You are on page 1of 27

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม

เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 1

ไฟฟ้ากระแสสลับ

ไฟฟ้ากระแสสลับ คือ เหตุการณ์ที่หล่งกาเนิดไฟฟ้า ให้ค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้า (e) ไม่คงที่ มีค่าแปรผัน


ตามเวลาแบบฟังก์ชัน sine คือ

e = Em sin t
ให้ e คือ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เวลา t ใดๆ หน่วย โวลต์ (V)
Em คือ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาสูงสุด หน่วย โวลต์ (V)
 คือ ความถี่เชิงมุม หน่วย เรเดียนต่อวินาที (rad/s)
1. ความต่างศักย์และกระแสของวงจรกระแสสลับ
1.1 ความต่างศักย์ของวงจรกระแสสลับ
เมื่อขดลวดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับหมุนตัดผ่านสนามแม่เหล็กด้วยความเร็ว
เชิงมุมคงตัว ความต่างศักย์ที่ปลายทั้งสองของขดลวดจะมีการสลับขั้วบวกและขั้วลบเป็นจังหวะสม่าเสมอ และ
ความต่างศักย์จะเปลี่ยนค่าตามเวลาการหมุนของขดลวด เขียนเป็นกราฟได้ดังรูป

ความต่างศักย์ไฟฟ้าขณะหนึ่ง ณ เวลา t
v = Vm sin t
ให้ v คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เวลา t ใดๆ หน่วย โวลต์ (V)
Vm คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด หน่วย โวลต์ (V)
 คือ ความถี่เชิงมุม หน่วย เรเดียนต่อวินาที (rad/s)

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 2

1.2 กระแสของวงจรกระแสสลับ
กระแสที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับให้ออกมาจะมีการเปลี่ยนแปลงทิศทางตามจัง หวะ
การสลับขั้วบวกและขั้วลบของความต่างศักย์ เรียกว่ากระแสสลับ และกระแสสลับจะเปลี่ยนค่าตามการหมุน
ของขดลวด เขียนเป็นกราฟได้ดังรูป

กระแสไฟฟ้าขณะหนึ่ง ณ เวลา t
i = Im sin t
ให้ i คือ กระแสไฟฟ้าที่เวลา t ใดๆ หน่วย แอมแปร์ (A)
Im คือ กระแสไฟฟ้าสูงสุด หน่วย แอมแปร์ (A)
 คือ ความถี่เชิงมุม หน่วย เรเดียนต่อวินาที (rad/s)

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 3

 ตัวอย่างการคานวณความต่างศักย์และกระแสของวงจรกระแสสลับ

ตัวอย่าง 1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องหนึ่งให้กระแสไฟฟ้าสูง สุด 20 แอมแปร์ มีความต่างศักย์


สูงสุด 300 โวลต์ และความถี่ของกระแสไฟฟ้า 50 เฮิรตซ์ จงหากระแสไฟฟ้า ณ เวลา 1/600
วินาที หลังจากเปิดเครื่อง

ตัวอย่าง 2 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องหนึ่งให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด 300 โวลต์ มีความต่าง


ศักย์สูงสุด 300 โวลต์ และความถี่ของกระแสไฟฟ้า 50 เฮิรตซ์ จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้า ณ
เวลา 1/600 วินาที หลังจากเปิดเครื่อง

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 4

2. ค่ายังผลของความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า
ในวงจรกระแสสลับ ความต่างศักย์และกระแสจะเปลี่ยนค่าตามเวลาการหมุนของขดลวด
ค่ายังผล (Effective Value) เป็นค่าเฉลี่ยของความต่างศักย์ไฟฟ้าและค่าเฉลี่ยของกระแสไฟฟ้า
ซึ่งเป็นค่าที่อ่านได้จากมิเตอร์วัด
2.1 ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า
Im
I rms =
2
ให้ คือ ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า หน่วย แอมแปร์ (A)
I rms
Im คือ กระแสไฟฟ้าสูงสุด หน่วย แอมแปร์ (A)
2.1 ค่ายังผลของความต่างศักย์ไฟฟ้า
Vm
Vrms =
2
ให้ Vrms คือ ค่ายังผลของความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วย โวลต์ (V)
Vm คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด หน่วย โวลต์ (V)

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 5

 ตัวอย่างการคานวณค่ายังผลของความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า

ตัวอย่าง 1 บ้านเรือนทั่วไปใช้ไฟฟ้ากระแสสลับมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ ความต่างศักย์สูงสุดที่ใช้มีค่ากี่


โวลต์

ตัวอย่าง 2 ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่มีกระแสสูงสุด 10 2 แอมแปร์ ค่ายังผลของกระแสมีค่ากี่แอมแปร์

ตัวอย่าง 3 แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับให้กระแส i = 8sin 200t แอมแปร์ ค่ายังผลของกระแสเป็นเท่าใด


ในหน่วยแอมแปร์

ตัวอย่าง 4 แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับให้ความต่างศักย์ v = 14.14sin300t โวลต์ ค่ายังผลของความ


ต่างศักย์เป็นเท่าใด

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 6

3. วงจรตัวต้านทาน

= 2f

3.1 ความต้านทานกับความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับ
ความต้านทาน R มีค่าคงตัว
3.2 กระแสขณะหนึ่งและความต่างศักย์ขณะหนึ่งของตัวต้านทาน
กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานและความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานมีเฟสตรงกัน เขียนกราฟ
ความสัมพันธ์ ณ เวลาขณะหนึ่งได้ดังรูป

ค่ากระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้าขณะหนึ่งหาได้ดังนี้
V = Vm sin t
R

I = Im sin t
R

3.3 แผนภาพเฟเซอร์ของตัวต้านทาน
แผนภาพเฟเซอร์เป็นรูปเวกเตอร์แสดงค่าการวัดและความต่างเฟสระหว่างกระแส I กับ
ความต่างศักย์ V ของตัวต้านทาน R
จากกราฟเราจะได้ค่ากระแสไฟฟ้ าและความต่ างศัก ย์มีเฟสตรงกัน สามารถเขีย นเป็ น
แผนภาพเฟเซอร์ได้ดังรูป

IR VR

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 7

 ตัวอย่างการคานวณวงจรตัวต้านทาน

ตัวอย่าง 1 ตัวต้านทานขนาด 10 โอห์ม ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับความต่างศักย์ 20 โวลต์ จงหา


ค่ายังผลของกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานในหน่วยแอมแปร์

ตัวอย่าง 2 ตัวต้านทาน 10 โอห์ม ต่ออยู่กับแหล่ง จ่ายไฟฟ้ากระแสสลับความต่างศักย์ 20 โวลต์ จงหา


ค่ากระแสสูงสุดที่ไหลผ่านตัวต้านทานในหน่วยแอมแปร์

ตัวอย่าง 3 ตัวต้านทานขนาด 10 โอห์ม ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับที่ให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าขณะหนึ่ง


เป็น v = 20sin100t โวลต์ จงหาค่ายังผลของกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานในหน่วยแอมแปร์

ตัวอย่าง 4 ตัวต้านทานขนาด 10 โอห์ม ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับที่ให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าขณะหนึ่ง


เป็น v = 20sin100t โวลต์ จงหากระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ไหลผ่านตัวต้านทานในหน่วยแอมแปร์

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 8

ตัวอย่าง 5 ตัวต้านทานขนาด 10 โอห์ม ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับที่ให้กระแสไฟฟ้าขณะหนึ่งเป็น


i = 40sin300t แอมแปร์ จงหาความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน ณ เวลา t วินาที

ตัวอย่าง 6 ตัวต้านทานขนาด 10 โอห์ม ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับที่ให้กระแสไฟฟ้าขณะหนึ่งเป็น


i = 40sin300t แอมแปร์ จงหาความต่างศักย์สูงสุดคร่อมตัวต้านทาน

ตัวอย่าง 7 ตัวต้านทานขนาด 10 โอห์ม ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับที่ให้กระแสไฟฟ้าขณะหนึ่งเป็น


i = 40sin300t แอมแปร์ จงหาค่ายังผลของความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 9

4. วงจรตัวเหนี่ยวนา
L

= 2f
4.1 ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนากับความถี่กระแสสลับ
ความต้านทานเชิงเหนี่ยวน าเปลี่ยนค่ า ตามความถี่กระแสสลั บ โดยความต้านทานเชิ ง
เหนี่ยวนาแปนผันตรงกับความถี่กระแสสลับ ดังสมการ
X = L
L

ให้ X คือ ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนา หน่วย โอห์ม (  )


L

 คือ ความถี่เชิงมุม หน่วย เรเดียนต่อวินาที (rad/s)


L คือ ค่าความเหนี่ยวนา หน่วย เฮนรี (H)
4.2 กระแสขณะหนึ่งและความต่างศักย์ขณะหนึ่งของตัวเหนี่ยวนา
กระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนาและความต่างศักย์คร่อมตัวเหนี่ยวนามีเฟสต่างกัน 90 องศา
หรือ  2 เรเดียน โดยความต่างศักย์มีเฟสนาหน้า เขียนกราฟความสัมพันธ์ ณ เวลาขณะหนึ่งได้ดดังรูป

ค่ากระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้าขณะหนึ่งหาได้ดังนี้
 
VL = Vm sin  t + 
 2
IL = Im sin t
3.3 แผนภาพเฟเซอร์ของตัวเหนี่ยวนา
แผนภาพเฟเซอร์เป็นรูปเวกเตอร์แสดงค่าการวัดและความต่างเฟสระหว่างกระแส I กับ
ความต่างศักย์ V ของตัวเหนี่ยวนา L

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 10

จากกราฟเราจะได้ค่าความต่างศักย์ V มีเฟสนาหน้าค่ากระแสไฟฟ้า I อยู่ 90 องศา หรือ


2 เรเดียน ดังรูป

VL

IL

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 11

 ตัวอย่างการคานวณวงจรตัวเหนี่ยวนา

ตัวอย่าง 1 ตัวเหนี่ยวนามีค่าความเหนี่ยวนา 10 เฮนรี ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับที่มีความต่างศักย์


20 โวลต์ และมีความเร็วเชิงมุมการหมุนของขดลวด 5 เรเดียน/วินาที จงหาค่ายังผลของกระแส
ที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนาในหน่วยแอมแปร์

ตัวอย่าง 2 ตัวเหนี่ยวนามีค่าความเหนี่ยวนา 10 เฮนรี ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับที่มีความต่างศักย์


20 โวลต์ และมีความเร็วเชิงมุมการหมุนของขดลวด 5 เรเดียน/วินาที จงหาค่ากระแสสูงสุดที่
ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนาในหน่วยแอมแปร์

ตัวอย่าง 3 ตัวเหนี่ยวนามีค่าความเหนี่ยวนา 10 เฮนรี ต่ออยู่กับแหล่ง จ่ายไฟกระแสสลับให้มีความต่าง


ศักย์ไฟฟ้าเป็น v = 20sin5t โวลต์ จงหาค่ายังผลของกระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนา

ตัวอย่าง 4 ตัวเหนี่ยวนามี ค่าความเหนี่ยวนา 10 เฮนรี ต่ออยู่กับแหล่ง จ่ายไฟกระแสสลับให้มีความต่าง


ศักย์ไฟฟ้าเป็น v = 20sin5t โวลต์ จงหาค่ากระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนา

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 12

ตัวอย่าง 5 ตั ว เหนี่ ย วน ามี ค่ า ความเหนี่ ย วน า 10 เฮนรี ต่ อ อยู่ กั บ แหล่ ง จ่ า ยไฟห้ า กระแสสลั บ ที่ ใ ห้
กระแสไฟฟ้าเป็น i = 20sin5t แอมแปร์ จงหาค่าความต่างศักย์ไ ฟฟ้าคร่อมตัวเหนี่ยวนา ณ
เวลา t วินาที

ตัวอย่าง 6 ตั ว เหนี่ ย วน ามี ค่ า ความเหนี่ ย วน า 10 เฮนรี ต่ อ อยู่ กั บ แหล่ ง จ่ า ยไฟห้ า กระแสสลั บ ที่ ใ ห้
กระแสไฟฟ้าเป็น i = 20sin5t แอมแปร์ จงหาค่าความต่างศักย์สูงสุดคร่อมตัวเหนี่ยวนา

ตัวอย่าง 7 ตั ว เหนี่ ย วน ามี ค่ า ความเหนี่ ย วน า 10 เฮนรี ต่ อ อยู่ กั บ แหล่ ง จ่ า ยไฟห้ ากระแสสลั บ ที่ ใ ห้
กระแสไฟฟ้ าเป็ น i = 20sin5t แอมแปร์ จงหาค่ า ยั ง ผลขจองความต่า งศั ก ย์ ไ ฟฟ้า คร่อมตัว
เหนี่ยวนา

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 13

5. วงจรตัวเก็บประจุ
C

= 2f
4.1 ความต้านทานเชิงความจุกับความถี่กระแสสลับ
ความต้านทานเชิงความจุเปลี่ยนค่าตามความถี่กระแสสลับ โดยความต้านทานเชิงความจุ
แปรผกผันกับความถี่กระแสสลับ ดังสมการ
1
XL =
C
ให้ XC คือ ความต้านทานเชิงความจุ หน่วย โอห์ม (  )
 คือ ความถี่เชิงมุม หน่วย เรเดียนต่อวินาที (rad/s)
C คือ ค่าความจุไฟฟ้า หน่วย ฟารัด (F)
4.2 กระแสขณะหนึ่งและความต่างศักย์ขณะหนึ่งของตัวเก็บประจุ
กระแสที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุและความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุมีเฟสต่างกัน 90 องศา
หรือ 2 เรเดียน โดยกระแสไฟฟ้ามีเฟสนาหน้า เขียนกราฟความสัมพันธ์ ณ เวลาขณะหนึ่งได้ดังรูป

ค่ากระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้าขณะหนึ่งหาได้ดังนี้
 
VL = Vm sin  t − 
 2
=
IL Im sin t
3.3 แผนภาพเฟเซอร์ของตัวเก็บประจุ
แผนภาพเฟเซอร์เป็นรูปเวกเตอร์แสดงค่าการวัดและความต่างเฟสระหว่างกระแส I กับ
ความต่างศักย์ V ของตัวเก็บประจุ C

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 14

จากกราฟเราจะได้ค่าความต่างศักย์ V มีเฟสตามค่ากระแสไฟฟ้า I อยู่ 90 องศา หรือ 2


เรเดียน ดังรูป

IC

VC

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 15

 ตัวอย่างการคานวณวงจรตัวเก็บประจุ

ตัวอย่าง 1 ตัวเก็บประจุมีค่าความจุ 10 ฟารัด ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับที่มีความต่างศักย์ 20


โวลต์ และมีความเร็วเชิงมุมการหมุนของขดลวด 5 เรเดียน/วินาที จงหาค่ายังผลของกระแสที่
ไหลผ่านตัวเก็บประจุ

ตัวอย่าง 2 ตัวเก็บประจุมีค่าความจุ 10 ฟารัด ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับที่มีความต่างศักย์ 20


โวลต์ และมีความเร็วเชิงมุมการหมุนของขดลวด 5 เรเดียน/วินาที จงหาค่ากระแสไฟฟ้าสูง สุดที่
ไหลผ่านตัวเก็บประจุในหน่วยแอมแปร์

ตัวอย่าง 3 ตัวเก็บประจุมีค่าความจุ 10 ฟารัด ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับให้มีความต่างศักย์ไ ฟฟ้า


เป็น v = 20sin5t โวลต์ จงหาค่ายังผลของกระแสที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ

ตัวอย่าง 4 ตัวเก็บประจุมีค่าความจุ 10 ฟารัด ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับให้มีความต่างศักย์ไ ฟฟ้า


เป็น v = 20sin5t โวลต์ จงหาค่ากระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 16

ตัวอย่าง 5 ตัวเก็บประจุมีค่าความจุ 10 ฟารัด ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟห้ากระแสสลับที่ให้กระแสไฟฟ้าเป็น


i = 20sin5t แอมแปร์ จงหาค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าคร่อมตัวเก็บประจุ ณ เวลา t วินาที

ตัวอย่าง 6 ตัวเก็บประจุมีค่าความจุ 10 ฟารัด ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟห้ากระแสสลับที่ให้กระแสไฟฟ้าเป็น


i = 20sin5t แอมแปร์ จงหาค่าความต่างศักย์สูงสุดคร่อมตัวเก็บประจุ

ตัวอย่าง 7 ตัวเก็บประจุมีค่าความจุ 10 ฟารัด ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟห้ากระแสสลับที่ให้กระแสไฟฟ้าเป็น


i = 20sin5t แอมแปร์ จงหาค่ายังผลของความต่างศักย์ไฟฟ้าคร่อมตัวเก็บประจุ

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 17

6. วงจร RLC แบบอนุกรม

R L C

VR VL VC

= 2f

6.1 แผนภาพเฟเซอร์

VL

I VR

VC

6.2 ความต่างศักย์รวมของวงจร
จากแผนภาพเฟเซอร์ ค่าความต่างศักย์สามารถหาได้ดังนี้
V = VR2 + ( VL − VC )
2

ให้ V คือ ความต่างศักย์รวมของวงจร หน่วย โวลต์ (V)


V คือ ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน หน่วย โวลต์ (V)
R

V คือ ความต่างศักย์คร่อมตัวเหนี่ยวนา หน่วย โวลต์ (V)


L

V คือ ความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุ หน่วย โวลต์ (V)


C

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 18

VL - VC
VR

VR
VC - VL
VL > VC VC > VL

6.3 ความต้านทานเชิงซ้อน (ความต้านทานรวม) (Impedance)


จากแผนภาพเฟเซอร์ ค่าความต้านทานเชิงซ้อน สามารถหาได้ดังนี้
Z = R 2 + ( X L − XC )
2

ให้ Z คือ ความต้านทานเชิงซ้อน หน่วย โอห์ม (  )


R คือ ความต้านทานของตัวต้านทาน หน่วย โอห์ม (  )
X คือ ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนา หน่วย โอห์ม (  )
L

X คือ ความต้านทานเชิงความจุ หน่วย โอห์ม (  )


C

XL - XC
R

Z
R
XC - XL
XL > XC XC > XL

6.4 การสั่นพ้องในวงจร RLC แบบอนุกรม


ในวงจรกระแสสลับ RLC แบบอนุกรม ถ้าปรับค่าความถี่ของกระแสสลับจนกระทั่ง ได้ค่ า
ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนาเท่ากับค่าความต้านทานเชิงความจุ ค่าทั้งสองจะไม่มีผลต่อการคานวณในวงจร
กรณีนี้ความต้านทานเชิงซ้อนจะมีค่าต่าสุดโดยขึ้นอยู่กับค่า R เพียงอย่างเดียว ทาให้กระแส
ในวงจรมีค่าสูงสุด เรียกความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับที่ทาให้ค่าความต้านทานเชิง เหนี่ยวนาเท่ากับค่า ความ
ต้านทานเชิงความจุว่า “ความถี่การสั่นพ้องของวงจรไฟฟ้า” หาได้ดังนี้
1
f0 =
2 LC
ให้ f0 คือ ความถี่การสั่นพ้อง หน่วย เฮิรตซ์ (Hz)
L คือ ความเหนี่ยวนา หน่วย เฮนรี (H)
C คือ ความจุไฟฟ้า หน่วย ฟารัด (F)

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 19

 ตัวอย่างการคานวณวงจร RLC แบบอนุกรม

ตัวอย่าง 1 วงจรไฟฟ้ากระสลับแบบอนุกรมมีค่าความต้านทานของตัวต้านทาน 3 โอห์ม ความต้านทานเชิง


ความจุ 1 โอห์ม และความต้านทานเชิงเหนี่ยวนา 2 โอห์ม จงหาความต้านทานเชิงซ้อนของวงจร
นี้

ตัวอย่าง 2 ขดลวดเหนี่ยวนา 0.2 เฮนรี และตัวเก็บประจุ 10 ไมโครฟารัด ต่ออนุกรมกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า


กระแสสลับให้ความต่างศักย์สูงสุด 100 โวลต์ และความถี่เชิงมุมเท่ากับ 1000 เรเดียน/วินาที
จงหาค่ายังผลของกระแส

ตัวอย่าง 3 ขดลวดเหนี่ยวนา 0.03 เฮนรี และตัวต้านทาน 40 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแหล่ง กาเนิ ด ไฟฟ้ า


กระแสสลับ กระแสไฟฟ้าในวงจรเปลี่ยนแปลงตามเวลาดังสมการ i = 5sin1000t แอมแปร์ จง
หาความต่างศักย์สูงสุดของวงจร

ตัวอย่าง 4 ตัวเก็บประจุมีค่าความจุ 10 ฟารัด ต่ออยู่ กับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับให้มีความต่างศักย์ไ ฟฟ้า


เป็น v = 20sin5t โวลต์ จงหาค่ากระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 20

ตัวอย่าง 5 จากวงจรดังรูป จงหาค่าความต้านทานเชิงซ้อนระหว่างปลาย AB


16 
6 
A B
16 

ตัวอย่าง 6 จากรูปถ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร 2 แอมแปร์ จงหาความต่างศักย์คร่อมเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


3  4 

ตัวอย่าง 7 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็น e = 20 2 sin 20t โวลต์ ค่าความต้านทาน 80


โอห์ม ค่าความเหนี่ยวนา 4 เฮนรี ค่าความจุไฟฟ้า 1.25 มิลลิฟารัด จงหาความต้านทานเชิงซ้อน
ของวงจร

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 21

7. วงจร RLC แบบขนาน

IR IL IC
R L C
= 2f

7.1 แผนภาพเฟเซอร์

IC

IR V

IL

7.2 กระแสไฟฟ้ารวมของวงจร
จากแผนภาพเฟเซอร์ ค่ากระแสไฟฟ้าสามารถหาได้ดังนี้
I = I2R + ( IL − IC )
2

ให้ I คือ กระแสไฟฟ้ารวมของวงจร หน่วย แอมแปร์ (A)


I คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน หน่วย แอมแปร์ (A)
R

I คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนา หน่วย แอมแปร์ (A)


L

I คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ หน่วย แอมแปร์ (A)


C

IC - IL
IR

I
IR
IL - IC
IC > IL IL > IC

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 22

7.3 ความต้านทานเชิงซ้อน (ความต้านทานรวม) (Impedance)


จากแผนภาพเฟเซอร์ ค่าความต้านทานเชิงซ้อน สามารถหาได้ดังนี้
2
1  1 1 
2
1
=   + − 
Z  R   XL XC 
ให้ Z คือ ความต้านทานเชิงซ้อน หน่วย โอห์ม (  )
R คือ ความต้านทานของตัวต้านทาน หน่วย โอห์ม (  )
XL คือ ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนา หน่วย โอห์ม (  )
XC คือ ความต้านทานเชิงความจุ หน่วย โอห์ม (  )

1/X C - 1/X L
1/R

Z
1/R
1/X L - 1/X C
1/X C > 1/X L 1/X L > 1/X C

7.4 การสั่นพ้องในวงจร RLC แบบขนาน


ในวงจรกระแสสลับ RLC แบบขนาน ถ้าปรับค่าความถี่ของกระแสสลับจนกระทั่ง ได้ค่า
ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนาเท่ากับค่าความต้านทานเชิงความจุ ค่าทั้งสองจะไม่มีผลต่อการคานวณในวงจร
กรณีนี้ความต้านทานเชิงซ้อนจะมีค่าต่าสุดโดยขึ้นอยู่กับค่า R เพียงอย่างเดียว ทาให้กระแส
ในวงจรมีค่าสูงสุด เรียกความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับที่ทาให้ค่าความต้านทานเชิง เหนี่ยวนาเท่ากับค่า ความ
ต้านทานเชิงความจุว่า “ความถี่การสั่นพ้องของวงจรไฟฟ้า” หาได้โดยใช้สมการเดียวกับกรณีที่ต่อแบบอนุกรม
ดังนี้
1
f0 =
2 LC
ให้ f0 คือ ความถี่การสั่นพ้อง หน่วย เฮิรตซ์ (Hz)
L คือ ความเหนี่ยวนา หน่วย เฮนรี (H)
C คือ ความจุไฟฟ้า หน่วย ฟารัด (F)

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 23

 ตัวอย่างการคานวณวงจร RLC แบบขนาน

ตัวอย่าง 1 วงจรไฟฟ้ากระสลับ RLC แบบขนาน ดังรูป กระแสไฟฟ้ารวมในวงจรมีค่ากี่แอมแปร์


IR = 3 A IL = 2 A IC = 1 A

R L C

ตัวอย่าง 2 วงจรกระแสสลับ RLC แบบขนานดังรูป จงหาความต้านทานเชิงซ้อน


IR = 4 A IL = 5 A IC = 2 A

20 V R L C

ตัวอย่าง 3 จากวงจรกระแสสลับ RLC แบบขนาน ดังรูป จงหาความถี่ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับที่


ทาให้กระแสในวงจรมีค่าต่าที่สุด

R = 30  L = 20 H C = 5 F

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 24

8. กาลังไฟฟ้าและตัวประกอบกาลัง
8.1 กาลังไฟฟ้าของวงจรกระแสสลับ
กาลังไฟฟ้าของวงจรกระแสสลับ หมายถึง กาลัง ไฟฟ้าเฉลี่ยที่ใช้ไปจริง ในอุปกรณ์ไฟฟ้า
ขณะทางาน (เขียนแทนด้วย P)
วงจรกระแสสลับที่มี R, L, C ต่อรวมกันจะมีการสูญ เสียก าลัง ไฟฟ้า บางส่วนในรู ป ของ
กาลังไฟฟ้าต้านกลับของขดลวดเหนี่ยวนา ทาให้กาลังไฟฟ้าชองวงจรกระแสสลับ (กาลัง ไฟฟ้าเฉลี่ยที่ใช้ไปจริง
ในอุปกรณ์ไฟฟ้าขณะทางาน) ไม่เท่ากับกาลังไฟฟ้าปรากฏที่แหล่งจ่ายไฟกระแสสลับส่งหรือจ่ายออกมา
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ RLC ไม่ว่าจะต่อแบบใดก็ตาม กาลังไฟฟ้าของวงจรกระแสสลับจะ
ใช้ที่ตัวต้านทาน R เท่านั้น (ตัวเหนี่ยวนา L และตัวเก็บประจุ C ไม่มีการใช้กาลังไฟฟ้า)
กาลังไฟฟ้าของวงจรกระแสสลับ หาได้หลายวิธี
1) หากาลังไฟฟ้าของวงจรกระแสสลับจากมุมเฟสของความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้า
V

 I

ให้ P คือ กาลังไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ หน่วย วัตต์ (W)


V คือ ค่ายังผลของความต่างศักย์ หน่วย โวลต์ (V)
I คือ ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า หน่วย แอมแปร์ (A)
 คือ คือมุมเฟสของ V และ I
กาลังไฟฟ้าของวงจรกระแสสลับ หาได้ดังนี้
P = VIcos
2) หากาลังไฟฟ้าของวงจรกระแสจากตัวต้านทาน R
ให้ P คือ กาลังไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ หน่วย วัตต์ (W)
V คือ ค่ายังผลของความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน หน่วย โวลต์ (V)
R

IR คือ ค่ายังผลของกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน หน่วย แอมแปร์ (A)


R คือ ความต้านทาน หน่วย โอห์ม (  )
กาลังไฟฟ้าของวงจรกระแสสลับ หาได้ดังนี้
P = I 2R R

VR2
หรือ P =
R

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 25

8.2 ตัวประกอบกาลัง (Power Factor)


ตั ว ประกอบก าลั ง หมายถึ ง ปั จ จั ย ที่ ท าให้ ก าลั ง ไฟฟ้ า ของวงจรกระแสสลั บ มี ก าร
เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลง
วงจรกระแสสลับที่มี R, L, C ต่อรวมกัน ย่อมมีตัวประกอบกาลังเกิดขึ้นเสมอไม่ว่า จะต่อ
แบบใดก็ตาม โดยตัวประกอบกาลังมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1
- ตัวประกอบกาลังมีค่าสูง การส่งกาลังไฟฟ้าของระบบมีค่าสูง
- ตัวประกอบกาลังมีค่าต่า การส่งกาลังไฟฟ้าของระบบมีค่าต่า
ตัวประกอบกาลังของวงจรกระแสสลับ หาได้หลายวิธีดังนี้
1) หาตัวประกอบกาลังจากมุมเฟส
PF = cos
2) หาตัวประกอบกาลังจากกาลังไฟฟ้าที่ใช้จริงกับกาลังไฟฟ้าปรากฏ
P
PF =
VI

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 26

 ตัวอย่างการคานวณตัวประกอบกาลัง

ตัวอย่าง 1 แผนภาพเฟเซอร์ของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับเป็นดังรูป จงหา (1) ความต้านทานเชิงซ้อนชอง


วงจร (2) กาลังไฟฟ้าของวงจร (3) ตัวประกอบกาลัง
V = 40 V

 I = 5 A

ตัวอย่าง 2 วงจรกระแสสลับ RLC แบบอนุกรม ดังรูป กาลังไฟฟ้าและตัวประกอบกาลังของวงจรมีค่าเท่าใด


R = 25  L = 200 m H C = 100 F

220 V , 50 H z

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetism) 27

ตัวอย่าง 3 จากวงจรกระแสสลับ RLC แบบขนาน ดังรูป กาลังไฟฟ้าและตัวประกอบกาลัง ของวงจรมี ค่า


เท่าใด

120 V
60 H z
R = 30  L = 20 H C = 5 F

ตัวอย่าง 4 จากวงจรกระแสสลับ ดังรูป จงหากาลังไฟฟ้ารวมที่ใช้ในวงจร

3  6 

100 V
4  8 

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล

You might also like