างขัวถ่2 านไฟฉายโดย วัดความต่างศักย์ระหว่างขัวถ่
2 านไฟฉายโดยต่อ
ไม่ได้ ตอ่ อุปกรณ์ไฟฟ้า จึงไม่มีกระแสไฟฟ้า อุปกรณ์ทีEมีความต้ านทาน 4 Ω เกิดกระแสไฟฟ้า

9
ความต่างศักย์ของแบตเตอรี่
• ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับแบตเตอรี่ได้แก่ emf ℰ
และความต้านทานภายใน !
เมื่อต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีความต้านทาน $ จะ
ดึงกระแสไฟฟ้า ! ออกจากแบตเตอรี่
• ระหว่างขั้วของแบตเตอรี่จะมีความต่างศักย์
% = ℰ − )!

สังเกตว่าความต่างศักย์ % = ℰ เมื่อ ) = 0 (เอา $ ออกไป)

มิเตอร์ อา่ นค่าได้ มิเตอร์ อา่ นค่าได้


" = ℰ " = ℰ − &' (" < ℰ)
10
วงจรอย่างง่าย: ความต่างศักย์ และกระแสไฟฟ้า
• วงจรอย่างง่ายประกอบด้วยแบตเตอรี่ (emf ℰ,
ความต้านทานภายใน !) ต่อกับอุปกรณ์ไฟฟ้า 1
ชิ้นที่มีความต้านทาน $
• ระหว่างขั้วแบตเตอรี่มีความต่างศักย์ % = ℰ − )!
ความต่างศักย์ % เดียวกันต่อกับอุปกรณ์ไฟฟ้า
ดังนั้นจากกฎของโอห์ม % = )$
• ดังนั้นเราสามารถหากระแสไฟฟ้า ) ได้จาก
)$ = ℰ − )!

)($ + !) = ℰ


)=
$+!
11
ศักย์ไฟฟ้าภายในวงจรอย่างง่าย

12
ตัวอย่าง: กระแสไฟฟ้าในวงจร
& จากรูป จงคํานวนหากระแสไฟฟ้าในวงจร


จาก ) =
$+!
12
=
4+2
= 2A

13
ตัวอย่าง: ความต้านทานภายใน
& รูปแสดงการวัดความต่างศักย์ของถ่านไฟฉาย แบบไม่ต่อกับอุปกรณ์
ไฟฟ้า และต่อกับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีความต้านทาน 4 Ω จงคํานวณหา a)
กระแสไฟฟ้า และ b) ความต้านทานภายในของถ่านไฟฉาย

14
$ = 4.0 Ω

% = ℰ − )! % = ℰ − )!
1.595 = ℰ 1.493 = ℰ − )!

a) ในรูปทางขวามีกระแสไฟฟ้า ใช้กฏของโอห์มเพื่อหากระแสไฟฟ้าได้ดังนี้
% 1.493
) = = = 0.37 A
$ 4.0

b) จาก 1.493 = ℰ − )!
1.493 = 1.595 − 0.37!
0.37! = 0.102
! = 0.28 Ω
15
Example

16
ตัวต้านทาน
• อุปกรณ์ไฟฟ้ามีความต้านทาน ในการศึกษาวงจรไฟฟ้า เราจะแทนอุปกรณ์
เหล่านี้ด้วยตัวต้านทาน (resistor) ที่มีค่าความต้านทานระบุไว้

ตัวต้ านทาน
มีความต้ านทานตามแถบสี

สัญลักษณ์ในวงจร
18
มัลติมิเตอร์
• มัลติมิเตอร์ (multimeter) เป็นอุปกรณ์ที่มีฟังก์ชัน
วัดกระแสไฟฟ้า (เป็นแอมมิเตอร์)
วัดความต่างศักย์ (เป็นโวลต์มิเตอร์)
วัดความต้านทาน (เป็นโอห์มมิเตอร์)

19
แอมมิเตอร์
• แอมมิเตอร์ (ammeter) เป็นอุปกรณ์วัดกระแสไฟฟ้า ต้องต่อ
แอมมิเตอร์ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวเครื่อง (ต่อแทรกเข้าไปในวงจร ณ
จุดที่เราต้องการวัดกระแสไฟฟ้า (ต่ออนุกรมกับวงจร))

20
โวลต์มิเตอร์
• โวลต์มิเตอร์ (voltmeter) เป็นอุปกรณ์วัดความต่างศักย์ ต้องต่อโวลต์
มิเตอร์ “คร่อม” อุปกรณ์ที่เราต้องการวัดความต่างศักย์ (ต่อขนานกับ
อุปกรณ์ที่จะวัดความต่างศักย์)

Lamp

Voltmeter
21
จุดประสงค์การเรียนรู้ หลังจากเรียนบทเรียนนี้จบแล้ว นักศึกษาควรที่จะ...
1) คํานวณความต้านทานสมมูล (equivalent resistance) ของตัวต้านทานที่ต่อ
กันแบบอนุกรม แบบขนาน และแบบผสมได้

การคํานวณความต้านทานสมมูล

22
การต่อตัวต้านทาน

23
การต่อตัวต้านทาน: แบบอนุกรม (series)
• ต่อความต่างศักย์ % ให้กับตัวต้านทาน $!
และ $" ซึ่งต่อกันแบบอนุกรม (series)

• ในวงจรมีกระแสไฟฟ้า ) ผ่านทั้ง $! และ $"

• ความต่างศักย์รวม % จะถูกแบ่ง

% = %! + %"
)$รวม = )$! + )$"

$รวม = $! + $"

24
การต่อตัวต้านทาน: แบบขนาน (parallel)
• ต่อความต่างศักย์ % ให้กับตัวต้านทาน $! และ $" ซึ่ง
ต่อกันแบบขนาน (parallel)

• ในวงจรมีความต่างศักย์ % คร่อมทั้ง $! และ $"

• กระแสไฟฟ้ารวมม ) จะถูกแบ่ง
) = )! + )"
% % %
= +
$รวม $! $"

1 1 1
= +
$รวม $! $"
25
เปรียบเทียบการต่อตัวต้านทาน (และตัวเก็บประจุ) ทั้งสองแบบ

26
การต่อตัวต้านทาน: เปรียบเทียบอนุกรมและขนาน
อนุกรม ขนาน

27
ตัวอย่าง: การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
& จากรูป จงคํานวณหา a) ความต้านทานรวมของวงจร และ b) ความต่างศักย์ระหว่างจด A และ B

a) ความต้านทานรวม $รวม = $! + $" + $# + $$


= 10 + 20 + 30 + 40
= 100 Ω
% 10
b) กระแสไฟฟ้าในวงจร ) =
$รวม
=
100
= 0.1 A

ความต่างศักย์ %%& = )$# = 0.1 30 = 3.0 V


28
ตัวอย่าง: การต่อตัวต้านทานแบบผสม
& จากรูป จงคํานวณหาค่าที่แอมมิเตอร์ทั้ง 3 อ่านได้

29
Example

31
Multiloop Circuits

34
จุดประสงค์การเรียนรู้ หลังจากเรียนบทเรียนนี้จบแล้ว นักศึกษาควรที่จะ...
1) อธิบายกฎของเคอร์ชอฟฟ์เพื่อใช้ในการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าได้
2) ประยุกต์กฎของเคอร์ชอฟฟ์ในการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าได้

การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าโดยใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์

35
กฎของเคอร์ชอฟฟ์
• กฎของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchhoff’s laws)
ข้อที่ 1 กล่าวว่า “ผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าจุด ๆ หนึ่งในวงจรจะต้องเท่ากับผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลออก
จากจุดนั้น”

:! + :" = :# + :$ (กฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า)

ข้อที่ 2 กล่าวว่า “ผลรวมของความต่างศักย์คร่อมอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในลูป มีค่าเท่ากับศูนย์”

∑% = 0 (กฎอนุรักษ์พลังงาน)
ℰ! + %! − ℰ" + %" = 0

ℰ! − )$! − ℰ" − )$" = 0

36
วงจร 1 loop
& พิจารณาวงจรไฟฟ้าในรูป จงคํานวณหากระแสไฟฟ้าในวงจร

37
วงจร 1 loop
& พิจารณาวงจรไฟฟ้าในรูป จงคํานวณหากระแสไฟฟ้าในวงจร

จากกฎของเคอร์ชอฟฟ์ (ข้อ 2)
∑ℰ = ∑%
ℰ! − ℰ" = ∑)$
16.0 − 8.0 = ) 1.6 + ) 5.0 + ) 1.4 + )(9.0)
8.0 = )(17.0)
8.0
) =
17.0
= 0.47 A

38
Example

39
Example

41
วงจรบริดจ์ (bridge circuit)
• วงจรบริดจ์ (bridge circuit) ประกอบด้วยตัว
ต้านทาน 4 ตัว และมีโวลต์มิเตอร์ (หรือ
แอมมิเตอร์) เป็น “สะพาน” ตามที่แสดงในรูป
• มิเตอร์อ่านค่าเป็นศูนย์ เมื่อศักย์ไฟฟ้าที่ขาทั้งสอง
ข้างมีค่าเท่ากัน
เราเรียกสภาวะนี้ว่า “วงจรบริดจ์สมดุล”
ปรับ R จนกระทังE
)บน $! = )ล่าง $#
วงจรสมดุล
)บน $" = )ล่าง $$

$! $#
=
$" $$

43
วงจร RC
• วงจร RC ประกอบด้วย
แหล่งกําเนิดไฟฟ้า ℰ โวลต์
ตัวต้านทาน $ โอห์ม
ตัวเก็บประจุ < ฟารัด

• เมื่อสับสวิตช์ไปที่จุด a ประจุไฟฟ้าและพลังงานจะถ่ายเทจากแหล่งกําเนิดไฟฟ้า
ไปสะสมในตัวเก็บประจุไฟฟ้า และพลังงานบางส่วนเสียไปในตัวต้านทานในรูป
ความร้อน เป็นวงจรการชาร์จประจุไฟฟ้า (charging circuit)
• จากนั้น เมื่อสับสวิตช์ไปที่จุด b พลังงานและประจุไฟฟ้าที่เคยสะสมในตัวเก็บ
ประจุ จะคายออกให้กับตัวต้านทาน เป็นวงจรการคายประจุไฟฟ้า (discharging
circuit)
44
วงจร RC: การชาร์จประจุไฟฟ้า
• เมื่อสับสวิตช์ไปที่จุด a จะเป็นการชาร์จ
ประจุไฟฟ้า
จากกฎของเคอร์ชอฟฟ์
( )
?> 1
=ℰ = =% A = −A ?@
' > − ℰ< ' $<
>
ℰ = )$ +
< ( 1
ln > − ℰ< B = − @
?> > ' $<
ℰ = $+
?@ <
> − ℰ< 1
?> ln = − @
ℰ< = $< + > −ℰ< $<
?@
?> > !
*+, )
−$< = > − ℰ< − +1 = E
?@ ℰ<
?> ?@
=
> − ℰ< −$<
45
วงจร RC: การชาร์จประจุไฟฟ้า
• จัดรูปสมการให้ได้ประจุไฟฟ้า
!
*+, )
> = ℰ< 1 − E

• ประจุไฟฟ้าเพิ่มขึ้นตามเวลา จนกระทั่งประจุไฟฟ้ามีค่าสูงสุด
>- = ℰ<
"
!#$ %
• นิยาม time constant + = ℰ, 1 − .

F = $< (หน่วยวินาที)

ที่เวลา @ = F ประจุไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นเป็น > = ℰ< 1 − E *! ≈ 0.63ℰ<

หรือ > ≈ 0.63>- (63% ของประจุไฟฟ้าสูงสุด)

46
วงจร RC: การคายประจุไฟฟ้า

• สมมติให้เริ่มต้นตัวเก็บประจุไฟฟ้ามีประจุ
ไฟฟ้า >- เมื่อสับสวิตช์ไปที่จุด b จะเกิดการ
คายประจุไฟฟ้า
จากกฎของเคอร์ชอฟฟ์
( )
=H = =% ?> 1
A = −A ?@
> (! > ' $<
0 = )$ +
< ( 1
?> > ln > B = − @
0 = $+ (! $<
?@ <
?> > > 1
$ = − ln = − @
?@ < >- $<
?> ?@ > !
*+, )
= − = E
> $< >.
47
วงจร RC: การคายประจุไฟฟ้า
• จัดรูปสมการให้ได้ประจุไฟฟ้า
!
*+, )
> = >- E

• ประจุไฟฟ้าลดลงตามเวลา โดยมีค่าประจุ
ไฟฟ้าเริ่มต้น > = >-
• นิยาม time constant += +& .
"
!#$ %

F = $< (หน่วยวินาที)

ที่เวลา @ = F ประจุไฟฟ้าลดลงเป็น > = >- E *! ≈ 0.37>-


(37% ของประจุไฟฟ้าเริ่มต้น)
48
วงจร RC: สรุปการชาร์จและคายประจุไฟฟ้า

+& = ℰ,

"
!#$ %
+ = +& .

"
!#$ %
+ = ℰ, 1 − .

การชาร์ จประจุ การคายประจุ การทดลองสาธิตการคาบประจุของตัวเก็บประจุ


49
วงจร RL
• พิจารณาวงจรไฟฟ้าที่ในรูปที่ประกอบด้วย
แหล่งกําเนิดไฟฟ้า ℰ โวลต์
ตัวต้านทาน $ โอห์ม
ตัวเหนี่ยวนํา I เฮนรี
• เมื่อปิดสวิตช์ J! พลังงานจากแหล่งกําเนิดไฟฟ้า
ถ่ายเทให้กับตัวต้านทาน (เสียไปในรูปความร้อน)
และตัวเหนี่ยวนํา (สะสมในสนามแม่เหล็ก)
• จากนั้นเปิด J! และปิด J" พลังงานที่เคยสะสมในตัว
เหนี่ยวนํา จะถ่ายเทให้กับตัวต้านทานและเสียไปใน
รูปความร้อน

50
วงจร RL: เก็บพลังงาน

• เริ่มต้น ปิดสวิตช์ J! เราสามารถเขียนกฎ


ของเคอร์ชอฟฟ์
0 )
?) $
∑ℰ = ∑% A = −A ?@
ℰ I
' )− '
ℰ + ℰ/ = %+ $
?) 0
ℰ $
ℰ−I = )$ ln ) − K = − @
?@ $ ' I
?)
−I = )$ − ℰ
?@ ℰ
)−
I ?) ℰ ln $ = −$@
− = )− ℰ I
$ ?@ $ −
$
?) $ )$ +
= − ?@ − +1 = E /* )
ℰ I ℰ
)−
$
51
วงจร RL: เก็บพลังงาน
• จัดรูปเพื่อหากระแสไฟฟ้าได้
ℰ +
*/ )
) = 1−E
$

• กระแสไฟฟ้าในวงจรเพิHมขึ Bนตามเวลา จนไป


ถึงค่ากระแสไฟฟ้าสูงสุด 1 ' 1 1ℰ '
/& = 1&& =
ℰ 2 2 2'
)- =
$
• นิยาม time constant
I
F =
$
(หน่วยวินาที)
ทีHเวลา @ = F กระแสไฟฟ้าจะเพิHมขึ Bนเป็ น ) = +ℰ 1 − E *! ≈ 0.63

+
หรือ ) ≈ 0.63)- (63% ของกระแสไฟฟ้าสูงสุด)

52
วงจร RL: คายพลังงาน
• เริ่มต้น วงจรมีกระแสไฟฟ้า )- และตัว
เหนี่ยวนํามีพลังงานสะสม
1 "
L- = I)-
2

• จากนันเปิ
B ด J! และปิ ด J" เพืHอให้ ตวั เหนีHยวนําคาย
พลังงานในกับตัวต้ านทาน
เราสามารถเขียนกฎของเคอร์ ชอฟฟ์
0 )
?) $
∑ℰ = ∑% A = − A ?@
0! ) ' I
ℰ/ = %+ 0 $
?) ln ) B = − @
−I = )$ 0! I
?@
) $
?) $ ln = − @
= − ?@ )- I
) I
53
วงจร RL: คายพลังงาน
• จัดรูปสมการเพื่อหากระแสไฟฟ้าได้
+
* )
) = )- E /

• กระแสไฟฟ้าลดลงตามเวลา โดยมีค่า
กระแสไฟฟ้าเริ่มต้น ) = )-
• นิยาม time constant พลังงานเริE มต้ น /& =
" '
1&
' &

I
F =
$
(หน่วยวินาที)
ทีHเวลา @ = F กระแสไฟฟ้าจะลดลงเป็ น
) = )- E *! ≈ 0.37)-

(37% ของกระแสไฟฟ้าเริ่มต้น)

54
วงจร LC
• พิจารณาวงจรไฟฟ้าที่ในรูปที่ประกอบด้วย
ตัวเก็บประจุ < ฟารัด <
ตัวเหนี่ยวนํา I เฮนรี I

• สมมติให้เริ่มต้นมีประจุไฟฟ้า M' ในตัวเก็บประจุ


ดังนั้นเริ่มต้นตัวเก็บประจุสะสมพลังงาน L2 = M'"⁄2<
• เมื่อปิดสวิตช์ ประจุไฟฟ้าและพลังงานจะถูกคายให้กับ
ตัวเหนี่ยวนํา
ตัวเหนี่ยวนําเก็บพลังงานไว้ และจากนั้นคาย
พลังงานกลับให้ตัวเก็บประจุ
• พลังงานจะถูกถ่ายเทกลับไปกลับมาระหว่างอุปกรณ์
ทั้งสอง (เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการ
เคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก)

55
วงจร LC: ประจุไฟฟ้า )

• สมมติให้เริ่มต้นมีประจุไฟฟ้า !" ในตัวเก็บ M


%, = ?)
ประจุ เมื่อปิดสวิตช์เกิดการถ่ายเทประจุ < ℰ/ = −I
ทําให้วงจรมีกระแสไฟฟ้า " ?@
เราสามารถเขียนกฎของเคอร์ชอฟฟ์

∑ℰ = ∑% เทียบกับสมการการเคลือH นทีHแบบซิมเปิ ลฮาร์ มอนิก


ℰ/ = %, ?" M
"
= −O" M, M 0 = M'
?) M ?@
−I =
?@ <
จะได้ ประจุไฟฟ้า M @ = M' cos O@
?" M M
−I =
?@ " < 1
และความถีHเชิงมุม O =
?" M 1 I<
= − M
?@ " I<

56
วงจร LC: ประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า
3 • ประจุไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงเป็นคาบ
1
3( M @ = M' cos O@ , O =
I<
4 • แอมพลิจดู เท่ากับ M' ซึงH เท่ากับประจุ
25 1,
−3( ไฟฟ้าเริH มต้ น
2U
คาบ T = O = 2U I<
&
• กระแสไฟฟ้า
?M
&( ) @ =
?@
4 ?
= M cos O@
25 1, ?@ '
−&(
= −M' O sin O@

&(= 3(6

= −)' sin O@

57
วงจร LC: พลังงาน
)(@) = −M' O sin O@
• พลังงานในวงจร LC จะถ่ายเทกลับไปกลับมาระหว่าง
ในตัวเก็บประจุ (ในสนาม E) และในตัวเหนี่ยวนํา (ใน
สนาม B)
M" M'" cos " O@
M @ = M' cos O@ L, = =
2< 2<
I) " IM'" O" sin" O@
L/ = =
2 2
1
IM'" sin" O@
= I<
2
M'" sin" O@
=
2<
M'"
• สังเกตว่า L, + L/ = 2< (พลังงานเริEมต้ น ซึงE คงทีE)

58
วงจร RLC
• พิจารณาวงจรไฟฟ้าที่ในรูปที่ประกอบด้วย
ตัวเก็บประจุ < ฟารัด
ตัวเหนี่ยวนํา I เฮนรี
ตัวต้านทาน $ โอห์ม
• สมมติให้เริ่มต้นมีประจุไฟฟ้า M' ในตัวเก็บประจุ ดังนั้น
เริ่มต้นตัวเก็บประจุสะสมพลังงาน L2 = M'"⁄2<
• ประจุไฟฟ้าและพลังงานจะถูกคายให้กับตัวเหนี่ยวนํา
ตัวเหนี่ยวนําเก็บพลังงานไว้ และจากนั้นคายพลังงาน
กลับให้ตัวเก็บประจุ กลับไปกลับมา
• ระหว่างนั้น มีการสูญเสียพลังงานในรูปความร้อนในตัว
ต้านทาน $

60
วงจร RLC
• สมมติให้เริ่มต้นมีประจุไฟฟ้า M' ในตัวเก็บประจุ
เมื่อมีการถ่ายเทประจุไฟฟ้าทําให้วงจรมี
กระแสไฟฟ้า )
เราสามารถเขียนกฎของเคอร์ชอฟฟ์
∑ℰ = ∑%
ℰ/ = %+ + %,
?) M
−I = )$ +
?@ <
?" M ?M M
−I " = $+
?@ ?@ <
?" M $ ?M 1
− " = + M
?@ I ?@ I<
?" M $ ?M
+ +
1
M = 0
ถ้า $ น้อย Þ underdamping
?@ " I ?@ I<
61
วงจร RLC: เปรียบเทียบกับวงจร LC

7'3 1 7 '3 2 73 1
+ 3 = 0 + + 3 = 0
74 ' 1, 74 ' 1 74 1,
ประจุไฟฟ้าเปลียE นแปลงแบบเป็ นคาบ ประจุไฟฟ้าเปลียE นแปลงแบบเป็ นคาบ
มีแอมพลิจดู คงทีE มีแอมพลิจดู ลดลง
มีพลังงานรวมคงทีE มีพลังงานรวมลดลง (พลังงานเสียไปในตัว R)

62
63

You might also like